ความต้องการใช้
ความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปและก๊าซแอลพีจี มีปริมาณรวมทั้งสิ้น 3,221 ล้านลิตร
เฉลี่ยวันละ 115 ล้านลิตร ลดลงจากเดือนที่ผ่านมา และเดือนเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 7.4 และ
2.3 ตามลำดับโดย ปตท.มีส่วนแบ่งการตลาดเป็นอันดับหนึ่ง (รวมปริมาณการจัดจำหน่ายน้ำมันเตาให้
กฟผ. 295 ล้านลิตร) รองลงมาได้แก่ เอสโซ่ เชลล์ และ คาลเท็กซ์ ซึ่งมีส่วนแบ่งการตลาดร้อยละ
33.9 16.6 16.0 และ 9.2 ตามลำดับ
การจัดหา
การจัดหาผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป และก๊าซแอลพีจี มีปริมาณทั้งสิ้น 3,672 ล้านลิตร เฉลี่ยวัน
ละ 131 ล้านลิตรลดลงจากเดือนที่ผ่านมาร้อยละ 3.0 แต่เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันของปีก่อนร้อยละ
2.5 โดยการจัดหาดังกล่าวได้มาจากการผลิตภายในประเทศ 3,343 ล้านลิตร และจากการนำเข้า
จากต่างประเทศอีก 328 ล้านลิตร ซึ่งแหล่งนำเข้าส่วนใหญ่มาจากเกาหลีร้อยละ 57.3 รองลงมา
คือจากสิงคโปร์ร้อยละ 37.9 และอื่น ๆ อีกร้อยละะ 4.8
สำหรับน้ำมันดิบนำเข้าจากต่างประเทศมีปริมาณ 2,972 ล้านลิตร (18.7 ล้านบาเรล)
เฉลี่ยวันละ 106 ล้านลิตร มูลค่า 11,234 ล้านบาท โดยเป็นการนำเข้าจากประเทศแถบตะวันออก
กลาง ร้อยละ 77.8 ตะวันออกไกลร้อยละ 18.5 และอื่น ๆ อีกร้อยละ 3.7
ความต้องการใช้
1. ภายในประเทศ ความต้องการใช้น้ำมันสำเร็จรูปและก๊าซแอลพีจีของเดือนนี้มีปริมาณ
รวมทั้งสิ้น 3,221 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 115 ล้านลิตร หรือ 723,519 บาเรลต่อวัน ซึ่งลดลงจาก
เดือนที่ผ่านมาและเดือนเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 7.4 และ 2.3 ตามลำดับ ปริมาณความต้องการ
ใช้ก๊าซแอลพีจีได้รวมปริมาณที่ ปตท.จำหน่ายให้ผู้ประกอบธุรกิจอุตสาหกรรมปิโตรเคมี นำไปใช้เป็น
วัตถุดิบในการผลิตจำนวน 13,646 เมตริกตัน
สำหรับส่วนแบ่งการตลาดของปริมาณการจำหน่ายน้ำมันเชื้อเพลิงจะเห็นได้ว่าปตท.มีส่วน
แบ่งการตลาดเป็นอันดับหนึ่งคือร้อยละ 33.9 (รวมปริมาณการจำหน่ายน้ำมันเตาให้ กฟผ. คิดเป็น
อัตราร้อยละ 46.2 ของปริมาณการจำหน่ายน้ำมันเตารวมทั้งประเทศ) รองลงมา ได้แก่ เอสโซ่
เชลล์ และคาลเท็กซ์ ร้อยละ 16.6 16.0 และ 9.2 ตามลำดับ
2. ส่งออกไปต่างประเทศ การส่งออกไปจำหน่ายต่างประเทศมีปริมาณรวมทั้งสิ้น 608
ล้านลิตร โดยเป็นน้ำมันสำเร็จรูปและก๊าซแอลพีจี 502 ล้านลิตร โดยส่วนใหญ่ส่งไปยังประเทศ
สิงคโปร์ ไต้หวัน และจีน
นอกจากนี้ยังมีการส่งออก ไลท์แนฟธ่า เฮฟวี่แนฟธ่า มิกซ์โซลีน รีฟอร์เมท คอนเดนเสท
โซเวนท์ ไอโซเมอร์เรต และก๊าซโซลีนธรรมชาติไปยังสิงคโปร์ เกาหลี และญี่ปุ่นอีก 106 ล้านลิตร
การจัดหา
ปริมารการจัดหาผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปได้มาจากการผลิตจากโรงกลั่น และ โรงแยกก๊าซฯ
ภายในประเทศร้อยละ 91.1 และจากการนำเข้าอีกร้อยละ 8.9 โดยแยกรายละเอียดดังนี้
1. การผลิต
การผลิตภายในประเทศมีปริมาณ 3,343 ล้านลิตร (รวมปริมาณ MTBE NGL รีฟอร์เมท
ฝางเรสิดิว ไลท์แคทาริคอลรี่แครกก๊าซโซลีน (LCCG) และน้ำมันปนเปื้อนที่นำมาผสมจำนวน 49 ล้าน
ลิตร) เฉลี่ยวันละ 119 ล้านลิตรหรือ 751,007 บาเรลต่อวัน สนองความต้องการใช้ภายในประเทศ
ได้อย่างเพียงพอยกเว้นน้ำมันดีเซลหมุนเร็วซึ่งยังคงต้องพึ่งพาการนำเข้าจากต่างประเทศ โดยปริมาณ
การผลิตลดลงจากเดือนที่ผ่านมา 281 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 7.8 แต่เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันของ
ปีก่อน 781 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 30.5 ผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปที่ผลิตได้ในเดือนนี้แยกเป็น
1.1 จากโรงกลั่น ปริมาณ 3,122 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 111 ล้านลิตร หรือ
701,250 บาเรลต่อวัน ลดลงจากเดือนที่ผ่านมา คิดเป็นร้อยละ 7.5 แต่เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกัน
ของปีก่อน ร้อยละ 33.3
1.2 จากโรงแยกก๊าซฯ ปริมาณ 93,387 เมตริกตัน (173 ล้านลิตร) เฉลี่ยวันละ
3,335 เมตริกตัน (6 ล้านลิตร) ลดลงจากเดือนที่ผ่านมา ร้อยละ 4.6 แต่เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกัน
ของปีก่อนร้อยละ 11.9
2. การนำเข้า
น้ำมันสำเร็จรูป ก๊าซแอลพีจี และน้ำมันดิบที่นำเข้าจากต่างประเทศมีปริมาณรวมทั้งสิ้น
3,300 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 118 ล้านลิตร หรือ 741,401 บาเรลต่อวัน คิดเป็นมูลค่า 12,680
ล้านบาท (ไม่รวมปริมาณนำเข้า MTBE ที่นำเข้ามาจากสิงคโปร์ และซาอุดิอารเบีย 40 ล้านลิตร
มูลค่า 217 ล้านบาท) แยกรายละเอียดได้ดังนี้
2.1 น้ำมันดิบ ปริมาณ 2,972 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 106 ล้านลิตร หรือ 667,612
บาเรลต่อวัน ราคาเฉลี่ย 23.17 เหรียญสหรัฐ/บาเรล มูลค่าการนำเข้า 11,234 ล้านบาท
- ปริมาณและมูลค่าลดลงจากเดือนที่ผ่านมาร้อยละ 12.8 และ 15.7 ตามลำดับ
- ปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 27.1 และ 56.5
ตามลำดับ โดยราคานำเข้าเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 3.85 เหรียญสหรัฐ/บาเรล
ปริมาณและแหล่งนำเข้าน้ำมันดิบ
แหล่งนำเข้า ปริมาณ/ล้านลิตร ราคาเฉลี่ย (เหรียญสหรัฐ/บาเรล) ร้อยละ
ตะวันออกกลาง 2,313 22.79 77.8
ตะวันออกไกล 549 24.74 18.5
อื่น ๆ 110 23.36 3.7
รวม 2,972 23.17 100.0
2.2 น้ำมันสำเร็จรูปและก๊าซแอลพีจี ปริมาณรวมทั้งสิ้น 328 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ
12 ล้านลิตร หรือ 73,789 บาเรลต่อวัน มูลค่า 1,446 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากเดือนที่ผ่านมาร้อยละ
102.0 แต่ลดลงจากเดือนเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 67.8 โดยปริมาณการนำเข้าในเดือนนี้เป็นการ
นำเข้าน้ำมันดีเซลหมุนเร็วถึงร้อยละ 98 ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการนำเข้าของผู้ค้าน้ำมันรายเล็ก
ปริมาณและแหล่งนำเข้าน้ำมันสำเร็จรูปและก๊าซแอลพีจี
แหล่งนำเข้า ปริมาณ(ล้านลิตร) ร้อยละ
เกาหลี 188 37.9
สิงคโปร์ 124 57.3
อื่น ๆ 16 4.8
รวม 328 100.0
ปริมาณความต้องการใช้และการจัดหาน้ำมันเชื้อเพลิง
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2540
1. ความต้องการใช้
