สุกร
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
สถานการณ์โดยทั่วไปยังไม่แจ่มใสมากนัก เนื่อจากภาวะเศรษฐที่ซบเซาทำให้ความต้องการบริโภคลดลง ราคาสุกรจึงอ่อนตัวลงอย่างต่อเนื่อง ในส่วนของผู้เลี้ยงจึงเร่งนำสุกรออกขายเพราะเกรงว่าราคาจะลดลงมากไปกว่านี้ ทำให้มีปริมาณสุกรเหลือเป็นจำนวนมาก คาดว่าราคามีแนวโน้มที่จะลดลงอีก
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
กิโลกรัมละ 36.81 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 37.48 บาทของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.79 โดยแยก
เป็นรายภาคดังนี้คือ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 37.98 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 34.30
บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 37.29 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 38.46 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตาม
ประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้มีราคาอยู่ที่ตัวละ 600 บาท ลดลงจากตัวละ 700 บาทของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 14.29
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ
40.10 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 41.00 บาทของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.19 ส่วนราคาขายส่งสุกร
ชำแหละในตลาดกรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.50 บาทของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.54
ไก่เนื้อ
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ผลผลิตไก่เนื้อมีปริมาณมาก ทำให้ราคาอ่อนตัวลง แต่ไม่มากนักเนื่องจากในสัปดาห์นี้เพิ่งผ่านพ้นเทศกาลกินเจ ทำให้ความต้องการบริโภคดีขึ้น ภาวะการซื้อขายยังทรงตัวอยู่แต่ราคามีแนวโน้มที่จะลดลงเพราะกำลังซื้อของผู้บริโภคลดลงในขณะที่ผลผลิตมีมากขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 26.52 บาท ลดลงจาก
กิโลกรัมละ 26.58 บาทของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ คือ ภาคเหนือกิโลกรัม
ละ 27.08 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 26.39 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 25.50
บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 26.39 บาท ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี. มีราคาอยู่
ที่ตัวละ 7.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมเศรษฐกิจการพาณิชย์ เฉลี่ยกิโลกรัมละ
27 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ส่วนราคาขายส่งไก่สด เฉลี่ยกิโลกรัมละ 32 บาทราคาทรงตัว
เท่ากับสัปดาห์ก่อน
ไข่
- ไข่ไก่
ราคาไข่ไก่ปรับลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากผลผลิตเริ่มมีมากขึ้น อย่างไรก็ตามคาดว่าหลังเทศกาลออกพรรษาแล้วความต้องการบริโภคจะดีขึ้น และราคาไข่ไก่จะทรงตัวอยู่ในระดับนี้ไปอีกระยะหนึ่งและหลังจากนั้นจะอ่อนตัวลง สำหรับราคาไข่ไก่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. สัปดาห์นี้ปรับลดลงโดยไข่ไก่เบอร์ 1 จากฟองละ 1.81 บาท อยู่ที่ 1.76 บาท เบอร์ 2 จากฟองละ 1.79 บาทอยู่ที่ 1.74 บาท และไข่คละจากฟองละ 1.60 บาทอยู่ที่ 1.55 บาท
นายสัญชัย ชวนชัยรัตน์ นายกสมาคมผู้ผลิต ผู้ค้าและส่งออกไข่ไก่ เปิดเผยว่าทางสมาคมฯ ได้ยื่นหนังสือถึงอธิบดีกรมการค้าภายใน เพื่อขอยืมเงินปลอดดอกเบี้ยจากกองทุนรวมเพื่อช่วยเหลือเกษตรกร จำนวน 60 ล้านบาท มาใช้ซื้อไข่ไก่เก็บเข้าห้องเย็นและจะผลักดันให้มีการส่งออกผลผลิตส่วนเกินที่คาดว่าจะมีประมาณ 20 ล้านฟองไปยังฮ่องกงในช่วงปลายปีนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 162 บาท เพิ่มขึ้นจากร้อยฟองละ
164 บาทของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.22 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 175 บาท
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 164 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 155 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ
177 บาท ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. อยู่ที่ตัวละ 14 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับ
สัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมเศรษฐกิจการพาณิชย์ เฉลี่ยร้อยฟองละ 169
บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 174 บาทของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.87
- ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 193 บาท เพิ่มขึ้นจากร้อยฟองละ 191 บาทของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.05 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ คือ ภาคเหนือร้อยฟองละ 181บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 197 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 190 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 214 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมเศรษฐกิจการพาณิชย์เฉลี่ยร้อยฟองละ 237 บาท
ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
โค
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโค (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 24.83 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 15.33 บาท
ลดลงจากกิโลกรัมละ 15.76 บาทของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.72
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 42 ประจำวันที่ 13 - 19 ต.ค. 2540--
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
