สุกร
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ในสัปดาห์นี้ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ทรงตัว ความต้องการบริโภคเริ่มมีมากขึ้น เพราะก่อนหน้านี้ มีข่าว การระบาดของโรคไข้หวัดหมูในจีน ทำให้ความต้องการบริโภคลดลงเพราะ ผู้บริโภคบางส่วนหันไปบริโภค สัตว์น้ำตามธรรมชาติ แนวโน้มคาดว่าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 50.6 4 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 50.67 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.06 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 5 0.55 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัม ละ 47.98 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 50.91 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 55.39 บาท ส่วนราคา ลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ตัวละ 1,300 บาท ( บวกลบ 51 บาท ) ราคาทรงตัว เท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 49.50 บาท ของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 2.02 ส่วนราคาขายส่งสุกรชำแหละเฉลี่ยกิโลกรัมละ 57 . 5 0 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 58.50 บาท ของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 1.71
ไก่เนื้อ
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้ในสัปดาห์นี้ ปรับตัวสูงขึ้นเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา แม้ว่ามีข่าวการระบาด ของ โรคไข้หวัดนกอีกครั้ง แนวโน้มคาดว่าราคาจะทรงตัว
อธิบดีกรมปศุสัตว์ ได้รายงานถึงผลการตรวจหาเชื้อไข้หวัดนกจากห้องปฏิบัติการว่า พบเชื้อไข้หวัดนก ในตัวอย่าง สัตว์ปีก 2 จังหวัด คือ จังหวัดกำแพงเพชร 4 จุด และ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 1 จุด รวม 5 จุด ซึ่งมาจากไก่ พื้นเมืองทั้งหมด โดยกรมปศุสัตว์ได้สั่งทำลายสัตว์ปีกในพื้นที่พบโรคทันที และเป็นพื้นที่เฝ้าระวัง 21 วัน และต้อง ควบคุมพื้นที่มีการระบาดซ้ำซากเป็นพิเศษอีก 9 จังหวัด คือ สุพรรณบุรี นครสวรรค์ กำแพงเพชร พิษณุโลก อุตรดิตถ์ อยุธยา นครปฐม ชัยนาท และพิจิตร จะส่งผลกระทบต่อการส่งออกไก่สดแช่แข็ง ต้องเลื่อนพิจารณา การส่งออกไปอีก 90 วัน ในขณะที่ยังมีเกษตรกรที่ลักลอบเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ซึ่งเป็นปัญหาใหญ่ในการแก้ไข ปัญหา โรคไข้หวัดนก
องค์การอาหารและเกษตรของสหประชาชาติ (เอฟเอโอ) ออกมาเตือนว่าไวรัสไข้หวัดนกซึ่งแพร่ระบาด สร้างความ เสียหายในหลายประเทศของเอเชียมาแล้ว อาจจะแพร่ระบาดในยุโรป ตะวันออกกลาง เอเชีย และแอฟริกาใต้ จึงได้เตือนให้หลาย ๆ ประเทศที่อยู่ในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงให้เตรียมแผนการฉุกเฉิน รับมือกับไข้หวัดนกเพราะ สถานที่ที่ได้รับผลกระทบโดยตรงคือฟาร์มสัตว์ปีก แต่การแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดนก ยังอาจะส่งผลที่เป็น อันตรายต่อมนุษย์ด้วย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 38.40 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัม ละ 38.08 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.84 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 43.30 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 37.00 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 35.71 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 39.30 บาท ส่วนราคาลูกไก่เนื้อ ตามประกาศของบริษัท ซี.พี ตัวละ 15.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายในเฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา ส่วนราคาขายส่งไก่ สดกิโลกรัมละ 49.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยเฉพาะภาคกลาง ราคาที่ปรับตัวลดลงเนื่องจากรัฐบาล สนับสนุนให้จัดกิจกรรมสินค้าราคาถูกขึ้น เพื่อเป็นการแบ่งเบาภาระของผู้บริโภค ประกอบกับมีผลไม้ หลายชนิด ออกตามฤดูกาลและมีราคาถูก ทำให้มีการบริโภคไข่ไก่ ลดลง แนวโน้มคาดว่าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ เฉลี่ยร้อยฟองละ 266 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 272 บาทของ สัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.21 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือร้อยฟองละ 276 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 291 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 256 บาท และภาคใต้ ร้อยฟองละ 277 บาท ส่วนราคาลูกไก่ไข่ ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ตัวละ 19 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 250 บาท
ลดลงจากร้อยฟองละ 260 บาทของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.85
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 295 บาท ลดลง จากร้อยฟองละ 297 บาทของ สัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.67 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือร้อยฟองละ 266 บาท ภาคตะวันออกเฉียง เหนือ ร้อยฟองละ 310 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 296 บาท และภาคใต้ร้อย ฟองละ 291 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จาก กรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 386 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
โค
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโค ( ขนาดกลาง ) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 47.28 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ ที่ผ่านมา โดย แยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 45.22 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 52.58 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 48.13 บาท ส่วนภาคกลางกิโลกรัมละ 42.27 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ ( ขนาดกลาง ) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 36.57 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 37.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 35.39 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 47.50 บาท สำหรับ ภาคใต้ไม่มีรายงานราคา
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ประจำวันที่ 29 ส.ค -4 ก.ย.2548--
