I. ข้อมูลพื้นฐานทั่วไป
- เนื้อที่ (ตารางไมล์) 103,415
- จำนวนประชากร (ล้านคน) 3.46 (1993)
- เมืองหลวง เวลลิงตัน
- เมืองธุรกิจ AUCKLAND, CHRISTCHURCH, HAMILTION,
DUNEDIN
- โครงสร้างทางเศรษฐกิจ (%) N.A.
- อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ 3.0 % (1993)
- อัตราเงินเฟ้อ 1.8 % (1994)
- รายได้เฉลี่ยต่อคน (เหรียญสหรัฐ) 10,650 (1992)
- อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา US$1 = 1.8419 NZ$ (1993)
- ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ เหล็ก ถ่านหิน
- สินค้าส่งออกและนำเข้าที่สำคัญ - ส่งออก เนื้อและผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์นมเนย
ไม้และกระดาษ โลหะและผลิตภัณฑ์ ผักและผลไม้
อาหารทะเลสดแช่เย็น ขนสัตว์และพรม เคมีภัณฑ์
- นำเข้า เครื่องจักรกลและอุปกรณ์ขนส่ง เคมีภัณฑ์
โลหะและผลิตภัณฑ์ เสื้อผ้าสำเร็จรูป สิ่งทอ
ไม้และกระดาษ ผักและผลไม้ เนื้อและผลิตภัณฑ์
หนังสัตว์ ปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์
- ประเทศคู่ค้าที่สำคัญ - ส่งออก ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น สหรัฐ สหราชอาราจักร
เกาหลีมาเลเซีย ไต้หวัน เยอรมนี ฮ่องกง สิงคโปร์
- นำเข้า ออสเตรเลีย สหรัฐ ญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร
เยอรมนี ซาอุดิอาระเบีย ไต้หวัน สิงคโปร์ อิตาลี จีน
- ภาษา อังกฤษ (ใช้ในราชการ) เมารี
- ศาสนา คริสเตียน
- เวลาแตกต่างจากไทย เร็วกว่า 5 ชั่วโมง
- ผู้นำประเทศ นายกรัฐมนตรี JAMES B. BOLGER
II. ความสัมพันธ์ทางการค้ากับประเทศไทย
ภาครัฐบาล
1. ความตกลงทางการค้า ลงนามเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2523
ภาคเอกชน
1. จัดตั้งสภาธุรกิจไทย-นิวซีแลนด์ เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2537
III. ภาวะการค้ากับประเทศไทย
1. การส่งออก ในปี 2537 และปี 2538 ไทยส่งออกไปนิวซีแลนด์เป็นมูลค่า 1,812.9 ล้านบาท
และ 2,310.4 ล้านบาท ตามลำดับ คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 0.1 และ 0.1 ของมูลค่า
การส่งออกทั้งหมดของประเทศ
2. สินค้าส่งออกที่สำคัญ ได้แก่ อาหารทะเลกระป๋อง ผลิตภัณฑ์พลาสติก เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์
และส่วนประกอบ กุ้งสดแช่เย็น แช่แข็ง ผลไม้กระป๋องและแปรรูป เคมีภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์เหล็กและ
เหล็กกล้า ผลิตภัณฑ์ยาง เสื้อผ้าสำเร็จรูป
3. การนำเข้า ในปี 2537 และปี 2538 ไทยนำเข้าจากนิวซีแลนด์เป็นมูลค่า 3,920.6 ล้านบาท
และ 5,077.2 ล้านบาท ตามลำดับ คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 0.2 และ 0.2 ของมูลค่า
การนำเข้าทั้งหมดของประเทศ
4. สินค้านำเข้าที่สำคัญ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์นม เยื่อกระดาษและเศษกระดาษ สินแร่ โลหะอื่น ๆ และ
เศษโลหะ ธัญพืชและธัญพืชสำเร็จรูป เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ ปลาทูนาสด แช่เย็น แช่แข็ง
ไม้ซุง ไม้แปรรูป และไม้อื่น ๆ เส้นใยใช้ในการทอ ผัก ผลไม้และของปรุงแต่งที่ทำจากผัก ผลไม้
ผลิตภัณฑ์-หนัง
5. ดุลการค้า ในปี 2537 และปี 2538 ไทยเสียเปรียบดุลการค้ามูลค่า 2,107.6 ล้านบาท
และ 2,766.7 ล้านบาท ตามลำดับ
IV. ปัญหาทางการค้าที่เป็นอุปสรรคต่อการส่งออกของไทย
1. นิวซีแลนด์ไม่อนุญาตให้นำเข้าผักและผลไม้จากกลุ่มอาเซียน รวมทั้งไทย จะอนุญาตให้นำเข้าได้จาก
ออสเตรเลียและประเทศในหมู่เกาะแปซิฟิกเท่านั้น เพราะเกรงเรื่องโรคพืชและแมลง
2. นิวซีแลนด์มีการตรวจสอบมาตรฐานด้านสุขอนามัยอย่างเข้มงวดมาก สินค้าที่ไทยได้รับผลกระทบ
ได้แก่
- ดอกไม้ กล้วยไม้ - ถั่วแห้ง
- มะพร้าว - เมล็ดมะม่วงหิมพานต์
3. ปริมาณการค้าระหว่างไทยและนิวซีแลนด์ยังอยู่ในระดับต่ำ เนื่องจากสินค้าที่ซื้อขายกันจำกัดอยู่ใน
สินค้าไม่กี่ประเภท
4. สินค้าไทยที่ถูกมาตรการตอบโต้การทุ่มตลาดและการอุดหนุนการส่งออก (AD-CVD) ได้แก่ รองเท้า
ยิบซั่มบอร์ด น้ำตาลทรายขาว
5. การรวมตัวทางเศรษฐกิจ (Closer Economic Relation : CER) ระหว่างนิวซีแลนด์กับ
ออสเตรเลีย ทำให้มีการกำหนดมาตรการกีดกันทางการค้าใหม่ ๆ
V. สินค้าที่ไทยมีลู่ทางขยายการส่งออก-นำเข้า
1. การส่งออก กุ้งสดแช่เย็น อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป เฟอร์นิเจอร์และชิ้นส่วน ยางพารา
และผลิตภัณฑ์ยาง รองเท้าและชิ้นส่วน ผักกระป๋องและแปรรูป แผงวงจรไฟฟ้า
2. การนำเข้า เครื่องจักรที่ใช้ในอุตสาหกรรมที่ไม่ใช้ไฟฟ้า เครื่องจักรไฟฟ้า และส่วนประกอบ
เหล็กและเหล็กกล้า ไม้แปรรูป เครื่องแต่งเรือน เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
--สรุปความสัมพันธ์ทางการค้าและเศรษฐกิจระหว่างไทยกับประเทศต่าง ๆ, สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย--
- เนื้อที่ (ตารางไมล์) 103,415
- จำนวนประชากร (ล้านคน) 3.46 (1993)
- เมืองหลวง เวลลิงตัน
- เมืองธุรกิจ AUCKLAND, CHRISTCHURCH, HAMILTION,
DUNEDIN
- โครงสร้างทางเศรษฐกิจ (%) N.A.
- อัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ 3.0 % (1993)
- อัตราเงินเฟ้อ 1.8 % (1994)
- รายได้เฉลี่ยต่อคน (เหรียญสหรัฐ) 10,650 (1992)
- อัตราแลกเปลี่ยนเงินตรา US$1 = 1.8419 NZ$ (1993)
- ทรัพยากรธรรมชาติที่สำคัญ เหล็ก ถ่านหิน
- สินค้าส่งออกและนำเข้าที่สำคัญ - ส่งออก เนื้อและผลิตภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์นมเนย
ไม้และกระดาษ โลหะและผลิตภัณฑ์ ผักและผลไม้
อาหารทะเลสดแช่เย็น ขนสัตว์และพรม เคมีภัณฑ์
- นำเข้า เครื่องจักรกลและอุปกรณ์ขนส่ง เคมีภัณฑ์
โลหะและผลิตภัณฑ์ เสื้อผ้าสำเร็จรูป สิ่งทอ
ไม้และกระดาษ ผักและผลไม้ เนื้อและผลิตภัณฑ์
หนังสัตว์ ปิโตรเลียมและผลิตภัณฑ์
- ประเทศคู่ค้าที่สำคัญ - ส่งออก ออสเตรเลีย ญี่ปุ่น สหรัฐ สหราชอาราจักร
เกาหลีมาเลเซีย ไต้หวัน เยอรมนี ฮ่องกง สิงคโปร์
- นำเข้า ออสเตรเลีย สหรัฐ ญี่ปุ่น สหราชอาณาจักร
เยอรมนี ซาอุดิอาระเบีย ไต้หวัน สิงคโปร์ อิตาลี จีน
- ภาษา อังกฤษ (ใช้ในราชการ) เมารี
- ศาสนา คริสเตียน
- เวลาแตกต่างจากไทย เร็วกว่า 5 ชั่วโมง
- ผู้นำประเทศ นายกรัฐมนตรี JAMES B. BOLGER
II. ความสัมพันธ์ทางการค้ากับประเทศไทย
ภาครัฐบาล
1. ความตกลงทางการค้า ลงนามเมื่อวันที่ 10 กุมภาพันธ์ 2523
ภาคเอกชน
1. จัดตั้งสภาธุรกิจไทย-นิวซีแลนด์ เมื่อวันที่ 7 พฤศจิกายน 2537
III. ภาวะการค้ากับประเทศไทย
1. การส่งออก ในปี 2537 และปี 2538 ไทยส่งออกไปนิวซีแลนด์เป็นมูลค่า 1,812.9 ล้านบาท
และ 2,310.4 ล้านบาท ตามลำดับ คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 0.1 และ 0.1 ของมูลค่า
การส่งออกทั้งหมดของประเทศ
2. สินค้าส่งออกที่สำคัญ ได้แก่ อาหารทะเลกระป๋อง ผลิตภัณฑ์พลาสติก เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์
และส่วนประกอบ กุ้งสดแช่เย็น แช่แข็ง ผลไม้กระป๋องและแปรรูป เคมีภัณฑ์ ผลิตภัณฑ์เหล็กและ
เหล็กกล้า ผลิตภัณฑ์ยาง เสื้อผ้าสำเร็จรูป
3. การนำเข้า ในปี 2537 และปี 2538 ไทยนำเข้าจากนิวซีแลนด์เป็นมูลค่า 3,920.6 ล้านบาท
และ 5,077.2 ล้านบาท ตามลำดับ คิดเป็นสัดส่วนประมาณร้อยละ 0.2 และ 0.2 ของมูลค่า
การนำเข้าทั้งหมดของประเทศ
4. สินค้านำเข้าที่สำคัญ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์นม เยื่อกระดาษและเศษกระดาษ สินแร่ โลหะอื่น ๆ และ
เศษโลหะ ธัญพืชและธัญพืชสำเร็จรูป เครื่องจักรไฟฟ้าและส่วนประกอบ ปลาทูนาสด แช่เย็น แช่แข็ง
ไม้ซุง ไม้แปรรูป และไม้อื่น ๆ เส้นใยใช้ในการทอ ผัก ผลไม้และของปรุงแต่งที่ทำจากผัก ผลไม้
ผลิตภัณฑ์-หนัง
5. ดุลการค้า ในปี 2537 และปี 2538 ไทยเสียเปรียบดุลการค้ามูลค่า 2,107.6 ล้านบาท
และ 2,766.7 ล้านบาท ตามลำดับ
IV. ปัญหาทางการค้าที่เป็นอุปสรรคต่อการส่งออกของไทย
1. นิวซีแลนด์ไม่อนุญาตให้นำเข้าผักและผลไม้จากกลุ่มอาเซียน รวมทั้งไทย จะอนุญาตให้นำเข้าได้จาก
ออสเตรเลียและประเทศในหมู่เกาะแปซิฟิกเท่านั้น เพราะเกรงเรื่องโรคพืชและแมลง
2. นิวซีแลนด์มีการตรวจสอบมาตรฐานด้านสุขอนามัยอย่างเข้มงวดมาก สินค้าที่ไทยได้รับผลกระทบ
ได้แก่
- ดอกไม้ กล้วยไม้ - ถั่วแห้ง
- มะพร้าว - เมล็ดมะม่วงหิมพานต์
3. ปริมาณการค้าระหว่างไทยและนิวซีแลนด์ยังอยู่ในระดับต่ำ เนื่องจากสินค้าที่ซื้อขายกันจำกัดอยู่ใน
สินค้าไม่กี่ประเภท
4. สินค้าไทยที่ถูกมาตรการตอบโต้การทุ่มตลาดและการอุดหนุนการส่งออก (AD-CVD) ได้แก่ รองเท้า
ยิบซั่มบอร์ด น้ำตาลทรายขาว
5. การรวมตัวทางเศรษฐกิจ (Closer Economic Relation : CER) ระหว่างนิวซีแลนด์กับ
ออสเตรเลีย ทำให้มีการกำหนดมาตรการกีดกันทางการค้าใหม่ ๆ
V. สินค้าที่ไทยมีลู่ทางขยายการส่งออก-นำเข้า
1. การส่งออก กุ้งสดแช่เย็น อาหารทะเลกระป๋องและแปรรูป เฟอร์นิเจอร์และชิ้นส่วน ยางพารา
และผลิตภัณฑ์ยาง รองเท้าและชิ้นส่วน ผักกระป๋องและแปรรูป แผงวงจรไฟฟ้า
2. การนำเข้า เครื่องจักรที่ใช้ในอุตสาหกรรมที่ไม่ใช้ไฟฟ้า เครื่องจักรไฟฟ้า และส่วนประกอบ
เหล็กและเหล็กกล้า ไม้แปรรูป เครื่องแต่งเรือน เครื่องมือทางวิทยาศาสตร์การแพทย์
--สรุปความสัมพันธ์ทางการค้าและเศรษฐกิจระหว่างไทยกับประเทศต่าง ๆ, สภาหอการค้าแห่งประเทศไทย--