ปริมาณรวมทั้งสิ้น 6,701 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 114 ล้านลิตร หรือ 714,349 บาเรล
เพิ่มขึ้นจากปี 2539 ปริมาณ 99 ล้านลิตร หรือวันละ 4 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 1.5
2. การจัดหา
การจัดหาผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปมีปริมาณรวมทั้งสิ้น 7,459 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 126 ล้าน
ลิตร หรือ 795,169 บาเรล เพิ่มขึ้นจากปี 2539 ปริมาณ 604 ล้านลิตร หรือวันละ 12 ล้านลิตร
คิดเป็นร้อยละ 8.8 โดยแยกได้ดังนี้
2.1 การผลิตภายในประเทศ
ได้จากโรงกลั่นและโรงแยกก๊าซฯ 6,968 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 118 ล้านลิตร หรือ
742,818 บาเรล (สามารถสนองความต้องการใช้ภายในประเทศได้ถึงร้อยละ 104.0) เพิ่มขึ้นจาก
ปี 2539 ปริมาณ 1,864 ล้านลิตร หรือวันละ 22 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 36.5
2.2 การนำเข้าจากต่างประเทศ
ปริมาณรวมทั้งสิ้น 491 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 8 ล้านลิตร หรือ 52,351 บาเรล ลดลง
จากปี 2539 ปริมาณ 1,260 หรือวันละ 21 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 72.0
สำหรับน้ำมันดิบมีปริมาณการนำเข้ารวมทั้งสิ้น 6,380 ล้านลิตรเฉลี่ยวันละ 108 ล้านลิตร
หรือ 680,169 บาเรล มูลค่าการนำเข้า 24,560 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2539 ปริมาณ 1,488
ล้านลิตร หรือ ร้อยละ 30.4 โดยนำเข้ามาจากตะวันออกกลาง ร้อยละ 76.0 ตะวันออกไกลร้อยละ
19.8 และอื่น ๆ อีกร้อยละ 4.2
--กองน้ำมันเชื้อเพลิง กรมทะเบียนการค้า--
ความต้องการใช้ผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปและก๊าซแอลพีจี มีปริมาณรวมทั้งสิ้น 3,221 ล้านลิตร
เฉลี่ยวันละ 115 ล้านลิตร ลดลงจากเดือนที่ผ่านมา และเดือนเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 7.4 และ
2.3 ตามลำดับโดย ปตท.มีส่วนแบ่งการตลาดเป็นอันดับหนึ่ง (รวมปริมาณการจัดจำหน่ายน้ำมันเตาให้
กฟผ. 295 ล้านลิตร) รองลงมาได้แก่ เอสโซ่ เชลล์ และ คาลเท็กซ์ ซึ่งมีส่วนแบ่งการตลาดร้อยละ
33.9 16.6 16.0 และ 9.2 ตามลำดับ
การจัดหา
การจัดหาผลิตภัณฑ์สำเร็จรูป และก๊าซแอลพีจี มีปริมาณทั้งสิ้น 3,672 ล้านลิตร เฉลี่ยวัน
ละ 131 ล้านลิตรลดลงจากเดือนที่ผ่านมาร้อยละ 3.0 แต่เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันของปีก่อนร้อยละ
2.5 โดยการจัดหาดังกล่าวได้มาจากการผลิตภายในประเทศ 3,343 ล้านลิตร และจากการนำเข้า
จากต่างประเทศอีก 328 ล้านลิตร ซึ่งแหล่งนำเข้าส่วนใหญ่มาจากเกาหลีร้อยละ 57.3 รองลงมา
คือจากสิงคโปร์ร้อยละ 37.9 และอื่น ๆ อีกร้อยละะ 4.8
สำหรับน้ำมันดิบนำเข้าจากต่างประเทศมีปริมาณ 2,972 ล้านลิตร (18.7 ล้านบาเรล)
เฉลี่ยวันละ 106 ล้านลิตร มูลค่า 11,234 ล้านบาท โดยเป็นการนำเข้าจากประเทศแถบตะวันออก
กลาง ร้อยละ 77.8 ตะวันออกไกลร้อยละ 18.5 และอื่น ๆ อีกร้อยละ 3.7
ความต้องการใช้
1. ภายในประเทศ ความต้องการใช้น้ำมันสำเร็จรูปและก๊าซแอลพีจีของเดือนนี้มีปริมาณ
รวมทั้งสิ้น 3,221 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 115 ล้านลิตร หรือ 723,519 บาเรลต่อวัน ซึ่งลดลงจาก
เดือนที่ผ่านมาและเดือนเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 7.4 และ 2.3 ตามลำดับ ปริมาณความต้องการ
ใช้ก๊าซแอลพีจีได้รวมปริมาณที่ ปตท.จำหน่ายให้ผู้ประกอบธุรกิจอุตสาหกรรมปิโตรเคมี นำไปใช้เป็น
วัตถุดิบในการผลิตจำนวน 13,646 เมตริกตัน
สำหรับส่วนแบ่งการตลาดของปริมาณการจำหน่ายน้ำมันเชื้อเพลิงจะเห็นได้ว่าปตท.มีส่วน
แบ่งการตลาดเป็นอันดับหนึ่งคือร้อยละ 33.9 (รวมปริมาณการจำหน่ายน้ำมันเตาให้ กฟผ. คิดเป็น
อัตราร้อยละ 46.2 ของปริมาณการจำหน่ายน้ำมันเตารวมทั้งประเทศ) รองลงมา ได้แก่ เอสโซ่
เชลล์ และคาลเท็กซ์ ร้อยละ 16.6 16.0 และ 9.2 ตามลำดับ
2. ส่งออกไปต่างประเทศ การส่งออกไปจำหน่ายต่างประเทศมีปริมาณรวมทั้งสิ้น 608
ล้านลิตร โดยเป็นน้ำมันสำเร็จรูปและก๊าซแอลพีจี 502 ล้านลิตร โดยส่วนใหญ่ส่งไปยังประเทศ
สิงคโปร์ ไต้หวัน และจีน
นอกจากนี้ยังมีการส่งออก ไลท์แนฟธ่า เฮฟวี่แนฟธ่า มิกซ์โซลีน รีฟอร์เมท คอนเดนเสท
โซเวนท์ ไอโซเมอร์เรต และก๊าซโซลีนธรรมชาติไปยังสิงคโปร์ เกาหลี และญี่ปุ่นอีก 106 ล้านลิตร
การจัดหา
ปริมารการจัดหาผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปได้มาจากการผลิตจากโรงกลั่น และ โรงแยกก๊าซฯ
ภายในประเทศร้อยละ 91.1 และจากการนำเข้าอีกร้อยละ 8.9 โดยแยกรายละเอียดดังนี้
1. การผลิต
การผลิตภายในประเทศมีปริมาณ 3,343 ล้านลิตร (รวมปริมาณ MTBE NGL รีฟอร์เมท
ฝางเรสิดิว ไลท์แคทาริคอลรี่แครกก๊าซโซลีน (LCCG) และน้ำมันปนเปื้อนที่นำมาผสมจำนวน 49 ล้าน
ลิตร) เฉลี่ยวันละ 119 ล้านลิตรหรือ 751,007 บาเรลต่อวัน สนองความต้องการใช้ภายในประเทศ
ได้อย่างเพียงพอยกเว้นน้ำมันดีเซลหมุนเร็วซึ่งยังคงต้องพึ่งพาการนำเข้าจากต่างประเทศ โดยปริมาณ
การผลิตลดลงจากเดือนที่ผ่านมา 281 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 7.8 แต่เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันของ
ปีก่อน 781 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 30.5 ผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปที่ผลิตได้ในเดือนนี้แยกเป็น
1.1 จากโรงกลั่น ปริมาณ 3,122 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 111 ล้านลิตร หรือ
701,250 บาเรลต่อวัน ลดลงจากเดือนที่ผ่านมา คิดเป็นร้อยละ 7.5 แต่เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกัน
ของปีก่อน ร้อยละ 33.3
1.2 จากโรงแยกก๊าซฯ ปริมาณ 93,387 เมตริกตัน (173 ล้านลิตร) เฉลี่ยวันละ
3,335 เมตริกตัน (6 ล้านลิตร) ลดลงจากเดือนที่ผ่านมา ร้อยละ 4.6 แต่เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกัน
ของปีก่อนร้อยละ 11.9
2. การนำเข้า
น้ำมันสำเร็จรูป ก๊าซแอลพีจี และน้ำมันดิบที่นำเข้าจากต่างประเทศมีปริมาณรวมทั้งสิ้น
3,300 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 118 ล้านลิตร หรือ 741,401 บาเรลต่อวัน คิดเป็นมูลค่า 12,680
ล้านบาท (ไม่รวมปริมาณนำเข้า MTBE ที่นำเข้ามาจากสิงคโปร์ และซาอุดิอารเบีย 40 ล้านลิตร
มูลค่า 217 ล้านบาท) แยกรายละเอียดได้ดังนี้
2.1 น้ำมันดิบ ปริมาณ 2,972 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 106 ล้านลิตร หรือ 667,612
บาเรลต่อวัน ราคาเฉลี่ย 23.17 เหรียญสหรัฐ/บาเรล มูลค่าการนำเข้า 11,234 ล้านบาท
- ปริมาณและมูลค่าลดลงจากเดือนที่ผ่านมาร้อยละ 12.8 และ 15.7 ตามลำดับ
- ปริมาณและมูลค่าเพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 27.1 และ 56.5
ตามลำดับ โดยราคานำเข้าเฉลี่ยเพิ่มขึ้น 3.85 เหรียญสหรัฐ/บาเรล
ปริมาณและแหล่งนำเข้าน้ำมันดิบ
แหล่งนำเข้า ปริมาณ/ล้านลิตร ราคาเฉลี่ย (เหรียญสหรัฐ/บาเรล) ร้อยละ
ตะวันออกกลาง 2,313 22.79 77.8
ตะวันออกไกล 549 24.74 18.5
อื่น ๆ 110 23.36 3.7
รวม 2,972 23.17 100.0
2.2 น้ำมันสำเร็จรูปและก๊าซแอลพีจี ปริมาณรวมทั้งสิ้น 328 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ
12 ล้านลิตร หรือ 73,789 บาเรลต่อวัน มูลค่า 1,446 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากเดือนที่ผ่านมาร้อยละ
102.0 แต่ลดลงจากเดือนเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 67.8 โดยปริมาณการนำเข้าในเดือนนี้เป็นการ
นำเข้าน้ำมันดีเซลหมุนเร็วถึงร้อยละ 98 ซึ่งส่วนใหญ่เป็นการนำเข้าของผู้ค้าน้ำมันรายเล็ก
ปริมาณและแหล่งนำเข้าน้ำมันสำเร็จรูปและก๊าซแอลพีจี
แหล่งนำเข้า ปริมาณ(ล้านลิตร) ร้อยละ
เกาหลี 188 37.9
สิงคโปร์ 124 57.3
อื่น ๆ 16 4.8
รวม 328 100.0
ปริมาณความต้องการใช้และการจัดหาน้ำมันเชื้อเพลิง
มกราคม - กุมภาพันธ์ 2540
1. ความต้องการใช้
ปริมาณรวมทั้งสิ้น 6,701 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 114 ล้านลิตร หรือ 714,349 บาเรล
เพิ่มขึ้นจากปี 2539 ปริมาณ 99 ล้านลิตร หรือวันละ 4 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 1.5
2. การจัดหา
การจัดหาผลิตภัณฑ์สำเร็จรูปมีปริมาณรวมทั้งสิ้น 7,459 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 126 ล้าน
ลิตร หรือ 795,169 บาเรล เพิ่มขึ้นจากปี 2539 ปริมาณ 604 ล้านลิตร หรือวันละ 12 ล้านลิตร
คิดเป็นร้อยละ 8.8 โดยแยกได้ดังนี้
2.1 การผลิตภายในประเทศ
ได้จากโรงกลั่นและโรงแยกก๊าซฯ 6,968 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 118 ล้านลิตร หรือ
742,818 บาเรล (สามารถสนองความต้องการใช้ภายในประเทศได้ถึงร้อยละ 104.0) เพิ่มขึ้นจาก
ปี 2539 ปริมาณ 1,864 ล้านลิตร หรือวันละ 22 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 36.5
2.2 การนำเข้าจากต่างประเทศ
ปริมาณรวมทั้งสิ้น 491 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 8 ล้านลิตร หรือ 52,351 บาเรล ลดลง
จากปี 2539 ปริมาณ 1,260 หรือวันละ 21 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 72.0
สำหรับน้ำมันดิบมีปริมาณการนำเข้ารวมทั้งสิ้น 6,380 ล้านลิตรเฉลี่ยวันละ 108 ล้านลิตร
หรือ 680,169 บาเรล มูลค่าการนำเข้า 24,560 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากปี 2539 ปริมาณ 1,488
ล้านลิตร หรือ ร้อยละ 30.4 โดยนำเข้ามาจากตะวันออกกลาง ร้อยละ 76.0 ตะวันออกไกลร้อยละ
19.8 และอื่น ๆ อีกร้อยละ 4.2
--กองน้ำมันเชื้อเพลิง กรมทะเบียนการค้า--