ผู้ผลิต : รวม 2,000 ราย
- ขนาดเล็ก (คนงานไม่เกิน 50 คน) 1,597 ราย
- ขนาดกลาง (คนงาน 51-200 คน) 376 ราย
- ขนาดใหญ่ (คนงานมากกว่า 200 คน) 27 ราย
ไดัรับ BOI 127 ราย
จำนวนคนงาน รวม 200,000 คน
โครงสร้างราคา (ร้อยละ) โครงสร้างสินค้า(ร้อยละ)
การใช้ปัจจัยการผลิต 1. รองเท้ากีฬา 54.31
-ในประเทศ 51.8 2. รองเท้าหนัง 22.89
- นอกประเทศ 39.1 3. รองเท้าแตะ 14.57
Approx.margin 9.1 4. รองเท้าอื่นๆ 6.70
กำลังการผลิตรวม 500 ล้านคู่ต่อปี 5. ส่วนประกอบ 1.52
แนวโน้มการส่งออกในปี 2548 สินค้าสินค้ารองเท้าและชิ้นส่วนในช่วง3 เดือนแรก(ม.ค.-มี.ค.)
ของปี 2548 มีมูลค่า 228.78 ล้านเหรียญสหรัฐเพิ่มขึ้นร้อยละ 11 เมื่อเทียบกับปี 2547 เนื่องจากอยู่ในช่วงที่บริษัทผู้
รับจ้างการผลิตรองเท้ากีฬาส่งสินค้ารองเท้ากีฬาสำหรับฤดูร้อนให้แก่บริษัทผู้ว่าจ้างการผลิตรองเท้ากีฬารายใหญ่ที่สุด
ของโลกได้แก่ บริษัทไนกี้ คาดว่าในปี 2549 จะมีการขยายตัวของอุตสาหกรรมรองเท้าจากการเจรจา FTA กับ
สหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่นตลาดส่งออก :- ตลาดหลัก: สหรัฐอเมริกา เบลเยี่ยม เดนมาร์ก สหราชอาณาจักร และ
ญี่ปุ่น- ตลาดที่มีศักยภาพ: ฝรั่งเศส สหรัฐอาหรับฯ เยอรมนี เนเธอร์แลนด์ และ แคนาดาประมาณการส่งออกปี
2548: มูลค่า 780.50 ล้านเหรียญสหรัฐเพิ่มขึ้นร้อยละ 2 เมื่อเทียบกับปี 2547
ตลาดส่งออกสำคัญ
มูลค่า : ล้าน USD อัตราขยายตัว : ร้อยละ สัดส่วน : ร้อยละ
2546 2547 2548 2546 2547 2548 2546 2547 2548
ม.ค.-มี.ค. ม.ค.-มี.ค. ม.ค.-มี.ค.
1. สหรัฐอเมริกา 289.91 249.1 81.44 5.35 -14.1 31.54 36.3 32.6 36
2. เบลเยี่ยม 84.17 78.92 23.77 1.8 -6.24 -6.06 10.5 10.3 10.39
3. เดนมาร์ก 44.85 54.9 18.23 12.65 22.42 1.72 5.62 7.17 7.97
4. สหราชอาณาจักร 49.29 41.24 14.06 -36.4 -16.3 20.87 6.17 5.39 6.15
5. ญี่ปุ่น 44.3 43.11 13.64 31.11 -2.68 12.79 5.55 5.63 5.96
6. สหรัฐอาหรับฯ 34.5 33.83 8.27 5.26 -1.87 7.18 4.32 4.42 3.62
7. ฝรั่งเศส 28.5 25.77 7.16 11.86 -9.57 -31.5 3.57 3.37 3.13
8. เนเธอร์แลนด์ 22.94 29.53 6.4 44.65 28.73 13.81 2.87 3.86 2.8
9.แคนาดา 13.59 11.18 4.84 -5.99 -17.7 58.07 1.7 1.46 2.12
10. เยอรมนี 14.09 20.55 4.3 41.4 45.86 -31.9 1.77 2.69 1.88
รวม 10 ประเทศ 626.1 588.1 182.1 2.36 -6.06 12.39 78.4 76.9 79.61
อื่น ๆ 172.13 177.1 46.65 7.34 2.86 5.9 21.6 23.1 20.39
มูลค่ารวม 798.24 765.2 228.8 3.4 -4.14 11 100 100 100
ปัญหาอุปสรรค
1. ภาษีนำเข้าวัตถุดิบสูงและผู้ประกอบการส่วนใหญ่ไม่ได้นำเข้าเองจึงไม่สามารถคืนภาษีได้ กราฟ
มูลค่าการส่งออกสินค้ารองเท้าและชิ้นส่วน
2. ขาดแคลนบุคลากร และนักออกแบบที่มีคุณภาพ
3. ต้นทุนการผลิตสูงไม่สามารถแข่งขันกับต่างประเทศได้
4. ขาดการเจาะตลาดโดยเฉพาะ (Niche Market) ที่เน้นเฉพาะกลุ่ม
5. การผันผวนของค่าเงินบาททำให้สินค้าส่งออกมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
กลยุทธ์
1. มุ่งเน้นการผลิตและส่งออกสินค้าที่มีความได้เปรียบในการแข่งขัน
2. สนับสนุนการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
3. พัฒนา Brand Name ของตนเอง
4. เร่งจัดกิจกรรมการตลาดในกลุ่มบริโภคระดับบน
5. พัฒนาบุคลากรด้านการออกแบบ
--กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม--
-พห-
- ขนาดเล็ก (คนงานไม่เกิน 50 คน) 1,597 ราย
- ขนาดกลาง (คนงาน 51-200 คน) 376 ราย
- ขนาดใหญ่ (คนงานมากกว่า 200 คน) 27 ราย
ไดัรับ BOI 127 ราย
จำนวนคนงาน รวม 200,000 คน
โครงสร้างราคา (ร้อยละ) โครงสร้างสินค้า(ร้อยละ)
การใช้ปัจจัยการผลิต 1. รองเท้ากีฬา 54.31
-ในประเทศ 51.8 2. รองเท้าหนัง 22.89
- นอกประเทศ 39.1 3. รองเท้าแตะ 14.57
Approx.margin 9.1 4. รองเท้าอื่นๆ 6.70
กำลังการผลิตรวม 500 ล้านคู่ต่อปี 5. ส่วนประกอบ 1.52
แนวโน้มการส่งออกในปี 2548 สินค้าสินค้ารองเท้าและชิ้นส่วนในช่วง3 เดือนแรก(ม.ค.-มี.ค.)
ของปี 2548 มีมูลค่า 228.78 ล้านเหรียญสหรัฐเพิ่มขึ้นร้อยละ 11 เมื่อเทียบกับปี 2547 เนื่องจากอยู่ในช่วงที่บริษัทผู้
รับจ้างการผลิตรองเท้ากีฬาส่งสินค้ารองเท้ากีฬาสำหรับฤดูร้อนให้แก่บริษัทผู้ว่าจ้างการผลิตรองเท้ากีฬารายใหญ่ที่สุด
ของโลกได้แก่ บริษัทไนกี้ คาดว่าในปี 2549 จะมีการขยายตัวของอุตสาหกรรมรองเท้าจากการเจรจา FTA กับ
สหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่นตลาดส่งออก :- ตลาดหลัก: สหรัฐอเมริกา เบลเยี่ยม เดนมาร์ก สหราชอาณาจักร และ
ญี่ปุ่น- ตลาดที่มีศักยภาพ: ฝรั่งเศส สหรัฐอาหรับฯ เยอรมนี เนเธอร์แลนด์ และ แคนาดาประมาณการส่งออกปี
2548: มูลค่า 780.50 ล้านเหรียญสหรัฐเพิ่มขึ้นร้อยละ 2 เมื่อเทียบกับปี 2547
ตลาดส่งออกสำคัญ
มูลค่า : ล้าน USD อัตราขยายตัว : ร้อยละ สัดส่วน : ร้อยละ
2546 2547 2548 2546 2547 2548 2546 2547 2548
ม.ค.-มี.ค. ม.ค.-มี.ค. ม.ค.-มี.ค.
1. สหรัฐอเมริกา 289.91 249.1 81.44 5.35 -14.1 31.54 36.3 32.6 36
2. เบลเยี่ยม 84.17 78.92 23.77 1.8 -6.24 -6.06 10.5 10.3 10.39
3. เดนมาร์ก 44.85 54.9 18.23 12.65 22.42 1.72 5.62 7.17 7.97
4. สหราชอาณาจักร 49.29 41.24 14.06 -36.4 -16.3 20.87 6.17 5.39 6.15
5. ญี่ปุ่น 44.3 43.11 13.64 31.11 -2.68 12.79 5.55 5.63 5.96
6. สหรัฐอาหรับฯ 34.5 33.83 8.27 5.26 -1.87 7.18 4.32 4.42 3.62
7. ฝรั่งเศส 28.5 25.77 7.16 11.86 -9.57 -31.5 3.57 3.37 3.13
8. เนเธอร์แลนด์ 22.94 29.53 6.4 44.65 28.73 13.81 2.87 3.86 2.8
9.แคนาดา 13.59 11.18 4.84 -5.99 -17.7 58.07 1.7 1.46 2.12
10. เยอรมนี 14.09 20.55 4.3 41.4 45.86 -31.9 1.77 2.69 1.88
รวม 10 ประเทศ 626.1 588.1 182.1 2.36 -6.06 12.39 78.4 76.9 79.61
อื่น ๆ 172.13 177.1 46.65 7.34 2.86 5.9 21.6 23.1 20.39
มูลค่ารวม 798.24 765.2 228.8 3.4 -4.14 11 100 100 100
ปัญหาอุปสรรค
1. ภาษีนำเข้าวัตถุดิบสูงและผู้ประกอบการส่วนใหญ่ไม่ได้นำเข้าเองจึงไม่สามารถคืนภาษีได้ กราฟ
มูลค่าการส่งออกสินค้ารองเท้าและชิ้นส่วน
2. ขาดแคลนบุคลากร และนักออกแบบที่มีคุณภาพ
3. ต้นทุนการผลิตสูงไม่สามารถแข่งขันกับต่างประเทศได้
4. ขาดการเจาะตลาดโดยเฉพาะ (Niche Market) ที่เน้นเฉพาะกลุ่ม
5. การผันผวนของค่าเงินบาททำให้สินค้าส่งออกมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา
กลยุทธ์
1. มุ่งเน้นการผลิตและส่งออกสินค้าที่มีความได้เปรียบในการแข่งขัน
2. สนับสนุนการเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
3. พัฒนา Brand Name ของตนเอง
4. เร่งจัดกิจกรรมการตลาดในกลุ่มบริโภคระดับบน
5. พัฒนาบุคลากรด้านการออกแบบ
--กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม--
-พห-