I. ข้อมูลพื้นฐานทั่วไป
- เนื้อที่ (ตารางไมล์) 32,374.5
- จำนวนประชากร (ล้านคน) 7.88 (1992)
- เมืองหลวง VIENNA
- เมืองธุรกิจ GRAZ, LINZ, SALZBURG, INNSBRUCK,
KLAGENFURT
- โครงสร้างทางเศรษฐกิจ (%) N.A.
- อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ 2.4 % (1994)
- อัตราเงินเฟ้อ 2.4 % (1995)
- รายได้เฉลี่ยต่อคน (เหรียญสหรัฐ) 21,080.0 (1991)
- อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา US$1 = 11.302 SCHILINGS (1993)
- ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ N.A.
- สินค้าส่งออกและนำเข้าที่สำคัญ - ส่งออก เครื่องจักรและอุปกรณ์ยานพาหนะ
เคมีภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์อาหาร เหล็กและเหล็กกล้า
- นำเข้า เครื่องจักร ปิโตรเลียม น้ำมันหล่อลื่น
เคมีภัณฑ์ ผ้าผืน ผัก-ผลไม้สด
- ประเทศคู่ค้าที่สำคัญ - ส่งออก เยอรมนี อิตาลี สวิตเซอร์แลนด์
ฝรั่งเศส อังกฤษฮังการี
- นำเข้า เยอรมนี อิตาลี ญี่ปุ่น ฝรั่งเศส
สวิตเซอร์แลนด์ สหรัฐ
- ภาษา เยอรมัน
- ศาสนา คริสเตียน
- เวลาแตกต่างจากไทย ช้ากว่า 6 ชั่วโมง
- ผู้นำประเทศ ประธานาธิบดี DR. KURT WALDHEIM
นายกรัฐมนตรี FRANZ VRANJTZKY
II. ความสัมพันธ์ทางการค้ากับประเทศไทย
ภาครัฐบาล
1. ความตกลงทางการค้าลงนามเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2507
2. อนุสัญญาเพื่อการยกเว้นการเก็บภาษี ลงนามเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2528 มีผลใช้บังคับตั้งแต่
วันที่ 1 กรกฎาคม 2529
3. ความตกลงทางการค้าสิ่งทอ ฉบับปัจจุบันมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2535 ถึง
วันที่ 31 ธันวาคม 2537
4. ความตกลงว่าด้วยการส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุน กำลังอยู่ในขั้นตอนการเจรจา
5. จัดตั้งคณะทำงานร่วมทางการค้าระหว่างไทย-ออสเตรีย ขึ้นเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2532 และ
มีการประชุมครั้งแรกเมื่อวันที่ 30 เมษายน - 2 พฤษภาคม 2533 ณ กรุงเทพฯ และครั้งที่สอง
เมื่อวันที่ 3-4 พฤศจิกายน 2537 ณ กรุงเวียนนา
ภาคเอกชน
1. ไม่มีความตกลงทางการค้าระหว่างกัน
III. ภาวะการค้ากับประเทศไทย
1. การส่งออก ในปี 2537 และปี 2538 ไทยส่งออกไปออสเตรียเป็นมูลค่า 2,652.6 ล้านบาท
และ 2,017.8 ล้านบาท ตามลำดับ คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 0.2 และ 0.1 ของมูลค่า
การส่งออกทั้งหมดของประเทศ
2. สินค้าส่งออกที่สำคัญของไทย ได้แก่ เสื้อผ้าสำเร็จรูป หลอดภาพโทรทัศน์สี ยางพารา อัญมณี
และเครื่องประดับ ผลิตภัณฑ์ยาง รองเท้าและชิ้นส่วน เครื่องยกทรง รัดทรงและส่วนประกอบ
อาหารทะเลกระป๋อง เครื่องปรับอากาศ เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ
3. การนำเข้า ในปี 2537 และปี 2538 ไทยนำเข้าจากออสเตรียเป็นมูลค่า 2,662.3 ล้านบาท
และ 2,442.6 ล้านบาท ตามลำดับ คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 0.1 และ 0.1 ของมูลค่าการ
นำเข้าทั้งหมดของประเทศ
4. สินค้านำเข้าที่สำคัญของไทย ได้แก่ เครื่องจักรใช้ในอุตสาหกรม เหล็กและเหล็กกล้า เครื่องจักร
ไฟฟ้า กระดาษและกระดาษแข็ง เครื่องเพชรพลอย ผลิตภัณฑ์โลหะ เคมีภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์นม
ผลิตภัณฑ์-เวชกรรม แก้วและผลิตภัณฑ์
5. ดุลการค้า ในปี 2537 และปี 2538 ไทยเสียเปรียบดุลการค้ามูลค่า 9.6 ล้านบาท และ
424.8 ล้านบาท ตามลำดับ
IV. ปัญหาทางการค้าที่เป็นอุปสรรคต่อการส่งออกของไทย
1. มาตรการภาษี
1.1 โครงสร้างภาษีนำเข้า ทำให้ไทยเสียเปรียบประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรป และ EFTA ถึงแม้
ว่าสินค้าส่วนใหญ่ ไทยจะได้รับสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร (GSP) ก็ตาม
1.2 การคำนวนภาษี Turn-over Tax จากราคา CIF ซึ่งสินค้าไทยจะต้องเสียค่าขนส่งสูง จึง
ทำให้ข้อได้เปรียบด้านราคากับประเทศยุโรปอื่น ๆ มีน้อยมาก หรืออาจเสียเปรียบในกรณีที่ขนส่งทาง
เครื่องบิน
1.3 ภาษีที่เรียกเก็บเพิ่มเติมหรือที่ผลิตด้วยแป้งหรือน้ำตาล ทำให้สินค้าไทยมีต้นทุนสูงขึ้น
2. มาตรการที่มิใช่ภาษี
2.1 ออสเตรียควบคุมหรือจำกัดการนำเข้าสินค้าที่สามารถผลิตได้เพียงพอภายในประเทศ
2.2 มีการกำหนดโควต้าการนำเข้าเสื้อผ้าสำเร็จรูป 1 รายการ (แต่ประเทศไทยไม่เคยใช้
โควต้าหมด)
2.3 มีการกำหนดระเบียบเรื่องป้ายสินค้า (Labelling) และคุณภาพ สุขอนามัยของสินค้าที่
เคร่งครัด ภาษาที่ใช้อธิบายสินค้าต้องใช้ภาษาเยอรมัน
2.4 การขนส่งสินค้าทางเรือ ทำให้ค่าขนส่งสูงและใช้เวลานาน
2.5 ออสเตรียเป็นประเทศที่ไม่ติดทะเล สินค้าจะต้องขนถ่ายทางบกจากรอตเตอร์ดัม ฮัมบูร์ก
หรือท่าเรืออิตาลี ทำให้ค่าขนส่งทางบกสูงมาก
2.6 การขนส่งสินค้าทางเครื่องบินบางครั้งไม่มีระวางขนส่ง และมีอัตราค่าระวางสูง ผู้ส่งออก
ไทยไม่สามารถแข่งขันในด้านราคาสินค้าได้เท่าที่ควร
2.7 การสั่งซื้อน้อย ทำให้มีปัญหาต่อการรวบรวมสินค้าเพื่อส่งมอบ เพราะไม่เต็มตู้คอนเทนเนอร์
อาจทำให้เกิดความไม่สะดวกในด้านนี้
2.8 ความสนใจสินค้าไทยของผู้นำเข้า และการรู้จักสินค้าไทยของผู้บริโภคออสเตรียมีไม่มากนัก
เพราะผู้ส่งออกไทยส่วนมาก ไม่มีรายละเอียดเกี่ยวกับตัวสินค้าที่จะเสนอขาย
2.9 ออสเตรียเป็นตลาดเล็ก และการที่เป็นประเทศเก่า ทำให้ประชาชนภาคภูมิและยึดมั่นในสิ่ง
เก่า ๆ โอกาสจะยอมรับสินค้าแบบต่าง ๆ จึงมีน้อย
2.10 สินค้าส่วนใหญ่ที่ออสเตรียนำเข้า จะเป็นการนำเข้าผ่านประเทศที่สาม เช่น การนำเข้า
จากไทยเป็นการนำเข้าโดยตรงเพียงร้อยละ 40 และร้อยละ 60 เป็นการนำเข้าโดยผ่านประเทศ
ที่สาม โดยเฉพาะผ่านผู้นำเข้าในเยอรมัน
V. สินค้าที่ไทยมีลู่ทางขยายการส่งออก-นำเข้า
1. การส่งออก ข้าว ปลาหมึกแช่เย็น แช่แข็ง ปลาทูนากระป๋อง สับปะรดกระป๋อง นาฬิกาและ
ชิ้นส่วน ปากกาหมึกแห้ง หม้อน้ำรถยนต์ รถจักรยาน หมวก เครื่องคิดเลข หลอดภาพทีวีสี
เครื่องประดับ
2. การนำเข้า เครื่องจักร ผลิตภัณฑ์อาหาร เหล็กและเหล็กกล้า
--สรุปความสัมพันธ์ทางการค้าและเศรษฐกิจระหว่างไทยกับประเทศต่าง ๆ, สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย--
- เนื้อที่ (ตารางไมล์) 32,374.5
- จำนวนประชากร (ล้านคน) 7.88 (1992)
- เมืองหลวง VIENNA
- เมืองธุรกิจ GRAZ, LINZ, SALZBURG, INNSBRUCK,
KLAGENFURT
- โครงสร้างทางเศรษฐกิจ (%) N.A.
- อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ 2.4 % (1994)
- อัตราเงินเฟ้อ 2.4 % (1995)
- รายได้เฉลี่ยต่อคน (เหรียญสหรัฐ) 21,080.0 (1991)
- อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา US$1 = 11.302 SCHILINGS (1993)
- ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ N.A.
- สินค้าส่งออกและนำเข้าที่สำคัญ - ส่งออก เครื่องจักรและอุปกรณ์ยานพาหนะ
เคมีภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์อาหาร เหล็กและเหล็กกล้า
- นำเข้า เครื่องจักร ปิโตรเลียม น้ำมันหล่อลื่น
เคมีภัณฑ์ ผ้าผืน ผัก-ผลไม้สด
- ประเทศคู่ค้าที่สำคัญ - ส่งออก เยอรมนี อิตาลี สวิตเซอร์แลนด์
ฝรั่งเศส อังกฤษฮังการี
- นำเข้า เยอรมนี อิตาลี ญี่ปุ่น ฝรั่งเศส
สวิตเซอร์แลนด์ สหรัฐ
- ภาษา เยอรมัน
- ศาสนา คริสเตียน
- เวลาแตกต่างจากไทย ช้ากว่า 6 ชั่วโมง
- ผู้นำประเทศ ประธานาธิบดี DR. KURT WALDHEIM
นายกรัฐมนตรี FRANZ VRANJTZKY
II. ความสัมพันธ์ทางการค้ากับประเทศไทย
ภาครัฐบาล
1. ความตกลงทางการค้าลงนามเมื่อวันที่ 30 กันยายน 2507
2. อนุสัญญาเพื่อการยกเว้นการเก็บภาษี ลงนามเมื่อวันที่ 8 พฤษภาคม 2528 มีผลใช้บังคับตั้งแต่
วันที่ 1 กรกฎาคม 2529
3. ความตกลงทางการค้าสิ่งทอ ฉบับปัจจุบันมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม 2535 ถึง
วันที่ 31 ธันวาคม 2537
4. ความตกลงว่าด้วยการส่งเสริมและคุ้มครองการลงทุน กำลังอยู่ในขั้นตอนการเจรจา
5. จัดตั้งคณะทำงานร่วมทางการค้าระหว่างไทย-ออสเตรีย ขึ้นเมื่อวันที่ 2 ตุลาคม 2532 และ
มีการประชุมครั้งแรกเมื่อวันที่ 30 เมษายน - 2 พฤษภาคม 2533 ณ กรุงเทพฯ และครั้งที่สอง
เมื่อวันที่ 3-4 พฤศจิกายน 2537 ณ กรุงเวียนนา
ภาคเอกชน
1. ไม่มีความตกลงทางการค้าระหว่างกัน
III. ภาวะการค้ากับประเทศไทย
1. การส่งออก ในปี 2537 และปี 2538 ไทยส่งออกไปออสเตรียเป็นมูลค่า 2,652.6 ล้านบาท
และ 2,017.8 ล้านบาท ตามลำดับ คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 0.2 และ 0.1 ของมูลค่า
การส่งออกทั้งหมดของประเทศ
2. สินค้าส่งออกที่สำคัญของไทย ได้แก่ เสื้อผ้าสำเร็จรูป หลอดภาพโทรทัศน์สี ยางพารา อัญมณี
และเครื่องประดับ ผลิตภัณฑ์ยาง รองเท้าและชิ้นส่วน เครื่องยกทรง รัดทรงและส่วนประกอบ
อาหารทะเลกระป๋อง เครื่องปรับอากาศ เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ
3. การนำเข้า ในปี 2537 และปี 2538 ไทยนำเข้าจากออสเตรียเป็นมูลค่า 2,662.3 ล้านบาท
และ 2,442.6 ล้านบาท ตามลำดับ คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 0.1 และ 0.1 ของมูลค่าการ
นำเข้าทั้งหมดของประเทศ
4. สินค้านำเข้าที่สำคัญของไทย ได้แก่ เครื่องจักรใช้ในอุตสาหกรม เหล็กและเหล็กกล้า เครื่องจักร
ไฟฟ้า กระดาษและกระดาษแข็ง เครื่องเพชรพลอย ผลิตภัณฑ์โลหะ เคมีภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์นม
ผลิตภัณฑ์-เวชกรรม แก้วและผลิตภัณฑ์
5. ดุลการค้า ในปี 2537 และปี 2538 ไทยเสียเปรียบดุลการค้ามูลค่า 9.6 ล้านบาท และ
424.8 ล้านบาท ตามลำดับ
IV. ปัญหาทางการค้าที่เป็นอุปสรรคต่อการส่งออกของไทย
1. มาตรการภาษี
1.1 โครงสร้างภาษีนำเข้า ทำให้ไทยเสียเปรียบประเทศในกลุ่มสหภาพยุโรป และ EFTA ถึงแม้
ว่าสินค้าส่วนใหญ่ ไทยจะได้รับสิทธิพิเศษทางภาษีศุลกากร (GSP) ก็ตาม
1.2 การคำนวนภาษี Turn-over Tax จากราคา CIF ซึ่งสินค้าไทยจะต้องเสียค่าขนส่งสูง จึง
ทำให้ข้อได้เปรียบด้านราคากับประเทศยุโรปอื่น ๆ มีน้อยมาก หรืออาจเสียเปรียบในกรณีที่ขนส่งทาง
เครื่องบิน
1.3 ภาษีที่เรียกเก็บเพิ่มเติมหรือที่ผลิตด้วยแป้งหรือน้ำตาล ทำให้สินค้าไทยมีต้นทุนสูงขึ้น
2. มาตรการที่มิใช่ภาษี
2.1 ออสเตรียควบคุมหรือจำกัดการนำเข้าสินค้าที่สามารถผลิตได้เพียงพอภายในประเทศ
2.2 มีการกำหนดโควต้าการนำเข้าเสื้อผ้าสำเร็จรูป 1 รายการ (แต่ประเทศไทยไม่เคยใช้
โควต้าหมด)
2.3 มีการกำหนดระเบียบเรื่องป้ายสินค้า (Labelling) และคุณภาพ สุขอนามัยของสินค้าที่
เคร่งครัด ภาษาที่ใช้อธิบายสินค้าต้องใช้ภาษาเยอรมัน
2.4 การขนส่งสินค้าทางเรือ ทำให้ค่าขนส่งสูงและใช้เวลานาน
2.5 ออสเตรียเป็นประเทศที่ไม่ติดทะเล สินค้าจะต้องขนถ่ายทางบกจากรอตเตอร์ดัม ฮัมบูร์ก
หรือท่าเรืออิตาลี ทำให้ค่าขนส่งทางบกสูงมาก
2.6 การขนส่งสินค้าทางเครื่องบินบางครั้งไม่มีระวางขนส่ง และมีอัตราค่าระวางสูง ผู้ส่งออก
ไทยไม่สามารถแข่งขันในด้านราคาสินค้าได้เท่าที่ควร
2.7 การสั่งซื้อน้อย ทำให้มีปัญหาต่อการรวบรวมสินค้าเพื่อส่งมอบ เพราะไม่เต็มตู้คอนเทนเนอร์
อาจทำให้เกิดความไม่สะดวกในด้านนี้
2.8 ความสนใจสินค้าไทยของผู้นำเข้า และการรู้จักสินค้าไทยของผู้บริโภคออสเตรียมีไม่มากนัก
เพราะผู้ส่งออกไทยส่วนมาก ไม่มีรายละเอียดเกี่ยวกับตัวสินค้าที่จะเสนอขาย
2.9 ออสเตรียเป็นตลาดเล็ก และการที่เป็นประเทศเก่า ทำให้ประชาชนภาคภูมิและยึดมั่นในสิ่ง
เก่า ๆ โอกาสจะยอมรับสินค้าแบบต่าง ๆ จึงมีน้อย
2.10 สินค้าส่วนใหญ่ที่ออสเตรียนำเข้า จะเป็นการนำเข้าผ่านประเทศที่สาม เช่น การนำเข้า
จากไทยเป็นการนำเข้าโดยตรงเพียงร้อยละ 40 และร้อยละ 60 เป็นการนำเข้าโดยผ่านประเทศ
ที่สาม โดยเฉพาะผ่านผู้นำเข้าในเยอรมัน
V. สินค้าที่ไทยมีลู่ทางขยายการส่งออก-นำเข้า
1. การส่งออก ข้าว ปลาหมึกแช่เย็น แช่แข็ง ปลาทูนากระป๋อง สับปะรดกระป๋อง นาฬิกาและ
ชิ้นส่วน ปากกาหมึกแห้ง หม้อน้ำรถยนต์ รถจักรยาน หมวก เครื่องคิดเลข หลอดภาพทีวีสี
เครื่องประดับ
2. การนำเข้า เครื่องจักร ผลิตภัณฑ์อาหาร เหล็กและเหล็กกล้า
--สรุปความสัมพันธ์ทางการค้าและเศรษฐกิจระหว่างไทยกับประเทศต่าง ๆ, สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย--