I. ข้อมูลพื้นฐานทั่วไป
- เนื้อที่ (ตารางไมล์) 496,225
- จำนวนประชากร (ล้านคน) 22.5 (1992)
- เมืองหลวง LIMA
- เมืองธุรกิจ LIMA
- โครงสร้างทางเศรษฐกิจ (%) - อุตสาหกรรม 31.5
- เกตรและประมง 15.5
- บริการและอื่น ๆ 53.0
- อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ N.A.
- อัตราเงินเฟ้อ 3,399.0 % (1990)
- รายได้เฉลี่ยต่อคน (เหรียญสหรัฐ) 1,470.0 (1992)
- อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา US$1 = 0.5102 NEW SOLES (1993)
- ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ N.A.
- สินค้าส่งออกและนำเข้าที่สำคัญ - ส่งออก กาแฟ ทองแดง ตะกั่ว ปิโตรเลียม
เงิน สังกะสี
- นำเข้า เครื่องจักรอุตสาหกรรม เคมีภัณฑ์
เหล็กและเหล็กกล้า แร่และเชื้อเพลิง ข้าวสาลี
เครื่องจักรไฟฟ้า
- ประเทศคู่ค้าที่สำคัญ - ส่งออก สหรัฐ ญี่ปุ่น จีน เยอรมนี อิตาลี
อังกฤษ บราซิล
- นำเข้า สหรัฐ ญี่ปุ่น อาร์เจนตินา บราซิล
อิตาลี อังกฤษ
- ภาษา สเปนิช Quecha
- ศาสนา คริสต์นิกายโรมันคาธอลิค
- เวลาแตกต่างจากไทย ช้ากว่า 12 ชั่วโมง
- ผู้นำประเทศ ประธานาธิบดี ALBERTO KENYO FUJIMORI
II. ความสัมพันธ์ทางการค้ากับประเทศไทย
ภาครัฐบาล
1. บันทึกความเข้าใจระหว่างสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติของไทยและเปรู
เพื่อความร่วมมือระหว่างกัน
2. ความตกลงระหว่างธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทยกับสถาบันการเงินในการ
พัฒนาเศรษฐกิจของเปรูที่จะให้สินเชื่อระยะยาวและระยะสั้นสำหรับการนำเข้าสินค้าจากไทย
ภาคเอกชน
1. ความตกลงเพื่อจัดตั้งสภานักธุรกิจ (Business Council) ระหว่างสภาหอการค้าแห่งประเทศ
ไทยกับสหพันธ์สถาบันภาคเอกชนเปรู
III. ภาวะการค้ากับประเทศไทย
1. การส่งออก ในปี 2537 และปี 2538 ไทยส่งออกไปเปรูเป็นมูลค่า 404.2 ล้านบาท และ 534.2
ล้านบาท ตามลำดับ
2. สินค้าส่งออกที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว ลำโพงขยายเสียงและส่วนประกอบ ผลิตภัณฑ์ยาง เครื่องรับวิทยุ
โทรทัศน์ และส่วนประกอบ เคมีภัณฑ์ รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เครื่องปรับอากาศ ผลไม้กระป๋อง
และแปรรูป ยางพารา
3. การนำเข้า ในปี 2537 และปี 2538 ไทยนำเข้าจากเปรูเป็นมูลค่า 364.4 ล้านบาท และ 416.2
ล้านบาทตามลำดับ
4. สินค้านำเข้าที่สำคัญ ได้แก่ ปลาป่นและสัตว์อื่น ๆ ป่น สินแร่ โลหะอื่น ๆ และเศษโลหะ ผลิตภัณฑ์โลหะ
ไขมันและน้ำมันสัตว์ เครื่องจักรใช้ในอุตสาหกรรม เคมีภัณฑ์ ผ้าผืน ผัก ผลไม้และของ ด้ายทอผ้า
5. ดุลการค้า ในปี 2537 และปี 2538 ไทยได้เปรียบดุลการค้ามูลค่า 39.8 ล้านบาท และ 118.0
ล้านบาท ตามลำดับ
IV. ปัญหาทางการค้าที่เป็นอุปสรรคต่อการส่งออกของไทย
1. เปรูใช้ภาษาสเปนเป็นภาษาราชการ จึงเป็นอุปสรรคในการเจรจาการค้าระหว่างกัน
2. ระยะทางระหว่างไทยกับเปรูอยู่ห่างไกลกันมาก ทำให้เสียค่าใช้จ่ายในการขนส่งสูง
4. เปรูประสบปัญหาเงินเฟ้อและหนี้สินต่างประเทศสูง ทำให้เป็นอุปสรรคต่อการทำการค้าระหว่างกัน
V. สินค้าที่ไทยมีลู่ทางขยายการส่งออก-นำเข้า
1. การส่งออก ข้าว เสื้อผ้าสำเร็จรูป สิ่งทอ ผลิตภัณฑ์พลาสติก ด้ายและเส้นใยประดิษฐ์ ยางพารา
อุปกรณ์และเครื่องใช้ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ เครื่องกีฬาและเครื่องเล่นเกม เครื่องใช้ไฟฟ้า
เตาอบไมโครเวฟ
2. การนำเข้า ปลาป่น ผลิตภัณฑ์โลหะ สินแร่ โลหะ และเศษโลหะ เครื่องเพชรพลอย อัญมณี
เงินแท่ง ทองคำ เครื่องจักรใช้ในอุตสาหกรรม ผลิตผลทางการเกษตร
--สรุปความสัมพันธ์ทางการค้าและเศรษฐกิจระหว่างไทยกับประเทศต่าง ๆ, สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย--
- เนื้อที่ (ตารางไมล์) 496,225
- จำนวนประชากร (ล้านคน) 22.5 (1992)
- เมืองหลวง LIMA
- เมืองธุรกิจ LIMA
- โครงสร้างทางเศรษฐกิจ (%) - อุตสาหกรรม 31.5
- เกตรและประมง 15.5
- บริการและอื่น ๆ 53.0
- อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ N.A.
- อัตราเงินเฟ้อ 3,399.0 % (1990)
- รายได้เฉลี่ยต่อคน (เหรียญสหรัฐ) 1,470.0 (1992)
- อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา US$1 = 0.5102 NEW SOLES (1993)
- ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ N.A.
- สินค้าส่งออกและนำเข้าที่สำคัญ - ส่งออก กาแฟ ทองแดง ตะกั่ว ปิโตรเลียม
เงิน สังกะสี
- นำเข้า เครื่องจักรอุตสาหกรรม เคมีภัณฑ์
เหล็กและเหล็กกล้า แร่และเชื้อเพลิง ข้าวสาลี
เครื่องจักรไฟฟ้า
- ประเทศคู่ค้าที่สำคัญ - ส่งออก สหรัฐ ญี่ปุ่น จีน เยอรมนี อิตาลี
อังกฤษ บราซิล
- นำเข้า สหรัฐ ญี่ปุ่น อาร์เจนตินา บราซิล
อิตาลี อังกฤษ
- ภาษา สเปนิช Quecha
- ศาสนา คริสต์นิกายโรมันคาธอลิค
- เวลาแตกต่างจากไทย ช้ากว่า 12 ชั่วโมง
- ผู้นำประเทศ ประธานาธิบดี ALBERTO KENYO FUJIMORI
II. ความสัมพันธ์ทางการค้ากับประเทศไทย
ภาครัฐบาล
1. บันทึกความเข้าใจระหว่างสำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติของไทยและเปรู
เพื่อความร่วมมือระหว่างกัน
2. ความตกลงระหว่างธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทยกับสถาบันการเงินในการ
พัฒนาเศรษฐกิจของเปรูที่จะให้สินเชื่อระยะยาวและระยะสั้นสำหรับการนำเข้าสินค้าจากไทย
ภาคเอกชน
1. ความตกลงเพื่อจัดตั้งสภานักธุรกิจ (Business Council) ระหว่างสภาหอการค้าแห่งประเทศ
ไทยกับสหพันธ์สถาบันภาคเอกชนเปรู
III. ภาวะการค้ากับประเทศไทย
1. การส่งออก ในปี 2537 และปี 2538 ไทยส่งออกไปเปรูเป็นมูลค่า 404.2 ล้านบาท และ 534.2
ล้านบาท ตามลำดับ
2. สินค้าส่งออกที่สำคัญ ได้แก่ ข้าว ลำโพงขยายเสียงและส่วนประกอบ ผลิตภัณฑ์ยาง เครื่องรับวิทยุ
โทรทัศน์ และส่วนประกอบ เคมีภัณฑ์ รถยนต์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ เครื่องปรับอากาศ ผลไม้กระป๋อง
และแปรรูป ยางพารา
3. การนำเข้า ในปี 2537 และปี 2538 ไทยนำเข้าจากเปรูเป็นมูลค่า 364.4 ล้านบาท และ 416.2
ล้านบาทตามลำดับ
4. สินค้านำเข้าที่สำคัญ ได้แก่ ปลาป่นและสัตว์อื่น ๆ ป่น สินแร่ โลหะอื่น ๆ และเศษโลหะ ผลิตภัณฑ์โลหะ
ไขมันและน้ำมันสัตว์ เครื่องจักรใช้ในอุตสาหกรรม เคมีภัณฑ์ ผ้าผืน ผัก ผลไม้และของ ด้ายทอผ้า
5. ดุลการค้า ในปี 2537 และปี 2538 ไทยได้เปรียบดุลการค้ามูลค่า 39.8 ล้านบาท และ 118.0
ล้านบาท ตามลำดับ
IV. ปัญหาทางการค้าที่เป็นอุปสรรคต่อการส่งออกของไทย
1. เปรูใช้ภาษาสเปนเป็นภาษาราชการ จึงเป็นอุปสรรคในการเจรจาการค้าระหว่างกัน
2. ระยะทางระหว่างไทยกับเปรูอยู่ห่างไกลกันมาก ทำให้เสียค่าใช้จ่ายในการขนส่งสูง
4. เปรูประสบปัญหาเงินเฟ้อและหนี้สินต่างประเทศสูง ทำให้เป็นอุปสรรคต่อการทำการค้าระหว่างกัน
V. สินค้าที่ไทยมีลู่ทางขยายการส่งออก-นำเข้า
1. การส่งออก ข้าว เสื้อผ้าสำเร็จรูป สิ่งทอ ผลิตภัณฑ์พลาสติก ด้ายและเส้นใยประดิษฐ์ ยางพารา
อุปกรณ์และเครื่องใช้ทางวิทยาศาสตร์การแพทย์ เครื่องกีฬาและเครื่องเล่นเกม เครื่องใช้ไฟฟ้า
เตาอบไมโครเวฟ
2. การนำเข้า ปลาป่น ผลิตภัณฑ์โลหะ สินแร่ โลหะ และเศษโลหะ เครื่องเพชรพลอย อัญมณี
เงินแท่ง ทองคำ เครื่องจักรใช้ในอุตสาหกรรม ผลิตผลทางการเกษตร
--สรุปความสัมพันธ์ทางการค้าและเศรษฐกิจระหว่างไทยกับประเทศต่าง ๆ, สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย--