ความต้องการใช้
ความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปและก๊าซแอลพีจี มีปริมาณรวมทั้งสิ้น 3,437 ล้านลิตร
เฉลี่ยวันละ 115 ล้านลิตร ลดลงจากเดือนมีนาคมที่ผ่านมา ร้อยละ 4.5 แต่เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกัน
ของปีก่อน ร้อยละ 10.6 โดย ปตท. มีส่วนแบ่งการตลาดเป็นอันดับหนึ่ง (รวมปริมาณการจำหน่ายน้ำมัน
เตาให้กฟผ. 542 ล้านลิตร) รองลงมาได้แก่ เอสโซ่ เชลล์ และ คาลเท็กซ์ ซึ่งมีส่วนแบ่งการตลาด
ร้อยละ 37.2 17.9 16.7 และ 7.2 ตามลำดับ
การจัดหา
การจัดหาผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป และก๊าซแอลพีจี มีปริมาณทั้งสิ้น 3,637 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ
121 ล้านลิตร ลดลงจากเดือนที่ผ่านมา ร้อยละ 7.9 แต่เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันของปีก่อน ร้อยละ
12.8 โดยการจัดหาดังกล่าวได้มาจากการผลิตภายในประเทศ 2,830 ล้านลิตร และจากการนำเข้า
จากต่างประเทศอีก 807 ล้านลิตร ซึ่งแหล่งนำเข้าส่วนใหญ่มาจากสิงคโปร์ร้อยละ 75.2 รองลงมาคือ
จากเกาหลีร้อยละ 18.0 และ อื่น ๆ อีกร้อยละ 6.8
สำหรับน้ำมันดิบนำเข้าจากต่างประเทศมีปริมาณ 2,554 ล้านลิตร (161 ล้านบาเรล)
เฉลี่ยวันละ 85 ล้านลิตร มูลค่า 7,993 ล้านบาท โดยเป็นการนำเข้าจากประเทศแถบตะวันออกกลาง
ร้อยละ 66.1 ตะวันออกไกลร้อยละ 29.9 และอื่น ๆ อีกร้อยละ 3.9
ความต้องการใช้
1.ภายในประเทศความต้องการใช้น้ำมันสำเร็จรูปและก๊าซแอลพีจีของเดือนนี้ มีปริมาณ
รวมทั้งสิ้น 3,437ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ115 ล้านลิตร หรือ 720,648 บาเรลต่อวัน โดยปริมาณความ
ต้องการใช้ก๊าซแอลพีจีได้รวมปริมาณที่ปตท.จำหน่ายให้ บริษัท ปิโตรเคมีแห่งชาติ จำกัด (มหาชน)
หรือ NPC นำไปใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิต จำนวน 14,266 เมตริกตัน
เปรียบเทียบกับปริมาณความต้องการใช้ของเดือนที่ผ่านมาและเดือนเดียวกันของปีก่อน
- ลดลงจากเดือนมีนาคม 2539 ปริมาณ 163 ล้านลิตร คิดเป็นอัตราร้อยละ 4.5 โดย
ผลิตภัณฑ์ที่มีการใช้ลดลง ได้แก่ อากาศยาน 100/130 ดีเซลหมุนช้า น้ำมันเตา ดีเซลหมุนเร็ว น้ำมันก๊าด
เจพี 1 และ เบนซินพิเศษไร้สารตะกั่วชนิดที่ 2 คิดเป็นร้อยละ 46.5 12.9 12.1 4.2 4.0 2.5
และ 1.3 ตามลำดับ
สำหรับผลิตภัณฑ์ที่มีการใช้เพิ่มขึ้นได้แก่ เจพี 1 (AAT) เบนซินพิเศษไร้สารตะกั่วชนิดที่ 1
และ เบนซินธรรมดาไร้สารตะกั่ว คิดเป็นอัตราร้อยละ 70.4 6.3 และ 1.1 ตามลำดับ
- เพิ่มขึ้นจากเดือนเมษายน 2538 ปริมาณ 330 ล้าน คิดเป็นอัตราร้อยละ 10.6 โดย
ผลิตภัณฑ์ที่มีการใช้เพิ่มขึ้น ได้แก่ เจพี 1 (AAT) เบนซินพิเศษไร้สารตะกั่วชนิดที่ 1 ก๊าซแอลพีจี
