สุกร
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
เนื่องจากในสัปดาห์นี้อยู่ในช่วงเทศกาลสารทจีน ทำให้การซื้อขายสุกรเริ่มคล่องตัวขึ้น โดยราคาสุกรมีชีวิตปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ที่ผ่านมา อย่างไรก็ตามเมื่อผ่านพ้นเทศกาลไปแล้ว ความต้องการและผลผลิตกลับสู่ภาวะปกติ ส่งผลให้ราคาสุกรอยู่ในระดับทรงตัวไปจนถึงอ่อนตัวลง
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 38.39 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 38.98 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.05 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้คือ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 38.74 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 36.11 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 40.71 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 41.22 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้มีราคาอยู่ที่ตัวละ 900 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 42.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ส่วนราคาขายส่งสุกรชำแหละในตลาดกรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 50.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ไก่เนื้อ
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ราคาปรับเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เพราะผลจากความต้องการไก่เนื้อที่เพิ่มขึ้นในช่วงเทศกาลสารทจีน ขณะเดียวกันราควัตถุดิบบางชนิด โดยเฉพาะข้าวโพดปรับตัวลดลง คาดว่าผู้เลี้ยงจะเพิ่มการผลิตโดยนำไก่เข้าเลี้ยงมากขึ้น ทำให้มีแนวโน้มว่าผลผลิตจะมากขึ้นและราคาอ่อนตัวลง
ทางด้านตลาดต่างประเทศ ในสัปดาห์นี้ได้มีการเสนอราคาขายเนื้อขาถอดกระดูก (BL) ในตลาดญี่ปุ่นที่ตันละ 2,100 ดอลลาร์สหรัฐฯ และราคาขายเนื้อหน้าอกถอดกระดูกลอกหนัง (SBB) ในตลาดยุโรปที่ตันละ 2,400 ดอลลาร์สหรัฐฯ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 33.97 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 33.85 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.35 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้คือ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 34.64 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 32.42 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 34.84 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 34.17 บาท ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี. มีราคาอยู่ที่ตัวละ 11.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมเศรษฐกิจการพาณิชย์ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 35.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ส่วนราคาขายส่งไก่สด เฉลี่ยกิโลกรัมละ 44 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ไข่ไก่
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ในสัปดาห์นี้ราคาปรับตัวลดลง เพราะผลผลิตที่ออกสู่ตลาดยังมีปริมาณมาก แต่ภาวะโดยรวมยังอยู่ในเกณฑ์ดี โดยราคาอยู่ในระดับสูง อย่างไรก็ตามผลจากสภาพอากาศที่เย็นลงและข้าวโพดปรับราคาลดลง คาดว่าผู้เลี้ยงจะเพิ่มการเลี้ยง ทำให้ผลผลิตมีมากขึ้นและราคามีแนวโน้มอ่อนตัวลง
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 191 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 195 บาท ของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 2.05 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือร้อยฟองละ 203 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 189 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 190 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 214 บาท ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. อยู่ที่ตัวละ 18.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมเศรษฐกิจการพาณิชย์ เฉลี่ยร้อยฟองละ 198 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 242 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ คือ ภาคเหนือร้อยฟองละ 251 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 243 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 239 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 222 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมเศรษฐกิจการพาณิชย์ เฉลี่ยร้อยฟองละ 285 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
โค
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโค (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 26.66 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 15.60 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 15.67 บาท ของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 0.45
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 32 ประจำวันที่ 30 ส.ค.-6 ก.ย. 2541--
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
เนื่องจากในสัปดาห์นี้อยู่ในช่วงเทศกาลสารทจีน ทำให้การซื้อขายสุกรเริ่มคล่องตัวขึ้น โดยราคาสุกรมีชีวิตปรับตัวเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ที่ผ่านมา อย่างไรก็ตามเมื่อผ่านพ้นเทศกาลไปแล้ว ความต้องการและผลผลิตกลับสู่ภาวะปกติ ส่งผลให้ราคาสุกรอยู่ในระดับทรงตัวไปจนถึงอ่อนตัวลง
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 38.39 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 38.98 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.05 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้คือ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 38.74 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 36.11 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 40.71 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 41.22 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้มีราคาอยู่ที่ตัวละ 900 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 42.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ส่วนราคาขายส่งสุกรชำแหละในตลาดกรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 50.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ไก่เนื้อ
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ราคาปรับเพิ่มขึ้นจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เพราะผลจากความต้องการไก่เนื้อที่เพิ่มขึ้นในช่วงเทศกาลสารทจีน ขณะเดียวกันราควัตถุดิบบางชนิด โดยเฉพาะข้าวโพดปรับตัวลดลง คาดว่าผู้เลี้ยงจะเพิ่มการผลิตโดยนำไก่เข้าเลี้ยงมากขึ้น ทำให้มีแนวโน้มว่าผลผลิตจะมากขึ้นและราคาอ่อนตัวลง
ทางด้านตลาดต่างประเทศ ในสัปดาห์นี้ได้มีการเสนอราคาขายเนื้อขาถอดกระดูก (BL) ในตลาดญี่ปุ่นที่ตันละ 2,100 ดอลลาร์สหรัฐฯ และราคาขายเนื้อหน้าอกถอดกระดูกลอกหนัง (SBB) ในตลาดยุโรปที่ตันละ 2,400 ดอลลาร์สหรัฐฯ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 33.97 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 33.85 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.35 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้คือ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 34.64 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 32.42 บาท ภาคกลาง กิโลกรัมละ 34.84 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 34.17 บาท ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี. มีราคาอยู่ที่ตัวละ 11.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมเศรษฐกิจการพาณิชย์ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 35.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ส่วนราคาขายส่งไก่สด เฉลี่ยกิโลกรัมละ 44 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ไข่ไก่
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ในสัปดาห์นี้ราคาปรับตัวลดลง เพราะผลผลิตที่ออกสู่ตลาดยังมีปริมาณมาก แต่ภาวะโดยรวมยังอยู่ในเกณฑ์ดี โดยราคาอยู่ในระดับสูง อย่างไรก็ตามผลจากสภาพอากาศที่เย็นลงและข้าวโพดปรับราคาลดลง คาดว่าผู้เลี้ยงจะเพิ่มการเลี้ยง ทำให้ผลผลิตมีมากขึ้นและราคามีแนวโน้มอ่อนตัวลง
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 191 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 195 บาท ของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 2.05 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือร้อยฟองละ 203 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 189 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 190 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 214 บาท ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. อยู่ที่ตัวละ 18.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมเศรษฐกิจการพาณิชย์ เฉลี่ยร้อยฟองละ 198 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 242 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ คือ ภาคเหนือร้อยฟองละ 251 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 243 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 239 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 222 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมเศรษฐกิจการพาณิชย์ เฉลี่ยร้อยฟองละ 285 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
โค
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโค (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 26.66 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 15.60 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 15.67 บาท ของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 0.45
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 32 ประจำวันที่ 30 ส.ค.-6 ก.ย. 2541--