สถานการณ์โดยทั่วไปยังไม่แจ่มใสมากนัก เนื่อจากภาวะเศรษฐที่ซบเซาทำให้ความต้องการบริโภคลดลง ราคาสุกรจึงอ่อนตัวลงอย่างต่อเนื่อง ในส่วนของผู้เลี้ยงจึงเร่งนำสุกรออกขายเพราะเกรงว่าราคาจะลดลงมากไปกว่านี้ ทำให้มีปริมาณสุกรเหลือเป็นจำนวนมาก คาดว่าราคามีแนวโน้มที่จะลดลงอีก
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
กิโลกรัมละ 36.81 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 37.48 บาทของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.79 โดยแยก
เป็นรายภาคดังนี้คือ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 37.98 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 34.30
บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 37.29 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 38.46 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตาม
ประกาศของบริษัท ซี.พี. ในสัปดาห์นี้มีราคาอยู่ที่ตัวละ 600 บาท ลดลงจากตัวละ 700 บาทของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 14.29
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ
40.10 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 41.00 บาทของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.19 ส่วนราคาขายส่งสุกร
ชำแหละในตลาดกรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.50 บาทของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.54
ไก่เนื้อ
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ผลผลิตไก่เนื้อมีปริมาณมาก ทำให้ราคาอ่อนตัวลง แต่ไม่มากนักเนื่องจากในสัปดาห์นี้เพิ่งผ่านพ้นเทศกาลกินเจ ทำให้ความต้องการบริโภคดีขึ้น ภาวะการซื้อขายยังทรงตัวอยู่แต่ราคามีแนวโน้มที่จะลดลงเพราะกำลังซื้อของผู้บริโภคลดลงในขณะที่ผลผลิตมีมากขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 26.52 บาท ลดลงจาก
กิโลกรัมละ 26.58 บาทของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.23 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ คือ ภาคเหนือกิโลกรัม
ละ 27.08 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 26.39 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 25.50
บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 26.39 บาท ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี. มีราคาอยู่
ที่ตัวละ 7.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมเศรษฐกิจการพาณิชย์ เฉลี่ยกิโลกรัมละ
27 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ส่วนราคาขายส่งไก่สด เฉลี่ยกิโลกรัมละ 32 บาทราคาทรงตัว
เท่ากับสัปดาห์ก่อน
ไข่
- ไข่ไก่
ราคาไข่ไก่ปรับลดลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เนื่องจากผลผลิตเริ่มมีมากขึ้น อย่างไรก็ตามคาดว่าหลังเทศกาลออกพรรษาแล้วความต้องการบริโภคจะดีขึ้น และราคาไข่ไก่จะทรงตัวอยู่ในระดับนี้ไปอีกระยะหนึ่งและหลังจากนั้นจะอ่อนตัวลง สำหรับราคาไข่ไก่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. สัปดาห์นี้ปรับลดลงโดยไข่ไก่เบอร์ 1 จากฟองละ 1.81 บาท อยู่ที่ 1.76 บาท เบอร์ 2 จากฟองละ 1.79 บาทอยู่ที่ 1.74 บาท และไข่คละจากฟองละ 1.60 บาทอยู่ที่ 1.55 บาท
นายสัญชัย ชวนชัยรัตน์ นายกสมาคมผู้ผลิต ผู้ค้าและส่งออกไข่ไก่ เปิดเผยว่าทางสมาคมฯ ได้ยื่นหนังสือถึงอธิบดีกรมการค้าภายใน เพื่อขอยืมเงินปลอดดอกเบี้ยจากกองทุนรวมเพื่อช่วยเหลือเกษตรกร จำนวน 60 ล้านบาท มาใช้ซื้อไข่ไก่เก็บเข้าห้องเย็นและจะผลักดันให้มีการส่งออกผลผลิตส่วนเกินที่คาดว่าจะมีประมาณ 20 ล้านฟองไปยังฮ่องกงในช่วงปลายปีนี้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 162 บาท เพิ่มขึ้นจากร้อยฟองละ
164 บาทของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.22 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือ ร้อยฟองละ 175 บาท
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 164 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 155 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ
177 บาท ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. อยู่ที่ตัวละ 14 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับ
สัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมเศรษฐกิจการพาณิชย์ เฉลี่ยร้อยฟองละ 169
บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 174 บาทของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.87
- ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 193 บาท เพิ่มขึ้นจากร้อยฟองละ 191 บาทของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.05 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ คือ ภาคเหนือร้อยฟองละ 181บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 197 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 190 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 214 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมเศรษฐกิจการพาณิชย์เฉลี่ยร้อยฟองละ 237 บาท
ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
โค
โคเนื้อ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโค (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 24.83 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 15.33 บาท
ลดลงจากกิโลกรัมละ 15.76 บาทของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.72
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 42 ประจำวันที่ 13 - 19 ต.ค. 2540--