น้ำมันก๊าด ดีเซลหมุนเร็ว น้ำมันเตา และเจพี 1 คิดเป็นอัตราร้อยละ 443.9 53.4 27.0 13.5 11.5
7.2 และ 1.9 ตามลำดับ
สำหรับผลิตภัณฑ์ที่มีการใช้ลดลง ได้แก่ อากาศยาน 100/130 ดีเซลหมุนช้า และ เบนซินไร้
สารตะกั่ว คิดเป็นอัตราร้อยละ 43.5 18.8 และ 6.3 ตามลำดับ
สำหรับส่วนแบ่งการตลาดของปริมาณการจำหน่ายน้ำมันเชื้อเพลิง จะเห็นได้ว่าปตท.มีส่วนแบ่ง
การตลาดเป็นอันดับหนึ่ง คือร้อยละ 37.2 (รวมปริมาณการจำหน่ายน้ำมันเตาให้ กฟผ. คิดเป็นอัตรา
ร้อยละ 57.3 ของปริมาณการจำหน่ายน้ำมันเตารวมของประเทศ) รองลงมาได้แก่ เอสโซ่ เชลล์ และคาลเท็กซ
ร้อยละ 17.9 16.7 และ 7.2 ตามลำดับ
2.ส่งออกไปต่างประเทศ การส่งออกไปจำหน่ายต่างประเทศ มีปริมาณรวมทั้งสิ้น 122
ล้านลิตร โดยเป็นน้ำมันสำเร็จรูปและก๊าซแอลพีจี 73 ล้านลิตร นอกจากนี้ยังมีการส่งออก คอนเดนเสท
ไอโซมอร์เรต ไลท์แนฟธ่า และ ก๊าซโซลีนธรรมชาติ อีก 49 ล้านลิตร
การจัดหา
ปริมาณการจัดหาผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปได้มาจากการผลิตจากโรงกลั่น และโรงแยกก๊าซฯ ภายใน
ประเทศร้อยละ 77.8 และจากการน้ำเข้าอีกร้อยละ 22.2 โดยแยกรายละเอียด ดังนี้
1. การผลิต
การผลิตภายในประเทศที่มีปริมาณ 2,830 ล้านลิตร (รวมปริมาณ MTBE NGL ฝางเรสิดิว
รีฟอร์เมท และน้ำมันปนเปื้อนที่นำมาผสมจำนวน 55 ล้านลิตร) เฉลี่ยวันละ 94 ล้านลิตร หรือ
593,294 บาเรลต่อวัน เพิ่มขึ้นจากเดือนที่ผ่านมาและเดือนเดียวกันของปีก่อน 121 และ 549 ล้านลิตร
คิดเป็นร้อยละ 4.5 และ 24.1 ตามลำดับ ผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปที่ผลิตได้ในเดือนนี้แยกเป็น
1.1 จากโรงกลั่น ปริมาณ 2,622 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 87 ล้านลิตร หรือ 549,725
บาเรลต่อวันเพิ่มขึ้นจากเดือนที่ผ่านมาและเดือนเดียวกันของปีก่อน 69 ล้านลิตร และ 499 ล้านลิตร คิด
เป็นอัตราร้อยละ 2.7 และ 23.5 ตามลำดับ
1.2 จากโรงแยกก๊าซฯ และบริษัทกรุงเทพซินเธติกส์ จำกัด ปริมาณ 82,633 เมตริกตัน
(153 ล้านลิตร) เฉลี่ยวันละ 2,754 เมตริกตัน (5 ล้านลิตร) เพิ่มขึ้นจากเดือนที่ผ่านมา เพิ่มขึ้นจาก
เดือนที่ผ่านมาและเดือนเดียวกันของปีก่อน 29,759 เมตริกตัน (55 ล้านลิตร) และ 11,494
เมตริกตัน (21 ล้านลิตร) คิดเป็นร้อยละ 56.3 และ 16.2 ตามลำดับ
เปรียบเทียบกับปริมาณการผลิตของเดือนที่ผ่านมาและเดือนเดียวกันของปีก่อน
- เพิ่มขึ้นจากเดือนมีนาคม 2539 ปริมาณ 121 ล้านลิตร คิดเป็นอัตราร้อยละ 4.5 โดย
ผลิตภัณฑ์ที่มีการผลิตเพิ่มขึ้นได้แก่ เจพี 1 (AAT) เบนซินพิเศษไร้สารตะกั่วชนิดที่ 1 ก๊าซแอลพีจี เจพี 1
ดีเซลหมุนเร็ว และ น้ำมันเตา คิดเป็นอัตราร้อยละ 63.5 40.3 19.5 12.5 1.4 และ 0.2 ตาม
ลำดับ
