สีย้อมธรรมชาติส่วนใหญ่ได้จากพืช เปลือกไม้ ใบไม้ ลูกไม้ และรากไม้ มีขั้นตอนเพื่อที่จะทำให้ เกิดเป็นสีต่างๆ ได้สวยงาม แปลกตา ซึ่งต่างจากสีวิทยาศาสตร์
สีแดง ได้จาก ดอกคำฝอย รากยอ ครั่ง
สีชมพู " ต้นมหากาฬ และต้นฝาง
สีน้ำเงิน " ต้นคราม
สีฟ้า " ใบคราม
สีเหลือง " แก่นขนุน ขมิ้นชัน แก่นเข รากสะกือ
สีเหลืองไพร " เปลือกกระท้อน
สีดำ " ลูกกระจาย ลูกมะเกลือ
สีดำ-น้ำตาล " ใบจบก
สีน้ำตาลแก่-ดำ " เปลือกกระโดน
สีน้ำตาลแก่-ดำ " เปลือกนุ่น
สีน้ำตาลแก่ " เปลือกไม้โกงกาง
สีน้ำตาล " เปลือกไม้ประดู่ ตะแบก และสนิม เปลือกหมาก
สีน้ำตาลไหม้ " ใบหูกวาง
สีน้ำตาลแก่-กากี " เปลือกมะพร้าวแก่
สีม่วงอ่อน " ลูกหว้า
สีม่วง " มังคุด,ดอกอัญชัญ
สีกากีแกมเขียว " เปลือกเอกากับแก่นขนุน
สีส้ม(แดงเลือดนก) " ลูกตะตี
สีตองอ่อน(กระดังงา)" รากแถลง(มะพูด) ใบตอง
สีเปลือกไม้ " ต้นลกฟ้า หนามกราย ไม้โกงกาง เปลือกตะบูน
สีเทาอ่อน-แก่ " โคลน
สีเขียวอ่อน " เปลือกมะพร้าวอ่อน,ใบมะม่วง หรือใบยูคา
สีเขียว " เปลือกต้นมะริดไม้ ใบหูกวาง เปลือกกระหูด
เปลือกสมอ หรือใบสมอ ใบบวบ
สีเขียวแก่ " ใบขี้เหล็ก
--กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม--
-พห-
สีแดง ได้จาก ดอกคำฝอย รากยอ ครั่ง
สีชมพู " ต้นมหากาฬ และต้นฝาง
สีน้ำเงิน " ต้นคราม
สีฟ้า " ใบคราม
สีเหลือง " แก่นขนุน ขมิ้นชัน แก่นเข รากสะกือ
สีเหลืองไพร " เปลือกกระท้อน
สีดำ " ลูกกระจาย ลูกมะเกลือ
สีดำ-น้ำตาล " ใบจบก
สีน้ำตาลแก่-ดำ " เปลือกกระโดน
สีน้ำตาลแก่-ดำ " เปลือกนุ่น
สีน้ำตาลแก่ " เปลือกไม้โกงกาง
สีน้ำตาล " เปลือกไม้ประดู่ ตะแบก และสนิม เปลือกหมาก
สีน้ำตาลไหม้ " ใบหูกวาง
สีน้ำตาลแก่-กากี " เปลือกมะพร้าวแก่
สีม่วงอ่อน " ลูกหว้า
สีม่วง " มังคุด,ดอกอัญชัญ
สีกากีแกมเขียว " เปลือกเอกากับแก่นขนุน
สีส้ม(แดงเลือดนก) " ลูกตะตี
สีตองอ่อน(กระดังงา)" รากแถลง(มะพูด) ใบตอง
สีเปลือกไม้ " ต้นลกฟ้า หนามกราย ไม้โกงกาง เปลือกตะบูน
สีเทาอ่อน-แก่ " โคลน
สีเขียวอ่อน " เปลือกมะพร้าวอ่อน,ใบมะม่วง หรือใบยูคา
สีเขียว " เปลือกต้นมะริดไม้ ใบหูกวาง เปลือกกระหูด
เปลือกสมอ หรือใบสมอ ใบบวบ
สีเขียวแก่ " ใบขี้เหล็ก
--กรมส่งเสริมอุตสาหกรรม--
-พห-