สุกร
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ความต้องการบริโภคโดยรวมยังไม่กระเตื้องขึ้น แม้ว่าจะผ่านพ้นเทศกาลกินเจมาแล้วเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา แต่ในช่วงต่อจากนี้ไปโดยเฉพาะเมื่อผ่านพ้นช่วงปิดเทอมในเดือนนี้ไปแล้วคาดว่าตลาดสุกรจะปรับตัวดีขึ้นตามความต้องการบริโภคที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นและราคาสุกรมีชีวิตจะเข้าสู่สภาวะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 31.12 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 32.72บาทของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.89 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้คือ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 30.07 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 29.82 บาทภาคกลางกิโลกรัมละ 29.23 บาทและภาคใต้กิโลกรัมละ 39.95 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้มีราคาอยู่ที่ตัวละ 600 บาทราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 33.50 บาทราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนส่วนราคาขายส่งสุกรชำแหละ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 42.50 บาทราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ไก่เนื้อ
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ภาวะการค้ายังไม่เปลี่ยนแปลงไปจากสัปดาห์ที่ผ่านมา ในขณะที่การนำลูกไก่เข้าเลี้ยงยังมีปริมาณที่ลดน้อยลงเพราะราคาจำหน่ายไม่จูงใจและตลาดต่างประเทศที่ค่อนข้างซบเซา อย่างไรก็ตามคาดว่าราคามีโอกาสปรับเพิ่มขึ้นในเดือนหน้าซึ่งจะเข้าสู่ช่วงเปิดเทอมของสถานศึกษาต่างๆ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 22.49 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 22.47 บาทของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.09โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้คือ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 21.86 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 25.57 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 19.04 บาทและภาคใต้กิโลกรัมละ 23.79 บาท ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี มีราคาอยู่ที่ตัวละ 3.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 20.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ส่วนราคาขายส่งไก่สดเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ไข่ไก่
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ราคาอ่อนตัวลงอีกเล็กน้อย เพราะความต้องการบริโภคที่ลดลงในช่วงโรงเรียนปิดเทอม ขณะที่ผลผลิตยังทยอยออกสู่ตลาดอย่างต่อเนื่องเพราะสภาพอากาศเอื้ออำนวยให้อัตราการให้ไข่ค่อนข้างดี ส่งผลให้ราคามีแนวโน้มที่จะลดลงอีก ทางด้านความต้องการเลี้ยงเริ่มชลอตัวลงทำให้ราคาลูกไก่ไข่ปรับลดลงด้วย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 164 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 166 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.20โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ คือ ภาคเหนือร้อยฟองละ 161 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 190 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 157บาทและภาคใต้ร้อยฟองละ 172 บาท ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. อยู่ที่ตัวละ 16 บาท ลดลงจากตัวละ 17 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.88
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมเศรษฐกิจการพาณิชย์ เฉลี่ยร้อยฟองละ 166 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 205 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 209 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.91โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ คือ ภาคเหนือร้อยฟองละ 209 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 211 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 198 บาทและภาคใต้ร้อยฟองละ 196 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 247 บาทราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
โค
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโค (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 31.25 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 30.61 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.05
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 22.44 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 22.13 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ1.38
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 41 ประจำสัปดาห์ 18 - 24 ต.ค. 2542--
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ความต้องการบริโภคโดยรวมยังไม่กระเตื้องขึ้น แม้ว่าจะผ่านพ้นเทศกาลกินเจมาแล้วเมื่อสัปดาห์ที่ผ่านมา แต่ในช่วงต่อจากนี้ไปโดยเฉพาะเมื่อผ่านพ้นช่วงปิดเทอมในเดือนนี้ไปแล้วคาดว่าตลาดสุกรจะปรับตัวดีขึ้นตามความต้องการบริโภคที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นและราคาสุกรมีชีวิตจะเข้าสู่สภาวะทรงตัว
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 31.12 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 32.72บาทของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.89 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้คือ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 30.07 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 29.82 บาทภาคกลางกิโลกรัมละ 29.23 บาทและภาคใต้กิโลกรัมละ 39.95 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้มีราคาอยู่ที่ตัวละ 600 บาทราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 33.50 บาทราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อนส่วนราคาขายส่งสุกรชำแหละ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 42.50 บาทราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ไก่เนื้อ
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ภาวะการค้ายังไม่เปลี่ยนแปลงไปจากสัปดาห์ที่ผ่านมา ในขณะที่การนำลูกไก่เข้าเลี้ยงยังมีปริมาณที่ลดน้อยลงเพราะราคาจำหน่ายไม่จูงใจและตลาดต่างประเทศที่ค่อนข้างซบเซา อย่างไรก็ตามคาดว่าราคามีโอกาสปรับเพิ่มขึ้นในเดือนหน้าซึ่งจะเข้าสู่ช่วงเปิดเทอมของสถานศึกษาต่างๆ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 22.49 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 22.47 บาทของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.09โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้คือ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 21.86 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 25.57 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 19.04 บาทและภาคใต้กิโลกรัมละ 23.79 บาท ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี มีราคาอยู่ที่ตัวละ 3.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 20.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ส่วนราคาขายส่งไก่สดเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ไข่ไก่
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ราคาอ่อนตัวลงอีกเล็กน้อย เพราะความต้องการบริโภคที่ลดลงในช่วงโรงเรียนปิดเทอม ขณะที่ผลผลิตยังทยอยออกสู่ตลาดอย่างต่อเนื่องเพราะสภาพอากาศเอื้ออำนวยให้อัตราการให้ไข่ค่อนข้างดี ส่งผลให้ราคามีแนวโน้มที่จะลดลงอีก ทางด้านความต้องการเลี้ยงเริ่มชลอตัวลงทำให้ราคาลูกไก่ไข่ปรับลดลงด้วย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 164 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 166 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.20โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ คือ ภาคเหนือร้อยฟองละ 161 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 190 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 157บาทและภาคใต้ร้อยฟองละ 172 บาท ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. อยู่ที่ตัวละ 16 บาท ลดลงจากตัวละ 17 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.88
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมเศรษฐกิจการพาณิชย์ เฉลี่ยร้อยฟองละ 166 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 205 บาท ลดลงจากร้อยฟองละ 209 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.91โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ คือ ภาคเหนือร้อยฟองละ 209 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 211 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 198 บาทและภาคใต้ร้อยฟองละ 196 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 247 บาทราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
โค
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโค (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 31.25 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 30.61 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.05
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 22.44 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 22.13 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ1.38
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 41 ประจำสัปดาห์ 18 - 24 ต.ค. 2542--