สำหรับผลิตภัณฑ์ที่มัการผลิตลดลงได้แก่ น้ำมันก๊าด เบนซินธรรมดา เบนซินพิเศษไร้สารตะกั่ว
ชนิดที่ 2 ดีเซลหมุนช้า และ เบนซินธรรมดาไร้สารตะกั่ว คิดเป็นอัตราร้อยละ 45.0 28.8 18.6
17.9 และ 3.9 ตามลำดับ
- เพิ่มขึ้นจากเดือนเมษายน 2538 ปริมาณ 549 ล้านลิตร คิดเป็นอัตราร้อยละ 24.1
โดยผลิตภัณฑ์ที่มีการผลิตเพิ่มขึ้นได้แก่เจพี 1 (AAT) เบนซินพิเศษไร้สารตะกั่วชนิดที่ 2 เบนซินธรรมดา
ไร้สารตะกั่ว เบนซินธรราดา เจพี 1 น้ำมันเตา น้ำมันก๊าด ดีเซลหมุนเร็ว และก๊าซแอลพีจี คิดเป็น
อัตราร้อยละ 267.1 77.4 44.6 37.7 36.7 32.0 24.3 14.7 และ 12.5 ตามลำดับ
สำหรับผลิตภัณฑ์ที่มีการผลิตลดลงมีเพียงชนิดเดียวคือ ดีเซลหมุนช้า ในอัตราร้อยละ 7.5
2. การนำเข้า
น้ำมันสำเร็จรูป ก๊าซแอลพีจี และน้ำมันดิบที่นำเข้ามาจากต่างประเทศมีปริมาณรวมทั้งสิ้น
3,361 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 112 ล้านลิตร หรือ 704,689 บาเรลต่อวัน คิดเป็นมูลค่า 11,041
ล้านบาท (ไม่รวมปริมาณนำเข้า MTBE ที่นำเข้ามาจากสิงคโปร์ 22 ล้านลิตร มูลค่า 117 ล้านบาท)
แยกรายละเอียดได้ ดังนี้
2.1 น้ำมันดิบ ปริมาณ 2,554 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 85 ล้านลิตร หรือ 535,425
บาเรลต่อวัน ราคาเฉลี่ย 19.69 เหรียญสหรัฐ/บาเรล คิดเป็นมูลค่าการนำเข้า 7,993 ล้านบาท
เปรียบเทียบกับปริมาณและมูลค่าการนำเข้าของเดือนที่ผ่านมาและเดือนเดียวกันของปีก่อน
- ปริมาณและมูลค่าลดลงจากเดือนที่ผ่านมา ปริมาณ 426 ล้านลิตร มูลค่า 945 ล้านบาท
คิดเป็นอัตราร้อยละ 14.3 และ 10.6 ตามลำดับ โดยราคานำเข้าเฉลี่ยในเดือนสูงกว่าเดือนที่ผ่านมา
0.79 เหรียญสหรัฐ/บาเรล
- ปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันของปีก่อน ปริมาณ 223 ล้านลิตร มูลค่า
1,374 ล้านบาท คิดเป็นอัตราร้อยละ 9.6 และ 20.8 ตามลำดับ โดยราคานำเข้าเฉลี่ยในเดือนสูงกว่า
เดือนเดียวกันของปีก่อน 1.30 เหรียญสหรัฐ/บาเรล
ปริมาณและแหล่งนำเข้าน้ำมันดิบ
แหล่งนำเข้า ปริมาณ/ล้านลิตร ราคาเฉลี่ย (เหรียญสหรัฐ/บาเรล) ร้อยละ
ตะวันออกกลาง 1,689 18.56 66.1
ตะวันออกไกล 765 21.82 30.0
อื่น ๆ 100 22.51 3.9
รวม 2,554 19.69 100.0
2.2 น้ำมันสำเร็จรูปและก๊าซแอลพีจี ปริมาณรวมทั้งสิ้น 807 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 27
ล้านลิตร หรือ 169,263 บาเรลต่อวัน มูลค่า 3,048 ล้านบาท
เปรียบเทียบกับปริมาณและมูลค่าการนำเข้าของเดือนที่ผ่านมาและเดือนเดียวกันของปีก่อน
ปริมาณและมูลค่าลดลงจากเดือนที่ผ่านมา ปริมาณลดลง434 ล้านลิตร มูลค่าลดลง 1,709
ล้านบาท คิดเป็นอัตราร้อยละ 34.9 และ 35.9 ตามลำดับ โดยมีรายละเอียด ดังนี้
เจพี 1 ปริมาณนำเข้าลดลงร้อยละ 83.4 มูลค่านำเข้าลดลงร้อยละ 84.6
เบนซินพิเศษไร้สารตะกั่วชนิดที่ 2 " 78.8 " 76.7
