I. ข้อมูลพื้นฐานทั่วไป
- เนื้อที่ (ตารางไมล์) 35,553
- จำนวนประชากร (ล้านคน) 9.85 (1992)
- เมืองหลวง LISBON
- เมืองธุรกิจ LISBON, BRAGA, AMADORA, BARREIRO
- โครงสร้างทางเศรษฐกิจ (%) - อุตสาหกรรม 39.3 - เกษตรกรรม 9.0
- บริการและอื่น ๆ 51.7
- อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ 2.5 % (1995)
- อัตราเงินเฟ้อ 4.2 % (1995)
- รายได้เฉลี่ยต่อคน (เหรียญสหรัฐ) 8,575.2 (1993)
- อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา US$1 = 151.84 ESCUDOS (1993)
- ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ N.A.
- สินค้าส่งออกและนำเข้าที่สำคัญ - ส่งออก เสื้อผ้าสำเร็จรูป ผ้าผืน รองเท้า
เครื่องจักร เยื่อกระดาษ ผลิตภัณฑ์จากไม้ก๊อก
ผักกระป๋อง ไวน์ ผลิตภัณฑ์จากปลา
- นำเข้า แร่ธาตุ ปิโตรเลียม เครื่องจักรที่ไม่ใช้
ไฟฟ้าและอุปกรณ์ น้ำตาล ข้าวสาลี ข้าวโพด
เคมีภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์โลหะ อุปกรณ์ยานพาหนะ
- ประเทศคู่ค้าที่สำคัญ - ส่งออก เยอรมนี ฝรั่งเศส สเปน อังกฤษ
เนเธอร์แลนด์ สหรัฐ
- นำเข้า สเปน เยอรมนี ฝรั่งเศส อิตาลี
อังกฤษ เนเธอร์แลนด์
- ภาษา โปรตุกิส
- ศาสนา โรมันคาธอลิก
- เวลาแตกต่างจากไทย ช้ากว่า 6 ชั่วโมง
- ผู้นำประเทศ ประธานาธิบดี JORGE FERNANDO BRANCO de SAMPIO
นายกรัฐมนตรี ANTONIO GUTERRES
II. ความสัมพันธ์ทางการค้ากับประเทศไทย
ภาครัฐบาล
1. ความตกลงว่าด้วยความร่วมมือทางวัฒนธรรม ลงนามเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2528 และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่
วันที่ 1 ธันวาคม 2528
2. สนธิสัญญาแลกเปลี่ยนนักโทษ ลงนามเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2528
3. ความตกลงว่าด้วยความร่วมมือด้านการท่องเที่ยว ลงนามเมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2532
4. ความตกลงว่าด้วยความร่วมมือด้านการบิน ลงนามเมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2532
5. ความตกลงว่าด้วยความร่วมมือทางเศรษฐกิจ วิทยาศาสตร์ และวิชาการ ซึ่งฝ่ายไทยเป็นผู้เสนอร่างความ
ตกลงเมื่อปี 2528 (อยู่ในระหว่างการดำเนินการ)
6. ความตกลงเพื่อการยกเว้นการเก็บภาษีซ้อน ฝ่ายไทยเป็นผู้เสนอร่างความตกลง เมื่อปี 2528
(อยู่ในระหว่างการดำเนินการ)
ภาคเอกชน
1. ไม่มีความตกลงทางการค้าระหว่างกัน
III. ภาวะการค้ากับประเทศไทย
1. การส่งออก ในปี 2537 และปี 2538 ไทยส่งออกไปโปรตุเกสเป็นมูลค่า 1,975.0 ล้านบาท และ
1,877.9 ล้านบาท ตามลำดับ คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 0.1 และ 0.1 ของมูลค่าการส่งออก
ทั้งหมดของประเทศ
2. สินค้าส่งออกที่สำคัญของไทย ได้แก่ รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง เครื่องยนต์
สันดาป ด้ายฝ้าย ผลิตภัณฑ์ยาง กุ้งสดแช่เย็น แช่แข็ง รองเท้าและชิ้นส่วน ด้ายเส้นใยประดิษฐ์ ผลไม้
กระป๋องและแปรรูป อัญมณีและเครื่องประดับ
3. การนำเข้า ในปี 2537 และปี 2538 ไทยนำเข้าจากโปรตุเกสเป็นมูลค่า 518.0 ล้านบาท และ
923.3 ล้านบาท ตามลำดับ
4. สินค้านำเข้าที่สำคัญของไทย ได้แก่ เยื่อกระดาษและเศษกระดาษ เครื่องจักรไฟฟ้า สินแร่ โลหะอื่น ๆ