-พห-
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ในสัปดาห์นี้ราคาสุกรมีชีวิตที่เกษตรกรขายได้ทรงตัว ความต้องการบริโภคเริ่มมีมากขึ้น เพราะก่อนหน้านี้ มีข่าว การระบาดของโรคไข้หวัดหมูในจีน ทำให้ความต้องการบริโภคลดลงเพราะ ผู้บริโภคบางส่วนหันไปบริโภค สัตว์น้ำตามธรรมชาติ แนวโน้มคาดว่าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 50.6 4 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 50.67 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.06 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 5 0.55 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัม ละ 47.98 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 50.91 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 55.39 บาท ส่วนราคา ลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้ตัวละ 1,300 บาท ( บวกลบ 51 บาท ) ราคาทรงตัว เท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 49.50 บาท ของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 2.02 ส่วนราคาขายส่งสุกรชำแหละเฉลี่ยกิโลกรัมละ 57 . 5 0 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 58.50 บาท ของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 1.71
ไก่เนื้อ
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้ในสัปดาห์นี้ ปรับตัวสูงขึ้นเล็กน้อยจากสัปดาห์ที่ผ่านมา แม้ว่ามีข่าวการระบาด ของ โรคไข้หวัดนกอีกครั้ง แนวโน้มคาดว่าราคาจะทรงตัว
อธิบดีกรมปศุสัตว์ ได้รายงานถึงผลการตรวจหาเชื้อไข้หวัดนกจากห้องปฏิบัติการว่า พบเชื้อไข้หวัดนก ในตัวอย่าง สัตว์ปีก 2 จังหวัด คือ จังหวัดกำแพงเพชร 4 จุด และ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา 1 จุด รวม 5 จุด ซึ่งมาจากไก่ พื้นเมืองทั้งหมด โดยกรมปศุสัตว์ได้สั่งทำลายสัตว์ปีกในพื้นที่พบโรคทันที และเป็นพื้นที่เฝ้าระวัง 21 วัน และต้อง ควบคุมพื้นที่มีการระบาดซ้ำซากเป็นพิเศษอีก 9 จังหวัด คือ สุพรรณบุรี นครสวรรค์ กำแพงเพชร พิษณุโลก อุตรดิตถ์ อยุธยา นครปฐม ชัยนาท และพิจิตร จะส่งผลกระทบต่อการส่งออกไก่สดแช่แข็ง ต้องเลื่อนพิจารณา การส่งออกไปอีก 90 วัน ในขณะที่ยังมีเกษตรกรที่ลักลอบเลี้ยงเป็ดไล่ทุ่ง ซึ่งเป็นปัญหาใหญ่ในการแก้ไข ปัญหา โรคไข้หวัดนก
องค์การอาหารและเกษตรของสหประชาชาติ (เอฟเอโอ) ออกมาเตือนว่าไวรัสไข้หวัดนกซึ่งแพร่ระบาด สร้างความ เสียหายในหลายประเทศของเอเชียมาแล้ว อาจจะแพร่ระบาดในยุโรป ตะวันออกกลาง เอเชีย และแอฟริกาใต้ จึงได้เตือนให้หลาย ๆ ประเทศที่อยู่ในพื้นที่ที่มีความเสี่ยงให้เตรียมแผนการฉุกเฉิน รับมือกับไข้หวัดนกเพราะ สถานที่ที่ได้รับผลกระทบโดยตรงคือฟาร์มสัตว์ปีก แต่การแพร่ระบาดของโรคไข้หวัดนก ยังอาจะส่งผลที่เป็น อันตรายต่อมนุษย์ด้วย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 38.40 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัม ละ 38.08 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.84 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 43.30 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 37.00 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 35.71 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 39.30 บาท ส่วนราคาลูกไก่เนื้อ ตามประกาศของบริษัท ซี.พี ตัวละ 15.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายในเฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.50 ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา ส่วนราคาขายส่งไก่ สดกิโลกรัมละ 49.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยเฉพาะภาคกลาง ราคาที่ปรับตัวลดลงเนื่องจากรัฐบาล สนับสนุนให้จัดกิจกรรมสินค้าราคาถูกขึ้น เพื่อเป็นการแบ่งเบาภาระของผู้บริโภค ประกอบกับมีผลไม้ หลายชนิด ออกตามฤดูกาลและมีราคาถูก ทำให้มีการบริโภคไข่ไก่ ลดลง แนวโน้มคาดว่าราคาจะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ เฉลี่ยร้อยฟองละ 266 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 272 บาทของ สัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.21 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือร้อยฟองละ 276 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ร้อยฟองละ 291 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 256 บาท และภาคใต้ ร้อยฟองละ 277 บาท ส่วนราคาลูกไก่ไข่ ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ตัวละ 19 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 250 บาท
ลดลงจากร้อยฟองละ 260 บาทของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.85
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 295 บาท ลดลง จากร้อยฟองละ 297 บาทของ สัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.67 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือร้อยฟองละ 266 บาท ภาคตะวันออกเฉียง เหนือ ร้อยฟองละ 310 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 296 บาท และภาคใต้ร้อย ฟองละ 291 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จาก กรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 386 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
โค
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโค ( ขนาดกลาง ) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 47.28 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ ที่ผ่านมา โดย แยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 45.22 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 52.58 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 48.13 บาท ส่วนภาคกลางกิโลกรัมละ 42.27 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ ( ขนาดกลาง ) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 36.57 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 37.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 35.39 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 47.50 บาท สำหรับ ภาคใต้ไม่มีรายงานราคา
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ประจำวันที่ 29 ส.ค -4 ก.ย.2548--
-พห-