ก๊าซแอลพีจี " 64.1 " 64.3
น้ำมันเตา " 34.7 " 33.3
ดีเซลหมุนเร็ว " 33.6 " 36.0
เบนซินธรรมดาไร้สารตะกั่ว " 21.1 " 22.0
เบนซินพิเศษไร้สารตะกั่วชนิดที่ 1 " 19.9 " 15.5
- ปริมาณและมูลค่าลดลงจากเดือนเดียวกันของปีก่อน ปริมาณลดลง 138 ล้านลิตร มูลค่า
ลดลง 39 ล้านลิตร คิดเป็นอัตราร้อยละ 14.6 และ 1.3 ตามลำดับ โดยมีรายละเอียด ดังนี้
เจพี 1 ปริมาณนำเข้าลดลงร้อยละ 70.5 มูลค่านำเข้าลดลงร้อยละ 63.5
เบนซินธรรมดาไร้สารตะกั่ว " 48.8 " 47.8
ดีเซลหมุนเร็ว " 27.7 " 10.7
ส่วนผลิตภัณฑ์ที่มีการนำเข้าเพิ่มขึ้นมีรายละเอียด ดังนี้
ก๊าซแอลพีจี ปริมาณนำเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 273.8 มูลค่านำเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 146.9
เบนซินพิเศษไร้สารตะกั่วชนิดที่ 1 " 202.8 " 242.6
น้ำมันเตา " 11.9 " 20.3
ปริมาณและแหล่งนำเข้าน้ำมันสำเร็จรูปและก๊าซแอลพีจี
แหล่งนำเข้า ปริมาณ (ล้านลิตร) ร้อยละ
สิงคโปร์ 607 75.2
เกาหลี 145 18.0
อื่น ๆ 55 6.8
รวม 807 100.0
ปริมาณความต้องการใช้และการจัดหาน้ำมันเชื้อเพลิง
มกราคม - เมษายน 2539
1. ความต้องการใช้
ปริมาณรวมทั้งสิ้น 13,642 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 113 ล้านลิตร หรือ 709,155 บาเรล
เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปี 2538 ปริมาณ 1,307 ล้านลิตร หรือร้อยละ 10.6
2. การจัดหา
การจัดหาผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปมีปริมาณรวมทั้งสิ้น 14,442 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 119 ล้าน
ลิตร หรือ 750,716 บาเรล เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปี 2538 ปริมาณ 1,656 ล้านลิตร หรือร้อย
ละ 13.0 โดยแยกได้ ดังนี้
2.1 การผลิตภายในประเทศ
ได้จากโรงกลั่นและโรงแยกก๊าซฯ 10,642 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 88 ล้านลิตร หรือ
553,195 บาเรล เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปี 2538 ปริมาณ 1,415 ล้านลิตร หรือ 15.3
2.2 การนำเข้าจากต่างประเทศ
ปริมาณ 3,800 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 31 ล้านลิตร หรือ 197,521 บาเรล เพิ่มขึ้นจากช่วง
เดียวกันของปี 2538 ปริมาณ 241 ล้านลิตร หรือร้อยละ 6.8
สำหรับน้ำมันดิบมีปริมาณการนำเข้ารวมทั้งสิ้น 10,425 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 86 ล้านลิตร
หรือ 541,904 บาเรล มูลค่าการนำเข้า 31,897 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปี 2538
ปริมาณ 1,809 ล้านลิตร หรือร้อยละ 21.0 โดยนำเข้ามาจากตะวันออกกลางร้อยละ 63.6 ตะวันออก
ไกลร้อยละ 32.9 และอื่น ๆ อีกร้อยละ 3.5
--กองน้ำมันเชื้อเพลิง กรมทะเบียนการค้า--
ความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปและก๊าซแอลพีจี มีปริมาณรวมทั้งสิ้น 3,437 ล้านลิตร
เฉลี่ยวันละ 115 ล้านลิตร ลดลงจากเดือนมีนาคมที่ผ่านมา ร้อยละ 4.5 แต่เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกัน
ของปีก่อน ร้อยละ 10.6 โดย ปตท. มีส่วนแบ่งการตลาดเป็นอันดับหนึ่ง (รวมปริมาณการจำหน่ายน้ำมัน
เตาให้กฟผ. 542 ล้านลิตร) รองลงมาได้แก่ เอสโซ่ เชลล์ และ คาลเท็กซ์ ซึ่งมีส่วนแบ่งการตลาด
ร้อยละ 37.2 17.9 16.7 และ 7.2 ตามลำดับ
การจัดหา
การจัดหาผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป และก๊าซแอลพีจี มีปริมาณทั้งสิ้น 3,637 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ
121 ล้านลิตร ลดลงจากเดือนที่ผ่านมา ร้อยละ 7.9 แต่เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันของปีก่อน ร้อยละ
12.8 โดยการจัดหาดังกล่าวได้มาจากการผลิตภายในประเทศ 2,830 ล้านลิตร และจากการนำเข้า
จากต่างประเทศอีก 807 ล้านลิตร ซึ่งแหล่งนำเข้าส่วนใหญ่มาจากสิงคโปร์ร้อยละ 75.2 รองลงมาคือ
จากเกาหลีร้อยละ 18.0 และ อื่น ๆ อีกร้อยละ 6.8
สำหรับน้ำมันดิบนำเข้าจากต่างประเทศมีปริมาณ 2,554 ล้านลิตร (161 ล้านบาเรล)
เฉลี่ยวันละ 85 ล้านลิตร มูลค่า 7,993 ล้านบาท โดยเป็นการนำเข้าจากประเทศแถบตะวันออกกลาง
ร้อยละ 66.1 ตะวันออกไกลร้อยละ 29.9 และอื่น ๆ อีกร้อยละ 3.9
ความต้องการใช้
1.ภายในประเทศความต้องการใช้น้ำมันสำเร็จรูปและก๊าซแอลพีจีของเดือนนี้ มีปริมาณ
รวมทั้งสิ้น 3,437ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ115 ล้านลิตร หรือ 720,648 บาเรลต่อวัน โดยปริมาณความ
ต้องการใช้ก๊าซแอลพีจีได้รวมปริมาณที่ปตท.จำหน่ายให้ บริษัท ปิโตรเคมีแห่งชาติ จำกัด (มหาชน)
หรือ NPC นำไปใช้เป็นวัตถุดิบในการผลิต จำนวน 14,266 เมตริกตัน
เปรียบเทียบกับปริมาณความต้องการใช้ของเดือนที่ผ่านมาและเดือนเดียวกันของปีก่อน
- ลดลงจากเดือนมีนาคม 2539 ปริมาณ 163 ล้านลิตร คิดเป็นอัตราร้อยละ 4.5 โดย
ผลิตภัณฑ์ที่มีการใช้ลดลง ได้แก่ อากาศยาน 100/130 ดีเซลหมุนช้า น้ำมันเตา ดีเซลหมุนเร็ว น้ำมันก๊าด
เจพี 1 และ เบนซินพิเศษไร้สารตะกั่วชนิดที่ 2 คิดเป็นร้อยละ 46.5 12.9 12.1 4.2 4.0 2.5
และ 1.3 ตามลำดับ
สำหรับผลิตภัณฑ์ที่มีการใช้เพิ่มขึ้นได้แก่ เจพี 1 (AAT) เบนซินพิเศษไร้สารตะกั่วชนิดที่ 1
และ เบนซินธรรมดาไร้สารตะกั่ว คิดเป็นอัตราร้อยละ 70.4 6.3 และ 1.1 ตามลำดับ
- เพิ่มขึ้นจากเดือนเมษายน 2538 ปริมาณ 330 ล้าน คิดเป็นอัตราร้อยละ 10.6 โดย
ผลิตภัณฑ์ที่มีการใช้เพิ่มขึ้น ได้แก่ เจพี 1 (AAT) เบนซินพิเศษไร้สารตะกั่วชนิดที่ 1 ก๊าซแอลพีจี
น้ำมันก๊าด ดีเซลหมุนเร็ว น้ำมันเตา และเจพี 1 คิดเป็นอัตราร้อยละ 443.9 53.4 27.0 13.5 11.5
7.2 และ 1.9 ตามลำดับ
สำหรับผลิตภัณฑ์ที่มีการใช้ลดลง ได้แก่ อากาศยาน 100/130 ดีเซลหมุนช้า และ เบนซินไร้
สารตะกั่ว คิดเป็นอัตราร้อยละ 43.5 18.8 และ 6.3 ตามลำดับ
สำหรับส่วนแบ่งการตลาดของปริมาณการจำหน่ายน้ำมันเชื้อเพลิง จะเห็นได้ว่าปตท.มีส่วนแบ่ง
การตลาดเป็นอันดับหนึ่ง คือร้อยละ 37.2 (รวมปริมาณการจำหน่ายน้ำมันเตาให้ กฟผ. คิดเป็นอัตรา
ร้อยละ 57.3 ของปริมาณการจำหน่ายน้ำมันเตารวมของประเทศ) รองลงมาได้แก่ เอสโซ่ เชลล์ และคาลเท็กซ
ร้อยละ 17.9 16.7 และ 7.2 ตามลำดับ
2.ส่งออกไปต่างประเทศ การส่งออกไปจำหน่ายต่างประเทศ มีปริมาณรวมทั้งสิ้น 122
ล้านลิตร โดยเป็นน้ำมันสำเร็จรูปและก๊าซแอลพีจี 73 ล้านลิตร นอกจากนี้ยังมีการส่งออก คอนเดนเสท
ไอโซมอร์เรต ไลท์แนฟธ่า และ ก๊าซโซลีนธรรมชาติ อีก 49 ล้านลิตร
การจัดหา
ปริมาณการจัดหาผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปได้มาจากการผลิตจากโรงกลั่น และโรงแยกก๊าซฯ ภายใน
ประเทศร้อยละ 77.8 และจากการน้ำเข้าอีกร้อยละ 22.2 โดยแยกรายละเอียด ดังนี้
1. การผลิต
การผลิตภายในประเทศที่มีปริมาณ 2,830 ล้านลิตร (รวมปริมาณ MTBE NGL ฝางเรสิดิว
รีฟอร์เมท และน้ำมันปนเปื้อนที่นำมาผสมจำนวน 55 ล้านลิตร) เฉลี่ยวันละ 94 ล้านลิตร หรือ
593,294 บาเรลต่อวัน เพิ่มขึ้นจากเดือนที่ผ่านมาและเดือนเดียวกันของปีก่อน 121 และ 549 ล้านลิตร
คิดเป็นร้อยละ 4.5 และ 24.1 ตามลำดับ ผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปที่ผลิตได้ในเดือนนี้แยกเป็น
1.1 จากโรงกลั่น ปริมาณ 2,622 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 87 ล้านลิตร หรือ 549,725
บาเรลต่อวันเพิ่มขึ้นจากเดือนที่ผ่านมาและเดือนเดียวกันของปีก่อน 69 ล้านลิตร และ 499 ล้านลิตร คิด
เป็นอัตราร้อยละ 2.7 และ 23.5 ตามลำดับ
1.2 จากโรงแยกก๊าซฯ และบริษัทกรุงเทพซินเธติกส์ จำกัด ปริมาณ 82,633 เมตริกตัน
(153 ล้านลิตร) เฉลี่ยวันละ 2,754 เมตริกตัน (5 ล้านลิตร) เพิ่มขึ้นจากเดือนที่ผ่านมา เพิ่มขึ้นจาก
เดือนที่ผ่านมาและเดือนเดียวกันของปีก่อน 29,759 เมตริกตัน (55 ล้านลิตร) และ 11,494
เมตริกตัน (21 ล้านลิตร) คิดเป็นร้อยละ 56.3 และ 16.2 ตามลำดับ
เปรียบเทียบกับปริมาณการผลิตของเดือนที่ผ่านมาและเดือนเดียวกันของปีก่อน
- เพิ่มขึ้นจากเดือนมีนาคม 2539 ปริมาณ 121 ล้านลิตร คิดเป็นอัตราร้อยละ 4.5 โดย
ผลิตภัณฑ์ที่มีการผลิตเพิ่มขึ้นได้แก่ เจพี 1 (AAT) เบนซินพิเศษไร้สารตะกั่วชนิดที่ 1 ก๊าซแอลพีจี เจพี 1
ดีเซลหมุนเร็ว และ น้ำมันเตา คิดเป็นอัตราร้อยละ 63.5 40.3 19.5 12.5 1.4 และ 0.2 ตาม
ลำดับ
สำหรับผลิตภัณฑ์ที่มัการผลิตลดลงได้แก่ น้ำมันก๊าด เบนซินธรรมดา เบนซินพิเศษไร้สารตะกั่ว
ชนิดที่ 2 ดีเซลหมุนช้า และ เบนซินธรรมดาไร้สารตะกั่ว คิดเป็นอัตราร้อยละ 45.0 28.8 18.6
17.9 และ 3.9 ตามลำดับ
- เพิ่มขึ้นจากเดือนเมษายน 2538 ปริมาณ 549 ล้านลิตร คิดเป็นอัตราร้อยละ 24.1
โดยผลิตภัณฑ์ที่มีการผลิตเพิ่มขึ้นได้แก่เจพี 1 (AAT) เบนซินพิเศษไร้สารตะกั่วชนิดที่ 2 เบนซินธรรมดา
ไร้สารตะกั่ว เบนซินธรราดา เจพี 1 น้ำมันเตา น้ำมันก๊าด ดีเซลหมุนเร็ว และก๊าซแอลพีจี คิดเป็น
อัตราร้อยละ 267.1 77.4 44.6 37.7 36.7 32.0 24.3 14.7 และ 12.5 ตามลำดับ
สำหรับผลิตภัณฑ์ที่มีการผลิตลดลงมีเพียงชนิดเดียวคือ ดีเซลหมุนช้า ในอัตราร้อยละ 7.5
2. การนำเข้า
น้ำมันสำเร็จรูป ก๊าซแอลพีจี และน้ำมันดิบที่นำเข้ามาจากต่างประเทศมีปริมาณรวมทั้งสิ้น
3,361 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 112 ล้านลิตร หรือ 704,689 บาเรลต่อวัน คิดเป็นมูลค่า 11,041
ล้านบาท (ไม่รวมปริมาณนำเข้า MTBE ที่นำเข้ามาจากสิงคโปร์ 22 ล้านลิตร มูลค่า 117 ล้านบาท)
แยกรายละเอียดได้ ดังนี้
2.1 น้ำมันดิบ ปริมาณ 2,554 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 85 ล้านลิตร หรือ 535,425
บาเรลต่อวัน ราคาเฉลี่ย 19.69 เหรียญสหรัฐ/บาเรล คิดเป็นมูลค่าการนำเข้า 7,993 ล้านบาท
เปรียบเทียบกับปริมาณและมูลค่าการนำเข้าของเดือนที่ผ่านมาและเดือนเดียวกันของปีก่อน
- ปริมาณและมูลค่าลดลงจากเดือนที่ผ่านมา ปริมาณ 426 ล้านลิตร มูลค่า 945 ล้านบาท
คิดเป็นอัตราร้อยละ 14.3 และ 10.6 ตามลำดับ โดยราคานำเข้าเฉลี่ยในเดือนสูงกว่าเดือนที่ผ่านมา
0.79 เหรียญสหรัฐ/บาเรล
- ปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันของปีก่อน ปริมาณ 223 ล้านลิตร มูลค่า
1,374 ล้านบาท คิดเป็นอัตราร้อยละ 9.6 และ 20.8 ตามลำดับ โดยราคานำเข้าเฉลี่ยในเดือนสูงกว่า
เดือนเดียวกันของปีก่อน 1.30 เหรียญสหรัฐ/บาเรล
ปริมาณและแหล่งนำเข้าน้ำมันดิบ
แหล่งนำเข้า ปริมาณ/ล้านลิตร ราคาเฉลี่ย (เหรียญสหรัฐ/บาเรล) ร้อยละ
ตะวันออกกลาง 1,689 18.56 66.1
ตะวันออกไกล 765 21.82 30.0
อื่น ๆ 100 22.51 3.9
รวม 2,554 19.69 100.0
2.2 น้ำมันสำเร็จรูปและก๊าซแอลพีจี ปริมาณรวมทั้งสิ้น 807 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 27
ล้านลิตร หรือ 169,263 บาเรลต่อวัน มูลค่า 3,048 ล้านบาท
เปรียบเทียบกับปริมาณและมูลค่าการนำเข้าของเดือนที่ผ่านมาและเดือนเดียวกันของปีก่อน
ปริมาณและมูลค่าลดลงจากเดือนที่ผ่านมา ปริมาณลดลง434 ล้านลิตร มูลค่าลดลง 1,709
ล้านบาท คิดเป็นอัตราร้อยละ 34.9 และ 35.9 ตามลำดับ โดยมีรายละเอียด ดังนี้
เจพี 1 ปริมาณนำเข้าลดลงร้อยละ 83.4 มูลค่านำเข้าลดลงร้อยละ 84.6
เบนซินพิเศษไร้สารตะกั่วชนิดที่ 2 " 78.8 " 76.7
ก๊าซแอลพีจี " 64.1 " 64.3
น้ำมันเตา " 34.7 " 33.3
ดีเซลหมุนเร็ว " 33.6 " 36.0
เบนซินธรรมดาไร้สารตะกั่ว " 21.1 " 22.0
เบนซินพิเศษไร้สารตะกั่วชนิดที่ 1 " 19.9 " 15.5
- ปริมาณและมูลค่าลดลงจากเดือนเดียวกันของปีก่อน ปริมาณลดลง 138 ล้านลิตร มูลค่า
ลดลง 39 ล้านลิตร คิดเป็นอัตราร้อยละ 14.6 และ 1.3 ตามลำดับ โดยมีรายละเอียด ดังนี้
เจพี 1 ปริมาณนำเข้าลดลงร้อยละ 70.5 มูลค่านำเข้าลดลงร้อยละ 63.5
เบนซินธรรมดาไร้สารตะกั่ว " 48.8 " 47.8
ดีเซลหมุนเร็ว " 27.7 " 10.7
ส่วนผลิตภัณฑ์ที่มีการนำเข้าเพิ่มขึ้นมีรายละเอียด ดังนี้
ก๊าซแอลพีจี ปริมาณนำเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 273.8 มูลค่านำเข้าเพิ่มขึ้นร้อยละ 146.9
เบนซินพิเศษไร้สารตะกั่วชนิดที่ 1 " 202.8 " 242.6
น้ำมันเตา " 11.9 " 20.3
ปริมาณและแหล่งนำเข้าน้ำมันสำเร็จรูปและก๊าซแอลพีจี
แหล่งนำเข้า ปริมาณ (ล้านลิตร) ร้อยละ
สิงคโปร์ 607 75.2
เกาหลี 145 18.0
อื่น ๆ 55 6.8
รวม 807 100.0
ปริมาณความต้องการใช้และการจัดหาน้ำมันเชื้อเพลิง
มกราคม - เมษายน 2539
1. ความต้องการใช้
ปริมาณรวมทั้งสิ้น 13,642 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 113 ล้านลิตร หรือ 709,155 บาเรล
เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปี 2538 ปริมาณ 1,307 ล้านลิตร หรือร้อยละ 10.6
2. การจัดหา
การจัดหาผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปมีปริมาณรวมทั้งสิ้น 14,442 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 119 ล้าน
ลิตร หรือ 750,716 บาเรล เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปี 2538 ปริมาณ 1,656 ล้านลิตร หรือร้อย
ละ 13.0 โดยแยกได้ ดังนี้
2.1 การผลิตภายในประเทศ
ได้จากโรงกลั่นและโรงแยกก๊าซฯ 10,642 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 88 ล้านลิตร หรือ
553,195 บาเรล เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปี 2538 ปริมาณ 1,415 ล้านลิตร หรือ 15.3
2.2 การนำเข้าจากต่างประเทศ
ปริมาณ 3,800 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 31 ล้านลิตร หรือ 197,521 บาเรล เพิ่มขึ้นจากช่วง
เดียวกันของปี 2538 ปริมาณ 241 ล้านลิตร หรือร้อยละ 6.8
สำหรับน้ำมันดิบมีปริมาณการนำเข้ารวมทั้งสิ้น 10,425 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 86 ล้านลิตร
หรือ 541,904 บาเรล มูลค่าการนำเข้า 31,897 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปี 2538
ปริมาณ 1,809 ล้านลิตร หรือร้อยละ 21.0 โดยนำเข้ามาจากตะวันออกกลางร้อยละ 63.6 ตะวันออก
ไกลร้อยละ 32.9 และอื่น ๆ อีกร้อยละ 3.5
--กองน้ำมันเชื้อเพลิง กรมทะเบียนการค้า--