ผลการจัดเก็บรายได้ของกรมสรรพสามิต ประจำเดือนตุลาคม 2538 - สิงหาคม 2539 ปีงบประมาณ 2539
--------------------------------------------------
ในระยะ 11 เดือนของปีงบประมาณ 2539 (เดือนตุลาคม 2538 - สิงหาคม 2539) กรมสรรพสามิต
จัดเก็บรายได้ทั้งสิ้น 153,419.08 ล้านบาท สูงกว่าจัดเก็บได้จริงในระยะเดียวกันกับปีที่แล้ว 10,753.51
ล้านบาท หรือร้อยละ 7.54 และสูงกว่าประมาณการ 1,028.50 ล้านบาท หรือร้อยละ 0.67 โดยแยกเป็น
ประเภทภาษีอากรดังนี้
หน่วย : ล้านบาท
__________________________________________________________________________________
เปรียบเทียบกับปีที่แล้ว
ประเภทรายได้ เก็บได้จริง เก็บได้ปีที่แล้ว (+) สูง (-) ต่ำ
จำนวนเงิน ร้อยละ
__________________________________________________________________________________
1. ภาษียาสูบ 22,083.15 18,817.81 (+)3,265.34 (+) 17.35
2. ภาษีน้ำมันและ
ผลิตภัณฑ์น้ำมัน 53,029.48 49,182.19 (+)3,847.29 (+) 7.82
3. ภาษีสุราและเงิน
ผลประโยชน์ 19,823.71 18,248.50 (+)1,575.21 (+) 8.63
4. ภาษีเบียร์ 16,112.37 13,988.28 (+)2,124.09 (+) 15.18
5. ภาษีเครื่องดื่ม 6,358.13 6,133.68 (+) 224.45 (+) 3.66
6. ภาษีไพ่และเงิน
ผลประโยชน์ 50.62 52.03 (-) 1.41 (-) 2.71
7. ภาษีเครื่องไฟฟ้า 1,594.45 1,069.85 (+) 524.60 (+) 49.03
8. ภาษีรถยนต์ 34,163.06 34,980.49 (-) 817.43 (-) 2.34
9. ภาษีแก้วและเครื่องแก้ว 1.61 1.82 (-) 0.21 (-) 11.54
10. ภาษีผลิตภัณฑ์เครื่องหอมฯ 67.92 61.87 (+) 6.05 (+) 9.78
11. ภาษีเรือ 10.85 14.75 (-) 3.90 (-) 26.44
12. ภาษีสถานบริการ 9.25 10.38 (-) 1.13 (-) 10.89
13. รายได้เบ็ดเตล็ด 114.48 103.92 (+) 10.56 (+) 10.16
__________________________________________________________________________________
รวม 153,419.08 142,665.57 (+)10,753.51 (+) 7.54
__________________________________________________________________________________
--ข่าวกระทรวงการคลัง กองกลาง สนง.ปลัดกระทรวงการคลัง ฉบับที่ 55 / 27 กันยายน 2539--
--------------------------------------------------
ในระยะ 11 เดือนของปีงบประมาณ 2539 (เดือนตุลาคม 2538 - สิงหาคม 2539) กรมสรรพสามิต
จัดเก็บรายได้ทั้งสิ้น 153,419.08 ล้านบาท สูงกว่าจัดเก็บได้จริงในระยะเดียวกันกับปีที่แล้ว 10,753.51
ล้านบาท หรือร้อยละ 7.54 และสูงกว่าประมาณการ 1,028.50 ล้านบาท หรือร้อยละ 0.67 โดยแยกเป็น
ประเภทภาษีอากรดังนี้
หน่วย : ล้านบาท
__________________________________________________________________________________
เปรียบเทียบกับปีที่แล้ว
ประเภทรายได้ เก็บได้จริง เก็บได้ปีที่แล้ว (+) สูง (-) ต่ำ
จำนวนเงิน ร้อยละ
__________________________________________________________________________________
1. ภาษียาสูบ 22,083.15 18,817.81 (+)3,265.34 (+) 17.35
2. ภาษีน้ำมันและ
ผลิตภัณฑ์น้ำมัน 53,029.48 49,182.19 (+)3,847.29 (+) 7.82
3. ภาษีสุราและเงิน
ผลประโยชน์ 19,823.71 18,248.50 (+)1,575.21 (+) 8.63
4. ภาษีเบียร์ 16,112.37 13,988.28 (+)2,124.09 (+) 15.18
5. ภาษีเครื่องดื่ม 6,358.13 6,133.68 (+) 224.45 (+) 3.66
6. ภาษีไพ่และเงิน
ผลประโยชน์ 50.62 52.03 (-) 1.41 (-) 2.71
7. ภาษีเครื่องไฟฟ้า 1,594.45 1,069.85 (+) 524.60 (+) 49.03
8. ภาษีรถยนต์ 34,163.06 34,980.49 (-) 817.43 (-) 2.34
9. ภาษีแก้วและเครื่องแก้ว 1.61 1.82 (-) 0.21 (-) 11.54
10. ภาษีผลิตภัณฑ์เครื่องหอมฯ 67.92 61.87 (+) 6.05 (+) 9.78
11. ภาษีเรือ 10.85 14.75 (-) 3.90 (-) 26.44
12. ภาษีสถานบริการ 9.25 10.38 (-) 1.13 (-) 10.89
13. รายได้เบ็ดเตล็ด 114.48 103.92 (+) 10.56 (+) 10.16
__________________________________________________________________________________
รวม 153,419.08 142,665.57 (+)10,753.51 (+) 7.54
__________________________________________________________________________________
--ข่าวกระทรวงการคลัง กองกลาง สนง.ปลัดกระทรวงการคลัง ฉบับที่ 55 / 27 กันยายน 2539--