และเศษโลหะ เคมีภัณฑ์ เครื่องจักรใช้ในอุตสาหกรรม เส้นใยใช้ในการทอ ผลิตภัณฑ์ไม้ หนังดิบและหนังฟอก
เสื้อผ้า รองเท้า และผลิตภัณฑ์สิ่งทออื่น ๆ ผัก ผลไม้และของปรุงแต่งที่ทำจากผัก ผลไม้
5. ดุลการค้า ไทยเป็นฝ่ายได้เปรียบดุลการค้ากับโปรตุเกสมาโดยตลอด โดยในปี 2537 และปี 2538
ไทยได้เปรียบดุลการค้ามูลค่า 1,456.9 ล้านบาท และ 954.6 ล้านบาท ตามลำดับ
IV. ปัญหาทางการค้าที่เป็นอุปสรรคต่อการส่งออกของไทย
1. ผู้นำเข้าโปรตุเกสส่วนใหญ่เป็นผู้นำเข้ารายย่อยและมีทำเลที่ตั้งห่างไกล การส่งสินค้าเข้าไปขายใน
โปรตุเกสโดยตรงจึงเป็นไปได้ยาก สินค้าไทยจำนวนหนึ่งที่ส่งออกไปโปรตุเกสจึงผ่านประเทศที่สาม เช่น
เนเธอร์แลนด์ สเปน ฝรั่งเศส และอิตาลี
2. ผู้ส่งออกไทยไม่ค่อยให้ความสำคัญและไม่สนองต่อตลาดโปรตุเกสมากนัก เพราะคิดว่าไม่คุ้มทุน แม้จะมี
โอกาสขยายตลาดสินค้าไทยในโปรตุเกสได้อีกมาก เพราะยังมีความต้องการนำเข้าสินค้าจากต่างประเทศ
จำนวนมาก
3. การติดต่อประสานงานกระทำได้ยาก เนื่องจากขาดกลไกที่จะเร่งรัดให้เกิดความร่วมมือระหว่างกัน
4. ปัญหาด้านภาษา และการขนส่งสินค้า ซึ่งมีระยะทางการขนส่งที่ไกล
5. ขาดข้อมูลข่าวสารด้านการตลาด
V. สินค้าที่ไทยมีลู่ทางขยายการส่งออก-นำเข้า
1. การส่งออก ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง รองเท้าและชิ้นส่วน ผลิตภัณฑ์ยางพารา กุ้งสดแช่เย็นแช่แข็ง
เส้นใยสังเคราะห์
2. การนำเข้า ท่อไฟเบอร์ เครื่องจักรที่ใช้ในอุตสาหกรรม เครื่องแปลงไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์โลหะ
ผลิตภัณฑ์ไม้ ผักและผลไม้
--สรุปความสัมพันธ์ทางการค้าและเศรษฐกิจระหว่างไทยกับประเทศต่าง ๆ, สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย--
- เนื้อที่ (ตารางไมล์) 35,553
- จำนวนประชากร (ล้านคน) 9.85 (1992)
- เมืองหลวง LISBON
- เมืองธุรกิจ LISBON, BRAGA, AMADORA, BARREIRO
- โครงสร้างทางเศรษฐกิจ (%) - อุตสาหกรรม 39.3 - เกษตรกรรม 9.0
- บริการและอื่น ๆ 51.7
- อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ 2.5 % (1995)
- อัตราเงินเฟ้อ 4.2 % (1995)
- รายได้เฉลี่ยต่อคน (เหรียญสหรัฐ) 8,575.2 (1993)
- อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา US$1 = 151.84 ESCUDOS (1993)
- ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ N.A.
- สินค้าส่งออกและนำเข้าที่สำคัญ - ส่งออก เสื้อผ้าสำเร็จรูป ผ้าผืน รองเท้า
เครื่องจักร เยื่อกระดาษ ผลิตภัณฑ์จากไม้ก๊อก
ผักกระป๋อง ไวน์ ผลิตภัณฑ์จากปลา
- นำเข้า แร่ธาตุ ปิโตรเลียม เครื่องจักรที่ไม่ใช้
ไฟฟ้าและอุปกรณ์ น้ำตาล ข้าวสาลี ข้าวโพด
เคมีภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์โลหะ อุปกรณ์ยานพาหนะ
- ประเทศคู่ค้าที่สำคัญ - ส่งออก เยอรมนี ฝรั่งเศส สเปน อังกฤษ
เนเธอร์แลนด์ สหรัฐ
- นำเข้า สเปน เยอรมนี ฝรั่งเศส อิตาลี
อังกฤษ เนเธอร์แลนด์
- ภาษา โปรตุกิส
- ศาสนา โรมันคาธอลิก
- เวลาแตกต่างจากไทย ช้ากว่า 6 ชั่วโมง
- ผู้นำประเทศ ประธานาธิบดี JORGE FERNANDO BRANCO de SAMPIO
นายกรัฐมนตรี ANTONIO GUTERRES
II. ความสัมพันธ์ทางการค้ากับประเทศไทย
ภาครัฐบาล
1. ความตกลงว่าด้วยความร่วมมือทางวัฒนธรรม ลงนามเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2528 และมีผลบังคับใช้ตั้งแต่
วันที่ 1 ธันวาคม 2528
2. สนธิสัญญาแลกเปลี่ยนนักโทษ ลงนามเมื่อวันที่ 1 เมษายน 2528
3. ความตกลงว่าด้วยความร่วมมือด้านการท่องเที่ยว ลงนามเมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2532
4. ความตกลงว่าด้วยความร่วมมือด้านการบิน ลงนามเมื่อวันที่ 9 มีนาคม 2532
5. ความตกลงว่าด้วยความร่วมมือทางเศรษฐกิจ วิทยาศาสตร์ และวิชาการ ซึ่งฝ่ายไทยเป็นผู้เสนอร่างความ
ตกลงเมื่อปี 2528 (อยู่ในระหว่างการดำเนินการ)
6. ความตกลงเพื่อการยกเว้นการเก็บภาษีซ้อน ฝ่ายไทยเป็นผู้เสนอร่างความตกลง เมื่อปี 2528
(อยู่ในระหว่างการดำเนินการ)
ภาคเอกชน
1. ไม่มีความตกลงทางการค้าระหว่างกัน
III. ภาวะการค้ากับประเทศไทย
1. การส่งออก ในปี 2537 และปี 2538 ไทยส่งออกไปโปรตุเกสเป็นมูลค่า 1,975.0 ล้านบาท และ
1,877.9 ล้านบาท ตามลำดับ คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 0.1 และ 0.1 ของมูลค่าการส่งออก
ทั้งหมดของประเทศ
2. สินค้าส่งออกที่สำคัญของไทย ได้แก่ รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง เครื่องยนต์
สันดาป ด้ายฝ้าย ผลิตภัณฑ์ยาง กุ้งสดแช่เย็น แช่แข็ง รองเท้าและชิ้นส่วน ด้ายเส้นใยประดิษฐ์ ผลไม้
กระป๋องและแปรรูป อัญมณีและเครื่องประดับ
3. การนำเข้า ในปี 2537 และปี 2538 ไทยนำเข้าจากโปรตุเกสเป็นมูลค่า 518.0 ล้านบาท และ
923.3 ล้านบาท ตามลำดับ
4. สินค้านำเข้าที่สำคัญของไทย ได้แก่ เยื่อกระดาษและเศษกระดาษ เครื่องจักรไฟฟ้า สินแร่ โลหะอื่น ๆ
และเศษโลหะ เคมีภัณฑ์ เครื่องจักรใช้ในอุตสาหกรรม เส้นใยใช้ในการทอ ผลิตภัณฑ์ไม้ หนังดิบและหนังฟอก
เสื้อผ้า รองเท้า และผลิตภัณฑ์สิ่งทออื่น ๆ ผัก ผลไม้และของปรุงแต่งที่ทำจากผัก ผลไม้
5. ดุลการค้า ไทยเป็นฝ่ายได้เปรียบดุลการค้ากับโปรตุเกสมาโดยตลอด โดยในปี 2537 และปี 2538
ไทยได้เปรียบดุลการค้ามูลค่า 1,456.9 ล้านบาท และ 954.6 ล้านบาท ตามลำดับ
IV. ปัญหาทางการค้าที่เป็นอุปสรรคต่อการส่งออกของไทย
1. ผู้นำเข้าโปรตุเกสส่วนใหญ่เป็นผู้นำเข้ารายย่อยและมีทำเลที่ตั้งห่างไกล การส่งสินค้าเข้าไปขายใน
โปรตุเกสโดยตรงจึงเป็นไปได้ยาก สินค้าไทยจำนวนหนึ่งที่ส่งออกไปโปรตุเกสจึงผ่านประเทศที่สาม เช่น
เนเธอร์แลนด์ สเปน ฝรั่งเศส และอิตาลี
2. ผู้ส่งออกไทยไม่ค่อยให้ความสำคัญและไม่สนองต่อตลาดโปรตุเกสมากนัก เพราะคิดว่าไม่คุ้มทุน แม้จะมี
โอกาสขยายตลาดสินค้าไทยในโปรตุเกสได้อีกมาก เพราะยังมีความต้องการนำเข้าสินค้าจากต่างประเทศ
จำนวนมาก
3. การติดต่อประสานงานกระทำได้ยาก เนื่องจากขาดกลไกที่จะเร่งรัดให้เกิดความร่วมมือระหว่างกัน
4. ปัญหาด้านภาษา และการขนส่งสินค้า ซึ่งมีระยะทางการขนส่งที่ไกล
5. ขาดข้อมูลข่าวสารด้านการตลาด
V. สินค้าที่ไทยมีลู่ทางขยายการส่งออก-นำเข้า
1. การส่งออก ผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง รองเท้าและชิ้นส่วน ผลิตภัณฑ์ยางพารา กุ้งสดแช่เย็นแช่แข็ง
เส้นใยสังเคราะห์
2. การนำเข้า ท่อไฟเบอร์ เครื่องจักรที่ใช้ในอุตสาหกรรม เครื่องแปลงไฟฟ้า ผลิตภัณฑ์โลหะ
ผลิตภัณฑ์ไม้ ผักและผลไม้
--สรุปความสัมพันธ์ทางการค้าและเศรษฐกิจระหว่างไทยกับประเทศต่าง ๆ, สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย--