1. สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาภายในประเทศ
ไทยวางแผนพัฒนาอุตสาหกรรมยาง
นายเนวิน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ให้สัมภาษณ์ภายหลังการสัมมนายุทธศาสตร์การพัฒนายางพาราไทยว่าเมื่อไทยได้ตัดสินใจลาออกจากสมาชิก INRO แล้ว ซึ่งขณะนี้ยังไม่มีผล ทั้งนี้เนื่องจากสหรัฐอเมริกายังไม่ได้ลงนามรับรองสัตยาบันอย่างเป็นทางการ ในฐานะผู้อุปถัมภ์ตามสนธิสัญญาทางการค้าที่ทำไว้เมื่อ พ.ศ. 2523
ในแผนพัฒนายุทธศาสตร์ยางพาราไทย พ.ศ. 2542 - 2546 จะกำหนดเป้าหมายการผลิตและส่งเสริมรายได้แก่เกษตรกรชาวสวนยางอย่างมีเหตุผล ในแผนระยะสั้นเราจะต้องรักษาประเทศคู่ค้าที่สำคัญ อาทิ ญี่ปุ่น จีน เกาหลีใต้ และขยายการค้าไปสู่ตลาดใหม่ ๆ เช่น ยุโรปตะวันออก และตินอเมริกา ขณะเดียวกันไทยต้องให้การสนับสนุนสมาคมประเทศผู้ผลิตยางธรรมชาติ (ANRPC) อีกทั้งเพิ่มบทบาทในฐานผู้นำการผลิตและส่งออกยางพารา ส่วนแผนระยะปานกลางไทยจะคงพื้นที่ปลูกยางไว้ 12.5 ล้านไร่ และรักษาอัตราเพิ่มผลผลิตไม่ให้เกินร้อยละ 8-10 ต่อปี เพิ่มระดับการผลิตยางแท่งและน้ำยางข้น แต่จะลดการผลิตยางแผ่นรมควันลงให้เหลือร้อยละ 45 ของการผลิตยางทั้งหมดในปี 2546 รวมทั้งการจัดตั้งตลาดซื้อขายยางล่วงหน้าให้เร็วที่สุดเท่าที่เป็นไปได้
สำหรับราคาที่เกษตรกรขายได้สัปดาห์นี้ มีดังนี้
1. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 19.16 บาท สูงขึ้นจาก 18.69 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.47 บาท หรือร้อยละ 2.51
2. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 2 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 18.68 บาท สูงขึ้นจาก 18.26 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.42 บาท หรือร้อยละ 2.30
3. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 18.29 บาท สูงขึ้นจาก 18.00 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.29 บาท หรือร้อยละ 1.61
4. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 4 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 17.63 บาท สูงขึ้นจาก 17.25 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.38 บาท หรือร้อยละ 2.20
5. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 5 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 16.77 บาท สูงขึ้นจาก 16.50 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.27 บาท หรือร้อยละ 1.63
6. ยางแผ่นดิบคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 18.30 บาท สูงขึ้นจาก 18.03 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.27 บาท หรือร้อยละ 1.49
7. ยางก้อนคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.02 บาท สูงขึ้นจาก 7.92 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.10 บาท หรือร้อยละ 1.26
8. เศษยางคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.40 บาท สูงขึ้นจาก 5.31 บาท ของสัปดาห์ที่แล้ว กิโลกรัมละ 0.09 บาท หรือร้อยละ 1.69
9. น้ำยางข้นคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 17.34 บาท สูงขึ้นจาก 17.41 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.07 บาท หรือร้อยละ 0.40
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ซื้อขายล่วงหน้าส่งมอบเดือนเมษายน 2542
ณ ท่าเรือกรุงเทพ
1. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 25.21 บาท ลดลงจาก 25.40 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.19 บาท หรือร้อยละ 0.74
2. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 24.06 บาท ลดลงจาก 24.25 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.19 บาท หรือร้อยละ 0.78
3. น้ำยางข้นราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 19.63 บาท สูงขึ้นจาก 19.50 บาท ของสัปดาห์ที่แล้ว กิโลกรัมละ 0.13 บาท หรือร้อยละ 0.66
ณ ท่าเรือสงขลา
1. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 24.96 บาท ลดลงจาก 25.15 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.19 บาท หรือร้อยละ 0.75
2. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.81 บาท ลดลงจาก 24.00 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.19 บาท หรือร้อยละ 0.79
3. น้ำยางข้นราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 19.38 บาท สูงขึ้นจาก 19.25 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.13 บาท หรือร้อยละ 0.67
2. สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาในตลาดโลก
ไม่มีรายงาน
ความเคลื่อนไหวของราคายางประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาแจ้งสถานการณ์ตลาด
ราคาซื้อขายเฉลี่ยประจำวันของยางแผ่นรมควันชั้น 1 ยางแผ่นรมควันชั้น 3 และยางแท่งชั้น 20 ในตลาดกัวลาลัมเปอร์ ตลาดลอนดอน ตลาดนิวยอร์คและตลาดสิงคโปร์ (DMIP) เฉลี่ยกิโลกรัมละ 169.46 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ (26.30 บาท) ลดลงจาก 174.27 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ (27.06 บาท) ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 4.81 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ หรือร้อยละ 2.76
ราคาซื้อขายเฉลี่ย 5 วัน ของยางแผ่นรมควันชั้น 1 ยางแผ่นรมควันชั้น 3 และยางแท่งชั้น 20 ในตลาดกัวลาลัมเปอร์ ตลาดลอนดอน ตลาดนิวยอร์คและตลาดสิงคโปร์ (DMIP) เฉลี่ยกิโลกรัมละ 171.13 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ (25.56 บาท) ลดลงจาก 172.18 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ (26.74 บาท) ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.05 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ หรือร้อยละ 0.60
ราคาต่างประเทศซื้อขายล่วงหน้า ส่งมอบเดือนเมษายน 2542
ยางแผ่นรมควันชั้น 1
ตลาดสิงคโปร์เสนอซื้อล่วงหน้า เฉลี่ยกิโลกรัมละ 112.50 เซนต์สิงคโปร์ (24.08 บาท) สูงขึ้นจาก 112.06 เซนต์สิงคโปร์ (24.02 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.44 เซนต์สิงคโปร์ หรือร้อยละ 0.39
ตลาดมาเลเซียเสนอซื้อล่วงหน้า เฉลี่ยกิโลกรัมละ 256.75 เซนต์มาเลเซีย (24.75 บาท) สูงขึ้นจาก 256.62 เซนต์มาเลเซีย (24.70 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.13 เซนต์สิงคโปร์ หรือร้อยละ 0.05
ตลาดลอนดอนเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 45.87 เพนนี (27.56 บาท) ลดลงจาก 46.93 เพนนี (28.20 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.06 เพนนี หรือร้อยละ 2.25
ยางแผ่นรมควันชั้น 3
ตลาดสิงคโปร์เสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 64.25 เซนต์สหรัฐฯ (24.00 บาท) ลดลงจาก 64.62 เซนต์สหรัฐฯ (24.10 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.37 เซนต์สหรัฐฯ หรือร้อยละ 0.57
ตลาดมาเลเซียเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 243.12 เซนต์มาเลเซีย (23.43 บาท) สูงขึ้นจาก 241.62 เซนต์มาเลเซีย (23.26 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.50 เซนต์มาเลเซีย หรือร้อยละ 0.62
ตลาดลอนดอนเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 44.87 เพนนี (26.95 บาท) ลดลงจาก 46.18 เพนนี (27.75 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.31 เพนนี หรือร้อยละ 2.83
ตลาดโตเกียวเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 71.95 เยน (21.98 บาท) สูงขึ้นจาก 71.27 เยน (21.84 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.68 เยน หรือร้อยละ 0.95
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 9 ประจำวันที่ 1-7 มี.ค. 2542--
ไทยวางแผนพัฒนาอุตสาหกรรมยาง
นายเนวิน ชิดชอบ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ให้สัมภาษณ์ภายหลังการสัมมนายุทธศาสตร์การพัฒนายางพาราไทยว่าเมื่อไทยได้ตัดสินใจลาออกจากสมาชิก INRO แล้ว ซึ่งขณะนี้ยังไม่มีผล ทั้งนี้เนื่องจากสหรัฐอเมริกายังไม่ได้ลงนามรับรองสัตยาบันอย่างเป็นทางการ ในฐานะผู้อุปถัมภ์ตามสนธิสัญญาทางการค้าที่ทำไว้เมื่อ พ.ศ. 2523
ในแผนพัฒนายุทธศาสตร์ยางพาราไทย พ.ศ. 2542 - 2546 จะกำหนดเป้าหมายการผลิตและส่งเสริมรายได้แก่เกษตรกรชาวสวนยางอย่างมีเหตุผล ในแผนระยะสั้นเราจะต้องรักษาประเทศคู่ค้าที่สำคัญ อาทิ ญี่ปุ่น จีน เกาหลีใต้ และขยายการค้าไปสู่ตลาดใหม่ ๆ เช่น ยุโรปตะวันออก และตินอเมริกา ขณะเดียวกันไทยต้องให้การสนับสนุนสมาคมประเทศผู้ผลิตยางธรรมชาติ (ANRPC) อีกทั้งเพิ่มบทบาทในฐานผู้นำการผลิตและส่งออกยางพารา ส่วนแผนระยะปานกลางไทยจะคงพื้นที่ปลูกยางไว้ 12.5 ล้านไร่ และรักษาอัตราเพิ่มผลผลิตไม่ให้เกินร้อยละ 8-10 ต่อปี เพิ่มระดับการผลิตยางแท่งและน้ำยางข้น แต่จะลดการผลิตยางแผ่นรมควันลงให้เหลือร้อยละ 45 ของการผลิตยางทั้งหมดในปี 2546 รวมทั้งการจัดตั้งตลาดซื้อขายยางล่วงหน้าให้เร็วที่สุดเท่าที่เป็นไปได้
สำหรับราคาที่เกษตรกรขายได้สัปดาห์นี้ มีดังนี้
1. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 19.16 บาท สูงขึ้นจาก 18.69 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.47 บาท หรือร้อยละ 2.51
2. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 2 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 18.68 บาท สูงขึ้นจาก 18.26 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.42 บาท หรือร้อยละ 2.30
3. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 18.29 บาท สูงขึ้นจาก 18.00 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.29 บาท หรือร้อยละ 1.61
4. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 4 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 17.63 บาท สูงขึ้นจาก 17.25 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.38 บาท หรือร้อยละ 2.20
5. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 5 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 16.77 บาท สูงขึ้นจาก 16.50 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.27 บาท หรือร้อยละ 1.63
6. ยางแผ่นดิบคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 18.30 บาท สูงขึ้นจาก 18.03 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.27 บาท หรือร้อยละ 1.49
7. ยางก้อนคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.02 บาท สูงขึ้นจาก 7.92 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.10 บาท หรือร้อยละ 1.26
8. เศษยางคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 5.40 บาท สูงขึ้นจาก 5.31 บาท ของสัปดาห์ที่แล้ว กิโลกรัมละ 0.09 บาท หรือร้อยละ 1.69
9. น้ำยางข้นคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 17.34 บาท สูงขึ้นจาก 17.41 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.07 บาท หรือร้อยละ 0.40
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ซื้อขายล่วงหน้าส่งมอบเดือนเมษายน 2542
ณ ท่าเรือกรุงเทพ
1. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 25.21 บาท ลดลงจาก 25.40 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.19 บาท หรือร้อยละ 0.74
2. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 24.06 บาท ลดลงจาก 24.25 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.19 บาท หรือร้อยละ 0.78
3. น้ำยางข้นราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 19.63 บาท สูงขึ้นจาก 19.50 บาท ของสัปดาห์ที่แล้ว กิโลกรัมละ 0.13 บาท หรือร้อยละ 0.66
ณ ท่าเรือสงขลา
1. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 24.96 บาท ลดลงจาก 25.15 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.19 บาท หรือร้อยละ 0.75
2. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.81 บาท ลดลงจาก 24.00 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.19 บาท หรือร้อยละ 0.79
3. น้ำยางข้นราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 19.38 บาท สูงขึ้นจาก 19.25 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.13 บาท หรือร้อยละ 0.67
2. สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาในตลาดโลก
ไม่มีรายงาน
ความเคลื่อนไหวของราคายางประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาแจ้งสถานการณ์ตลาด
ราคาซื้อขายเฉลี่ยประจำวันของยางแผ่นรมควันชั้น 1 ยางแผ่นรมควันชั้น 3 และยางแท่งชั้น 20 ในตลาดกัวลาลัมเปอร์ ตลาดลอนดอน ตลาดนิวยอร์คและตลาดสิงคโปร์ (DMIP) เฉลี่ยกิโลกรัมละ 169.46 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ (26.30 บาท) ลดลงจาก 174.27 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ (27.06 บาท) ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 4.81 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ หรือร้อยละ 2.76
ราคาซื้อขายเฉลี่ย 5 วัน ของยางแผ่นรมควันชั้น 1 ยางแผ่นรมควันชั้น 3 และยางแท่งชั้น 20 ในตลาดกัวลาลัมเปอร์ ตลาดลอนดอน ตลาดนิวยอร์คและตลาดสิงคโปร์ (DMIP) เฉลี่ยกิโลกรัมละ 171.13 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ (25.56 บาท) ลดลงจาก 172.18 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ (26.74 บาท) ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.05 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ หรือร้อยละ 0.60
ราคาต่างประเทศซื้อขายล่วงหน้า ส่งมอบเดือนเมษายน 2542
ยางแผ่นรมควันชั้น 1
ตลาดสิงคโปร์เสนอซื้อล่วงหน้า เฉลี่ยกิโลกรัมละ 112.50 เซนต์สิงคโปร์ (24.08 บาท) สูงขึ้นจาก 112.06 เซนต์สิงคโปร์ (24.02 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.44 เซนต์สิงคโปร์ หรือร้อยละ 0.39
ตลาดมาเลเซียเสนอซื้อล่วงหน้า เฉลี่ยกิโลกรัมละ 256.75 เซนต์มาเลเซีย (24.75 บาท) สูงขึ้นจาก 256.62 เซนต์มาเลเซีย (24.70 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.13 เซนต์สิงคโปร์ หรือร้อยละ 0.05
ตลาดลอนดอนเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 45.87 เพนนี (27.56 บาท) ลดลงจาก 46.93 เพนนี (28.20 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.06 เพนนี หรือร้อยละ 2.25
ยางแผ่นรมควันชั้น 3
ตลาดสิงคโปร์เสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 64.25 เซนต์สหรัฐฯ (24.00 บาท) ลดลงจาก 64.62 เซนต์สหรัฐฯ (24.10 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.37 เซนต์สหรัฐฯ หรือร้อยละ 0.57
ตลาดมาเลเซียเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 243.12 เซนต์มาเลเซีย (23.43 บาท) สูงขึ้นจาก 241.62 เซนต์มาเลเซีย (23.26 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.50 เซนต์มาเลเซีย หรือร้อยละ 0.62
ตลาดลอนดอนเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 44.87 เพนนี (26.95 บาท) ลดลงจาก 46.18 เพนนี (27.75 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.31 เพนนี หรือร้อยละ 2.83
ตลาดโตเกียวเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 71.95 เยน (21.98 บาท) สูงขึ้นจาก 71.27 เยน (21.84 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.68 เยน หรือร้อยละ 0.95
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 9 ประจำวันที่ 1-7 มี.ค. 2542--