รายงานเศรษฐกิจและการเงิน เดือนมีนาคม ปี 2548 : มาตรการทางเศรษฐกิจ

ข่าวเศรษฐกิจ Monday May 2, 2005 11:56 —ธนาคารแห่งประเทศไทย

  มาตรการการเงิน                            ผู้เกี่ยวข้อง                                     สาระสำคัญ                                    วันที่บังคับใช้                            แหล่งที่มา
1.ผลการประชุมคณะ คณะกรรมการนโยบายการเงิน - ข่าว ธปท.ฉบับที่
กรรมการนโยบายการเงิน ประเมินว่า เศรษฐกิจจะมีแรงกดดัน 7/2548 วันที่ 2
วันที่ 2 มีนาคม 2548 ด้านราคาเพิ่มขึ้นในระยะต่อไปเนื่อง มีนาคม 2548
จากต้นทุนการผลิตได้เพิ่มขึ้นค่อนข้าง
มากในระยะที่ผ่านมา นอกจากนั้น การ
สูงขึ้นของราคาน้ำมันขณะที่เศรษฐกิจ
ขยายตัวอยู่ในเกณฑ์ดีมีโอกาสทำให้เงิน
เฟ้อเร่งตัวมากขึ้น อีกทั้ง ผลกระทบของ
เหตุการณ์ภัยธรรมชาติมิได้รุนแรงกว่าที่
ประเมินไว้ในการประชุมครั้งที่แล้วดังนั้น
คณะกรรมการฯจึงเห็นควรให้ขึ้นอัตรา
ดอกเบี้ยตลาดซื้อคืนพันธบัตรระยะ 14
วันจากร้อยละ 2 ต่อปี เป็นร้อยละ 2.25
ต่อปี เพื่อรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
อันจะเอื้อต่อการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง
ในระยะยาว
2.อัตราค่าตอบแทน -สถาบันการเงินทุกแห่ง ธปท.ปรับอัตราค่าตอบแทนในการ 2 มีนาคม 2548 หนังสือเวียนที่
ในการซื้อขายพันธบัตร (ไม่รวมบริษัทหลักทรัพย์ ซื้อขายพันธบัตรกับสถาบันการเงินเพื่อ สกง.(13)
กับสถาบันการเงินเพื่อ และIBF) ปรับสภาพคล่องสิ้นวันโดยมีข้อสัญญา ว.8/2548
โดยมีข้อสัญญาว่าผู้ขาย ต่อปี ตามการเพิ่มขึ้นของอัตราดอกเบี้ย และประกาศ
จะซื้อคืน นโยบาย วันที่ 2 มีนาคม
2548
3.การกำหนดหลักเกณฑ์ -บริษัทที่ประกอบธุรกิจ 1.กำหนดนิยามของสำนักงานสาขา - หนังสือเวียนที่
วิธีการและเงื่อนไขใน บัตรเครดิตที่มิใช่สถาบัน ที่ผู้ประกอบธุรกิจบัตรเครดิตจะต้องแจ้ง ฝสว.(21)
การประกอบธุรกิจบัตร การเงิน ให้ ธปท.ทราบล่วงหน้าก่อนที่จะเปิดทำ ว.22/2548
เครดิตสำหรับผู้ประกอบ การไม่น้อยกว่า 15 วัน วันที่ 15 มีนาคม
ธุรกิจบัตรเครดิต 2.ปรับปรุงความถี่ในการจัดทำข้อมูล 2548 และประกาศ
(Data Set)จากรายไตรมาสเป็นราย วันที่ 4 มีนาคม 2548
เดือนตั้งแต่งวดเดือนมกราคม 2548
เป็นต้นไป โดยกำหนดการจัดส่งข้อมูล
ภายใน 21 วัน นับจากวันสิ้นเดือนที่
รายงาน
4.แนวทางการผ่อนผันเป็น -สาขาธนาคารต่างประเทศ 1.ให้ถือปฎิบัติเกี่ยวกับการดูแล 10 มีนาคม 2548 หนังสือเวียนที่
การเฉพาะกาลสำหรับ ความเสี่ยงในทุกเรื่องภายใต้หลักเกณฑ์ ธปท.ฝสว.(21)ว.
สาขาของธนาคารต่าง เดียวกับที่ธปท.ใช้บังคับธนาคารพาณิชย์ 474/2548 วันที่
ประเทศ(Full Branch) อยู่ก่อนหน้านี้ 10 มีนาคม 2548
และธนาคารพาณิชย์ที่ 2.เนื่องจากการปรับเปลี่ยนสถานะ
เป็นบริษัทลูกของธนาคาร จากการดำเนินการตามแผนพัฒนาระบบ
ต่างประเทศ(Subsidiary) สถาบันการเงินมีผลทำให้ถูกบังคับใช้
เกี่ยวกับการดำเนินการตามแผน อัตราส่วนการให้สินเชื่อแก่หรือลงทุน
พัฒนาระบบสถาบันการเงิน ในกิจการที่มีผลประโยชน์เกี่ยวข้อง
ตลอดจนกฎระเบียบเกี่ยวกับการให้สิน
เชื่อแก่ผู้ถือหุ้น ดังนั้น ธปท.จึงผ่อน
ผันกฎระเบียบดังกล่าวเป็นการเฉพาะ
กาลสำหรับสัญญาที่ได้ทำไว้ก่อนวันที่
รัฐมนตรีพิจารณาเห็นชอบให้เปลี่ยนสถานะ
5.การอนุญาตให้ธนาคาร -ธนาคารพาณิชย์ ขยายขอบเขต(1)ลูกหนี้ประเภทให้ 12 มีนาคม 2548 หนังสือเวียนที่
พาณิชย์ประกอบธุรกิจ (ไม่รวมIMF) เช่าซื้อหรือให้เช่าแบบลีสซิ่ง และ(2) ฝกส.(11)
รับซื้อหรือรับโอนลูกหนี้ คู่สัญญาที่เป็นนิติบุคคลซึ่งธนาคาร ว.3/2548
เงินกู้ให้ยืม พาณิชย์สามารถรับซื้อหรือรับโอน วันที่ 17 มีนาคม
ลูกหนี้เงินกู้ให้ยืมได้ 2548 และประกาศ
วันที่ 4 มีนาคม
2548
6.แนวนโยบายการดำรง -ธนาคารพาณิชย์ 1.ธนาคารพาณิชย์ต้องประเมินเงิน 1 กรกฎาคม 2548 หนังสือเวียนที่
เงินกองทุนเพื่อรองรับ (ไม่รวม IBFและ กองทุนที่ต้องดำรงเพื่อรองรับความเสี่ยง ธปท.ฝสว.(21)
ความเสี่ยงด้านตลาดที่ ธนาคารพาณิชย์ ด้านตลาดที่เกิดจากการทำธุรกรรมอนุพันธ์ ว.438/2548
เกิดจากการทำธุรกรรม เพื่อรายย่อย) ด้าน Commodity ตั้งแต่งวดสิ้นเดือน วันที่ 2 มีนาคม
อนุพันธ์ด้าน commodity เดือน 2548 และจัดส่งรายงานที่เกี่ยว 2548
ข้องตามหลักเกณฑ์ที่กำหนด
2.ธนาคารพาณิชย์ต้องดำรงเงิน
กองทุนเพื่อรองรับความเสี่ยงด้านตลาดที่
เกิดจากการทำธุรกรรมอนุพันธ์ด้าน
Commodity
7.การขออนุญาตเปิดสาขา -ธนาคารพาณิชย์ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง 25 กุมภาพันธ์ 2548 หนังสือเวียนที่
และสาขาย่ยของธนาคาร ได้ปรับปรุงหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่ ธปท.ฝสว.(21)
พาณิชย์ เกี่ยวข้องกับการเปิดสาขาและสาขาย่อย ว. 552/2548
ดังนี้ วันที่ 22 มีนาคม
1.ยกเลิกหลักเกณฑ์เดิมในเรื่อง
สัดส่วนการกระจายสาขาระหว่างพื้นที่ที่มี
สาขาหนาแน่นกับพื้นที่ที่มีสาขาไม่หนาแน่น
และข้อกำหนดว่าการเปิดสาขาย่อยต้องห่าง
จากสาขาธนาคารพาณิชย์ไม่ต่ำกว่า 500เมตร
2.ในการขออนุญาตเปิดสาขาและสาขา
ย่อย ธนาคารพาณิชย์ต้องมีฐานะการเงินและ
การจัดการอยู่ในระดับที่น่าพอใจ มีระบบธรรมา
ธิบาล และสามารถแสดงให้เห็นว่าการเปิดสาขา
และสาขาย่อยที่ขอนั้นสอดคล้องกับนโยบาย
แผนงานและกลยุทธ์ของธนาคารพาณิชย์
รวมทั้งเป็นประโยชน์ต่อธนาคารพาณิชย์ทั้ง
ในด้านการเงินและการให้บริการ
3.ผ่อนผันเงื่อนไขในการอนุญาตเปิด
สาขาและสาขาย่อย เช่น ธนาคารพาณิชย์ที่
ได้เปิดสาขาในเขตที่มีธนาคารพาณิชย์หนา
แน่นไปแล้วไม่ต้องเปิดสาขาในเขตอำเภอ
รอบนอกที่ยังค้างอยู่หากมีธนาคารพาณิชย์
หรือสถาบันการเงินเฉพาะกิจเปิดให้บริการ
แล้วเป็นต้น
8.การกำหนดสถานการณ์ -ธนาคารพาณิชย์ 1.ธปท.กำหนดสถานการณ์จำลอง 31 มีนาคม 2548 หนังสือเวียนที่
จำลองของ ธปท.เพื่อ (ไม่รวมIBF) เพื่อการจัดทำ Stress Testing รวมทั้ง ธปท.ฝสว.(21)ว.
การทดสอบภาวะวิกฤต -บริษัทเงินทุน กำหนดแบบรายงานที่เกี่ยวข้องสำหรับสถาบัน 557/2548 และ
(Stress Testing) การเงินที่ใช้แบบจำลองในการคำนวณเงินกอง ธปท.ฝสว.(21)ว.
ตามแนวนโยบายการกำ ทุนเพื่อรองรับความเสี่ยงด้านตลาด แต่ไม่ใช้ 558/2548 วันที่
กับดูแลความเสี่ยงด้าน บังคับกับสถาบันการเงินที่ใช้วิธีมาตรฐาน 23 มีนาคม 2548
ตลาดของสถาบันการเงิน 2.กำหนดให้สถาบันการเงินรายงาน
และการปรับปรุงแบบราย ข้อมูลเพิ่มเติมเพื่อการคำนวณอัตราส่วนเงิน
งานการดำรงเงินกองทุน กองทุนต่อสินทรัพย์เสี่ยงรวมด้านเครดิตและ
เพื่อรองรับความเสี่ยง ด้านตลาด
ด้านตลาด
9.หลักเกณฑ์และเงื่อนไข -ธนาคารพาณิชย์ ธปท.ผ่อนผันระยะเวลาการจำหน่าย งวดการบัญชี หนังสือเวียนที่
ในการจำหน่ายอสังหา อสังหาริมทรัพย์สำหรับธนาคารพาณิชย์ ครึ่งหลังของ ฝสว.(21)ว.
ริมทรัพย์ ซึ่งเดิมใช้เป็น ที่ได้ย้าย ระงับ หรือยกเลิกการเปิด หรือ ปี 2548 27/2548
สถานที่สำหรับดำเนิน ปิดสำนักงานสาขา หรือเลิกใช้ประโยชน์ วันที่ 29 มีนาคม
ธุรกิจหรือสำหรับพนัก ในสถานที่สำหรับพนักงานหรือลูกจ้าง 2548
งานและลูกจ้างของธนา ในช่วงเวลาต่างๆ ดังนี้
คารพาณิชย์ 1.ก่อนวันที่ 1 มกราคม 2547 ธปท.
ผ่อนผันเวลาการจำหน่ายอสังหาริมทรัพย์ที่
เลิกใช้ประโยชน์ดังกล่าวให้ถึงสิ้นปี 2549
2.ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2547
เป็นต้นไป ธนาคารพาณิชย์ต้องจำหน่ายหรือ
ยกเลิกการเช่าอสังหาริมทรัพย์ที่ได้รับอนุญาต
ให้ถือครองไว้ภายใน 1 ปี เมื่อครบกำหนดแล้ว
หากไม่สามารถจำหน่ายได้ ธปท.ผ่อนผันเวลา
ให้อีก 2 ปี
ทั้งนี้ในช่วงเวลาของการผ่อนผันธนาคาร
พาณิชย์ต้องกันสำรองในอัตราร้อยละ 25 และ 50
ของมูลค่ายุติธรรมของอสังหาริมทรัพย์นั้นภายในปีที่ 1
และ 2 ตามลำดับ
มาตรการการคลัง ที่มา ประกาศ ณ วันที่ มีผลบังคับใช้ แหล่งข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
1.รัฐวิสาหกิจ มติ ครม. 1 มีนาคม 2548 -
ร่างระเบียบสำนักนายกว่าด้วย
คณะกรรมการกำกับดูแลกิจการไฟฟ้า
พ.ศ.
2.องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
2.1 หลักเกณฑ์การเลื่อนขั้นเงินเดือน มติ ครม. 1 มีนาคม 2548 -
พนักงานส่วนตำบล(อบต.)เป็นกรณี
พิเศษ โดยใช้งบประมาณของ อบต.
นั้นๆ
2.2 ร่าง พรฎ.กำหนดเงินเดือน เงินเพิ่ม มติ ครม. 8 มีนาคม 2548 1 เมษายน 2547
เงินเบี้ยค่าประชุมและเงินตอบแทนอื่น
ของผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
ข้าราชการเมืองอื่นของ กทม.และ
กรรมการที่ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร
แต่งตั้ง(ฉบับที่..)พ.ศ..เพื่อให้สอด
คล้องกับการปรับเงินเดือนของข้าราชการ www.thaigov.go.th
2.3 การยกฐานะสำนักงานคณะกรรมการ มติ ครม. 8 มีนาคม 2548 - เลือก-ข่าวการประชุม ครม.
การกระจายอำนาจให้แก่องค์กรปกครอง -ประมวลข่าว ครม.
ส่วนท้องถิ่นเป็นหน่วยงานระดับกรม -เลือกวันที่ต้องการ
ในสังกัดสำนักนายกรัฐมนตรี และ
การจัดทำและปรับปรุงแก้ไขกฎหมาย
ที่เกี่ยวข้องกับองค์กรปกครองส่วนท้อง
ถิ่นรวม 7 ฉบับ
3.การประมาณการรายได้รัฐบาล
ประมาณการรายได้รัฐบาลในปีงบประมาณ มติ ครม. 1 มีนาคม 2548 -
2548 และปี 2549-2552 คือ ปีงบประมาณ
2548รัฐบาลจะมีรายได้สุทธิ 1.25 ล้านล้าน
บาท สำหรับปีงบประมาณ 2549-2552 จะมี
รายได้ 1.36 1.49 1.63 และ 1.78
ล้านล้านบาท ตามลำดับ โดย Revenue
Buoyancy หรือ อัตราเพิ่มของรายได้รัฐบาล
ต่ออัตราเพิ่มของผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ
ณ ราคาประจำปี (NGDP)อยู่ที่ประมาณ 1.1
มาตรการอื่นๆ ที่มา ประกาศ ณ วันที่ มีผลบังคับใช้ แหล่งข้อมูลทางอินเตอร์เน็ต
การปรับเพิ่มราคาขายปลีกน้ำมันดีเซล มติคณะ 23 มีนาคม 2548 23 มีนาคม 2548 -
หมุนเร็ว กรรมการ
บริหาร
นโยบาย
พลังงาน
5.มาตรการด้านบริการ
5.1 มาตรการและโครงการตามกรอบ มติ ครม. 1 มีนาคม 2548 -
ยุทธศาสตร์การฟื้นฟูอุตสาหกรรม 8 มีนาคม 2548 www.thaigov.go.th
ท่องเที่ยว 6 จังหวัดชายฝั่งทะเล เลือก-ข่าวการประชุม ครม.
อันดามัน -ประมวลข่าว ครม.
5.2 การลงนามในพิธีสารเพื่อให้ข้อเสนอ มติ ครม. 29 มีนาคม 2548 - -เลือกวันที่ต้องการ
ผูกพันการเปิดเสรีด้านการเงินภายใต้
กรอบความตกลงว่าด้วยการค้าบริการ
ของอาเซียนในการเจรจารอบที่ 3
มีผลบังคับใช้
6.มาตรการด้านตลาดทุน
6.1 หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีจัดตั้ง ก.ล.ต. 9 มีนาคม 2548 16 มีนาคม 2548
และจัดการกองทุนรวมเพื่อแก้ไข
ปัญหาในระบบสถาบันการเงิน
(ฉบับที่ 8)
6.2 หลักเกณฑ์ เงื่อนไข และวิธีจัดตั้ง ก.ล.ต. 9 มีนาคม 2548 16 มีนาคม 2548 www.sec.or.th
และจัดกองทุนรวมอสังหาริมทรัพย์ เลือก-กฎหมายและการใช้
และสิทธิเรียกร้อง(ฉบับที่ 4) บังคับ
6.3 การลงทุนในหรือมีไว้ซึ่งหลักทรัพย์ ก.ล.ต. 15 มีนาคม 2548 16 มีนาคม 2548 -กฎหมายและประกาศ
หรือทรัพย์สินในต่างประเทศเพื่อเป็น ที่ออกรายปี
ทรัพย์สินของกองทุน และการกำหนด
อัตราส่วนการลงทุนของกองทุน

เว็บไซต์นี้มีการใช้งานคุกกี้ ศึกษารายละเอียดเพิ่มเติมได้ที่ นโยบายความเป็นส่วนตัว และ ข้อตกลงการใช้บริการ รับทราบ