I. ข้อมูลพื้นฐานทั่วไป
- เนื้อที่ (ตารางไมล์) 11,788
- จำนวนประชากร (ล้านคน) 10.0 (1995)
- เมืองหลวง BRUSSELS
- เมืองธุรกิจ BRUSSELS, ANTWERP, LIEGE
- โครงสร้างทางเศรษฐกิจ (%) - อุตสาหกรรม 28.4 - เกษตรกรรม 2.2
- ก่อสร้าง 5.8 - อื่น ๆ 63.6
- อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ 2.6 % (1995)
- อัตราเงินเฟ้อ 1.3 % (1995)
- รายได้เฉลี่ยต่อคน (เหรียญสหรัฐ) 20,901.2 (1993)
- อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา US$1 = 29.6 FRANCS (1995)
- ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ N.A.
- สินค้าส่งออกและนำเข้าที่สำคัญ - ส่งออก เครื่องจักร ผลิตภัณฑ์อาหาร ปศุสัตว์
เคมีภัณฑ์เหล็กและเหล็กกล้า อุปกรณ์การขนส่ง
รถแทรกเตอร์
- นำเข้า เครื่องจักร เชื้อเพลิง เคมีภัณฑ์
ผลิตภัณฑ์อาหาร
- ประเทศคู่ค้าที่สำคัญ - ส่งออก เยอรมนี ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์
อังกฤษ อิตาลี สหรัฐ
- นำเข้า เยอรมนี เนเธอร์แลนด์ ฝรั่งเศส
อังกฤษ อิตาลี สหรัฐ
- ภาษา ฝรั่งเศส เยอรมัน เฟลมมิช ดัช อังกฤษ
- ศาสนา คริสต์นิกายโรมันคาธอลิก นิกายโปรแตสเตนต์
- เวลาแตกต่างจากไทย ช้ากว่า 6 ชั่วโมง
- ผู้นำประเทศ นายกรัฐมนตรี JEAN LUC DEHACNE
II. ความสัมพันธ์ทางการค้ากับประเทศไทย
ภาครัฐบาล
1. สนธิสัญญาทางไมตรีและพาณิชย์ระหว่างไทย-เบลเยี่ยม เมื่อ พ.ศ. 2411
2. ความตกลงพื้นฐานว่าด้วยความร่วมมือระหว่างไทย-สหภาพยุโรป เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2522
โดยมีความร่วมมือและผลประโยชน์ร่วมกันในด้านเศรษฐกิจ วิทยาศาสตร์ และวิชาการ ทั้งนี้ ได้มีการ
ประชุมคณะกรรมาธิการร่วมฯ แล้ว 6 ครั้ง ครั้งสุดท้ายประชุมเมื่อวันที่ 21-22 กุมภาพันธ์ 2537
ณ กรุงบรัสเซลส์
ภาคเอกชน
1. ไม่มีความตกลงทางการค้าระหว่างกัน
III. ภาวะการค้ากับประเทศไทย
1. การส่งออก ในปี 2537 และปี 2538 ไทยส่งออกไปยังเบลเยี่ยมเป็นมูลค่า 16,491.6 ล้านบาท
และ 18,511.9 ล้านบาท ตามลำดับ คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 1.45 และ 1.32 ของมูลค่า
การส่งออกทั้งหมดของประเทศ
2. สินค้าส่งออกที่สำคัญของไทย ได้แก่ อัญมณีและเครื่องประดับ รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ
เสื้อผ้าสำเร็จรูป รองเท้าและชิ้นส่วน ผ้าผืน ยางพารา ด้ายเส้นใยบประดิษฐ์ ผลิตภัณฑ์พลาสติก
กุ้งสด แช่เย็น แช่แข็ง ข้าว
3. การนำเข้า ในปี 2537 และปี 2538 ไทยนำเข้าจากเบลเยี่ยมเป็นมูลค่า 11,672.8 ล้านบาท
และ 15,748.7 ล้านบาท ตามลำดับ คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 0.8 และ 0.9 ของมูลค่า
การนำเข้าทั้งหมดของประเทศ
4. สินค้านำเข้าที่สำคัญของไทย ได้แก่ เครื่องเพชรพลอย อัญมณี เงินแท่งและทองคำ เคมีภัณฑ์
เครื่องจักรใช้ในอุตสาหกรรม เครื่องจักรไฟฟ้า อาวุธ กระสุน วัตถุระเบิดและส่วนประกอบ สินแร่
โลหะอื่น ๆ และเศษโลหะ ผลิตภัณฑ์เวชกรรม เหล็กและเหล็กกล้า เครื่องมือวิทยาศาสตร์การแพทย์
ผลิตภัณฑ์โลหะ
5. ดุลการค้า ในปี 2537 และปี 2538 ไทยได้เปรียบดุลการค้ามูลค่า 4,818.8 ล้านบาท และ
2,763.2 ล้านบาท ตามลำดับ
IV. สินค้าที่ไทยมีลู่ทางขยายการส่งออก-นำเข้า
1. การส่งออก อัญมณีและเครื่องประดับ รถมอเตอร์ไซด์และส่วนประกอบ ผ้าผืน แผ่นดิสแกตต์ เส้นต้าย
กุ้งสดแช่แข็ง
2. การนำเข้า เครื่องประดับต่าง ๆ เคมีภัณฑ์ เครื่องจักรที่ใช้ในอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์เวชกรรมและ
เภสัชกรรม ผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องใช้ไฟฟ้า
--สรุปความสัมพันธ์ทางการค้าและเศรษฐกิจระหว่างไทยกับประเทศต่าง ๆ, สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย--
- เนื้อที่ (ตารางไมล์) 11,788
- จำนวนประชากร (ล้านคน) 10.0 (1995)
- เมืองหลวง BRUSSELS
- เมืองธุรกิจ BRUSSELS, ANTWERP, LIEGE
- โครงสร้างทางเศรษฐกิจ (%) - อุตสาหกรรม 28.4 - เกษตรกรรม 2.2
- ก่อสร้าง 5.8 - อื่น ๆ 63.6
- อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ 2.6 % (1995)
- อัตราเงินเฟ้อ 1.3 % (1995)
- รายได้เฉลี่ยต่อคน (เหรียญสหรัฐ) 20,901.2 (1993)
- อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา US$1 = 29.6 FRANCS (1995)
- ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ N.A.
- สินค้าส่งออกและนำเข้าที่สำคัญ - ส่งออก เครื่องจักร ผลิตภัณฑ์อาหาร ปศุสัตว์
เคมีภัณฑ์เหล็กและเหล็กกล้า อุปกรณ์การขนส่ง
รถแทรกเตอร์
- นำเข้า เครื่องจักร เชื้อเพลิง เคมีภัณฑ์
ผลิตภัณฑ์อาหาร
- ประเทศคู่ค้าที่สำคัญ - ส่งออก เยอรมนี ฝรั่งเศส เนเธอร์แลนด์
อังกฤษ อิตาลี สหรัฐ
- นำเข้า เยอรมนี เนเธอร์แลนด์ ฝรั่งเศส
อังกฤษ อิตาลี สหรัฐ
- ภาษา ฝรั่งเศส เยอรมัน เฟลมมิช ดัช อังกฤษ
- ศาสนา คริสต์นิกายโรมันคาธอลิก นิกายโปรแตสเตนต์
- เวลาแตกต่างจากไทย ช้ากว่า 6 ชั่วโมง
- ผู้นำประเทศ นายกรัฐมนตรี JEAN LUC DEHACNE
II. ความสัมพันธ์ทางการค้ากับประเทศไทย
ภาครัฐบาล
1. สนธิสัญญาทางไมตรีและพาณิชย์ระหว่างไทย-เบลเยี่ยม เมื่อ พ.ศ. 2411
2. ความตกลงพื้นฐานว่าด้วยความร่วมมือระหว่างไทย-สหภาพยุโรป เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2522
โดยมีความร่วมมือและผลประโยชน์ร่วมกันในด้านเศรษฐกิจ วิทยาศาสตร์ และวิชาการ ทั้งนี้ ได้มีการ
ประชุมคณะกรรมาธิการร่วมฯ แล้ว 6 ครั้ง ครั้งสุดท้ายประชุมเมื่อวันที่ 21-22 กุมภาพันธ์ 2537
ณ กรุงบรัสเซลส์
ภาคเอกชน
1. ไม่มีความตกลงทางการค้าระหว่างกัน
III. ภาวะการค้ากับประเทศไทย
1. การส่งออก ในปี 2537 และปี 2538 ไทยส่งออกไปยังเบลเยี่ยมเป็นมูลค่า 16,491.6 ล้านบาท
และ 18,511.9 ล้านบาท ตามลำดับ คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 1.45 และ 1.32 ของมูลค่า
การส่งออกทั้งหมดของประเทศ
2. สินค้าส่งออกที่สำคัญของไทย ได้แก่ อัญมณีและเครื่องประดับ รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ
เสื้อผ้าสำเร็จรูป รองเท้าและชิ้นส่วน ผ้าผืน ยางพารา ด้ายเส้นใยบประดิษฐ์ ผลิตภัณฑ์พลาสติก
กุ้งสด แช่เย็น แช่แข็ง ข้าว
3. การนำเข้า ในปี 2537 และปี 2538 ไทยนำเข้าจากเบลเยี่ยมเป็นมูลค่า 11,672.8 ล้านบาท
และ 15,748.7 ล้านบาท ตามลำดับ คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 0.8 และ 0.9 ของมูลค่า
การนำเข้าทั้งหมดของประเทศ
4. สินค้านำเข้าที่สำคัญของไทย ได้แก่ เครื่องเพชรพลอย อัญมณี เงินแท่งและทองคำ เคมีภัณฑ์
เครื่องจักรใช้ในอุตสาหกรรม เครื่องจักรไฟฟ้า อาวุธ กระสุน วัตถุระเบิดและส่วนประกอบ สินแร่
โลหะอื่น ๆ และเศษโลหะ ผลิตภัณฑ์เวชกรรม เหล็กและเหล็กกล้า เครื่องมือวิทยาศาสตร์การแพทย์
ผลิตภัณฑ์โลหะ
5. ดุลการค้า ในปี 2537 และปี 2538 ไทยได้เปรียบดุลการค้ามูลค่า 4,818.8 ล้านบาท และ
2,763.2 ล้านบาท ตามลำดับ
IV. สินค้าที่ไทยมีลู่ทางขยายการส่งออก-นำเข้า
1. การส่งออก อัญมณีและเครื่องประดับ รถมอเตอร์ไซด์และส่วนประกอบ ผ้าผืน แผ่นดิสแกตต์ เส้นต้าย
กุ้งสดแช่แข็ง
2. การนำเข้า เครื่องประดับต่าง ๆ เคมีภัณฑ์ เครื่องจักรที่ใช้ในอุตสาหกรรม ผลิตภัณฑ์เวชกรรมและ
เภสัชกรรม ผลิตภัณฑ์โลหะ เครื่องใช้ไฟฟ้า
--สรุปความสัมพันธ์ทางการค้าและเศรษฐกิจระหว่างไทยกับประเทศต่าง ๆ, สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย--