บันทึกการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๑
ครั้งที่ ๒๑ (สมัยสามัญทั่วไป)
วันพุธที่ ๒๓ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๔๔
ณ ตึกรัฐสภา
---------------------
เริ่มประชุมเวลา ๑๓.๔๐ นาฬิกา
เมื่อครบองค์ประชุมแล้ว นายอุทัย พิมพ์ใจชน ประธานสภาผู้แทน
ราษฎร และนายบุญชง วีสมหมาย รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่สอง
ขึ้นบัลลังก์
ประธานสภาผู้แทนราษฎรกล่าวเปิดประชุม และได้ดำเนินการประชุม
ตามลำดับ ดังนี้
๑. กล่าวนำ นายจุติ ไกรฤกษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัด
พิษณุโลก ซึ่งเลือกตั้งซ่อมแทนตำแหน่งที่ว่างเพื่อปฏิญาณตนต่อที่ประชุม
ก่อนเข้ารับหน้าที่ ตามมาตรา ๑๕๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
๒. แจ้งเรื่องข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๔๔
ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศทั่วไป เล่ม ๑๑๘ ตอนพิเศษ ๔๒ ง
วันที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๔๔ ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๔๔
ที่ประชุมรับทราบ
ต่อจากนั้น ประธานสภาผู้แทนราษฎรได้เสนอให้ที่ประชุมพิจารณา
ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องที่คณะกรรมาธิการพิจารณาเสร็จแล้ว ตามลำดับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติรถยนตร์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. (กำหนดอัตรา
ภาษีรถที่ขับเคลื่อนด้วยกำลังไฟฟ้า) ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว
(ในระเบียบวาระที่ ๔.๑)
๒. ร่างพระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน (ฉบับที่ ..)
พ.ศ. …. ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระที่ ๔.๒)
๓. ร่างพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงเขตอำนาจศาลจังหวัดปากพนัง
พ.ศ. …. ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระที่ ๔.๓)
ที่ประชุมได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๓ ฉบับ ในวาระที่ ๒
ทีละฉบับ ตามลำดับ โดยมีประธานสภาผู้แทนราษฎร และรองประธานสภา
ผู้แทนราษฎรคนที่สองได้ผลัดเปลี่ยนกันดำเนินการประชุม ที่ประชุมได้พิจารณา
เริ่มต้นด้วยชื่อร่าง คำปรารภ แล้วเรียงตามลำดับมาตราจนจบร่าง และได้ลงมติ
เห็นชอบในวาระที่ ๓ ทั้ง ๓ ฉบับ ทีละฉบับ ตามลำดับ เพื่อเสนอให้วุฒิสภา
พิจารณาต่อไปตามรัฐธรรมนูญฯ ทั้งนี้ ที่ประชุมได้ลงมติเห็นชอบกับข้อสังเกต
ของคณะกรรมาธิการที่พิจารณาร่างพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงเขตอำนาจ
ศาลจังหวัดปากพนัง พ.ศ. …. เพื่อแจ้งไปยังคณะรัฐมนตรีด้วย
หลังจากนั้น ประธานสภาผู้แทนราษฎรได้เสนอให้ที่ประชุมพิจารณา
ระเบียบวาระเรื่องด่วน ตามลำดับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติโอนที่ราชพัสดุที่เป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
ที่ใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดิน โดยเฉพาะในท้องที่ตำบลเชียงบาน อำเภอเชียงคำ
จังหวัดพะเยาให้แก่นายสิงห์ ใจวังโลก พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ
(ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑)
เมื่อรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง (นายวราเทพ รัตนากร)
ได้แถลงหลักการและเหตุผล สมาชิกฯ อภิปราย รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง
การคลัง (นายวราเทพ รัตนากร) ตอบชี้แจงจนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุม
ได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และมีมติให้ตั้ง
คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณาคณะกรรมาธิการฯ
ประกอบด้วย
๑. นายวราเทพ รัตนากร ๒. นางลีนา เจริญศรี
๓. นายโสภณ รุ่งเรืองผล ๔. นางดุษณีย์ หันตรา
๕. นายสมชาย ชิโนดม ๖. นายวิสาร เตชะธีราวัฒน์
๗. นายวิสุทธิ์ ไชยณรุณ ๘. นายวาสิต พยัคฆบุตร
๙. นายพิษณุ พลไวย์ ๑๐. นายชาญชัย ปทุมารักษ์
๑๑. นางกุสุมาลวตี ศิริโกมุท ๑๒. นายชาญชัย ชัยรุ่งเรือง
๑๓. นายทองหล่อ พลโคตร ๑๔. นายประเสริฐ จันทรรวงทอง
๑๕. นายภัทรศักดิ์ โอสถานุเคราะห์ ๑๖. นางสาวชรินรัตน์ พุทธปวน
๑๗. นายสันติ ตันสุหัช ๑๘. ว่าที่เรือโท วัลลภ ยังตรง
๑๙. นายสุวัฒน์ ม่วงศิริ ๒๐. นายแสวง ฤกษ์จรัล
๒๑. นายไพโรจน์ ตันบรรจง ๒๒. นายนริศ ขำนุรักษ์
๒๓. นายสุชาติ แก้วนาโพธิ์ ๒๔. นายสุเมธ โพธิพิพิธ
๒๕. นายพงศ์ธรรม สุวรรณกุล ๒๖. นางสุภัคสิริ หฤษฎางค์กูร
๒๗. นาวาตรี สุธรรม ระหงษ์ ๒๘. นายนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ
๒๙. นายอิทธิพล คุณปลื้ม ๓๐. นายปิลันธน์ จิตต์ธรรม
๓๑. นายคงกฤช หงษ์วิไล ๓๒. นายพีระเพชร ศิริกุล
๓๓. นายพงษ์พิช รุ่งเป้า ๓๔. นายรุ่งโรจน์ รักวงศ์
๓๕. นายบุญเติม จันทะวัฒน์
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๒. ร่างพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๒)
เมื่อรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม
ได้แถลงหลักการและเหตุผล จนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติ
ในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และมีมติให้ตั้งคณะ
กรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ
ประกอบด้วย
๑. นางลดาวัลลิ์ วงศ์ศรีวงศ์ ๒. นายรังสฤษฏ์ จันทรัตน์
๓. นางจริยา เจียมวิจิตร ๔. นายประพัฒน์ โพธิวรคุณ
๕. นายประเทือง แสงสังข์ ๖. นายสุนทร วิลาวัลย์
๗. นายวิรัตน์ ตยางคนนท์ ๘. นายกฤษฎา สัจจกุล
๙. นายพิมล ศรีวิกรม์ ๑๐. นายการุญ จันทรางศุ
๑๑. นายประยุทธ มหากิจศิริ ๑๒. นายณัฐพล เกียรติวินัยสกุล
๑๓. นางสาวตรีนุช เทียนทอง ๑๔. นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล
๑๕. นางผณินทรา ภัคเกษม ๑๖. นายชลน่าน ศรีแก้ว
๑๗. นายไชยวัฒน์ ติณรัตน์ ๑๘. นายจำรัส เวียงสงค์
๑๙. นายระวี หิรัญโชติ ๒๐. นายสุขุม เลาวัณย์ศิริ
๒๑. นางศิริวรรณ ปราศจากศัตรู ๒๒. นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย
๒๓. นายเอกพจน์ ปานแย้ม ๒๔. นายเชน เทือกสุบรรณ
๒๕. นายสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์ ๒๖. นายนิพนธ์ บุญญามณี
๒๗. นายองอาจ คล้ามไพบูลย์ ๒๘. นางสาวผ่องศรี ธาราภูมิ
๒๙. นายวิชัย โถสุวรรณจินดา ๓๐. นายพนัส ไทยล้วน
๓๑. นายเปรมศักดิ์ เพียยุระ ๓๒. นายบูราฮานูดิน อุเซ็ง
๓๓. นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล ๓๔. นายอนุสรณ์ วงศ์วรรณ
๓๕. นายชัยวัฒน์ กุลศักดิ์วิมล
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๓. ร่างพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๓)
โดยที่ประชุมเห็นชอบให้นำร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก ๕ ฉบับ ขึ้นมาพิจารณารวมกันไป คือ
๑) ร่างพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง นายอำนวย คลังผา และนายจาตุรงค์ เพ็งนรพัฒน์
เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๔)
๒) ร่างพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์ และนายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ
เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๕)
๓) ร่างพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง นายนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ กับคณะ เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๖)
๔. ร่างพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง นายประชาธิปไตย คำสิงห์นอก เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบ
วาระเรื่องด่วนที่ ๗)
๕. ร่างพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง นายเปรมศักดิ์ เพียยุระ และนายอรรถสิทธิ์ (คันคาย)
ทรัพยสิทธิ์ เป็นผู้เสนอ (แต่ยังมิได้บรรจุระเบียบวาระ)
เมื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และผู้เสนอได้แถลงหลักการ
และเหตุผล ตามลำดับ ต่อมา รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่งได้ปฏิบัติ
หน้าที่แทน ภายหลังสมาชิกฯ อภิปราย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ตอบชี้แจงจนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการ
แห่งร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๖ ฉบับพร้อมกันไป และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการ
วิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา โดยถือเอาร่างของคณะรัฐมนตรีเป็นหลัก
ในการพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายอภัย จันทนจุลกะ ๒. นายสาโรช คัชมาตย์
๓. นายธรรมนิตย์ สุมันตกุล ๔. นายพันธุ์ชัย วัฒนชัย
๕. นายนิรวัชช์ ปุณณกันต์ ๖. นายระวัง เนตรโพธิ์แก้ว
๗. นายพันธ์ศักดิ์ วิโรจน์เวชภัณฑ์ ๘. นายนิรันดร์ นาเมืองรักษ์
๙. ว่าที่ร้อยตรี พงศ์พันธ์ สุนทรชัย ๑๐. นายอำนวย คลังผา
๑๑. นางมุกดา พงษ์สมบัติ ๑๒. นายจตุพร เจริญเชื้อ
๑๓. นายจิรพันธ์ ลิ้มสกุลศิริรัตน์ ๑๔. นายมานิตย์ สังข์พุ่ม
๑๕. ว่าที่ร้อยตรี ไพโรจน์ สุวรรณฉวี ๑๖. นายอภิชาติ ตีรสวัสดิชัย
๑๗. พันจ่าอากาศโท กิตติคุณ นาคะบุตร ๑๘. พันตำรวจโท อดุลย์ บุญเสรฐ
๑๙. นายอิทธิรัตน์ จันทรสุรินทร์ ๒๐. นายสามารถ แก้วมีชัย
๒๑. นายพิทักษ์ สันติวงศ์เดชา ๒๒. นายวินัย เสนเนียม
๒๓. นายนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ ๒๔. นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ
๒๕. นายสนั่น สุธากุล ๒๖. นางสาวรังสิมา รอดรัศมี
๒๗. นายเชน เทือกสุบรรณ ๒๘. นายเกษม ปานอุดมลักษณ์
๒๙. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ ๓๐. นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์
๓๑. นายชวลิต วิชยสุทธิ์ ๓๒. นายประเสริฐ บุญเรือง
๓๓. นายประชาธิปไตย คำสิงห์นอก ๓๔. นายศรคม ฦาชา
๓๕. นายสงกรานต์ คำพิไสย์
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
เลิกประชุมเวลา ๒๐.๒๕ นาฬิกา
(นางศิริลักษณ์ ปั้นบำรุงกิจ)
เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
ฝ่ายรายงานการประชุม
กองการประชุม
โทร. ๒๔๔๑๑๑๕-๖
โทรสาร ๒๔๔๑๑๑๕-๖
สรุปผลการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
เห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติ จำนวน ๓ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติรถยนตร์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. (กำหนดอัตราภาษีรถที่ขับเคลื่อน
ด้วยกำลังไฟฟ้า)
๒. ร่างพระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
๓. ร่างพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงเขตอำนาจศาลจังหวัดปากพนัง พ.ศ. ….
รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ จำนวน ๘ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติโอนที่ราชพัสดุที่เป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินที่ใช้เพื่อประโยชน์
ของแผ่นดินที่ใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดิน โดยเฉพาะในท้องที่ตำบลเชียงบาน อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา
ให้แก่นายสิงห์ ใจวังโลก พ.ศ. ….
๒. ร่างพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
๓. ร่างพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
(รวมผู้เสนอ ๖ ฉบับ)
**************************
ครั้งที่ ๒๑ (สมัยสามัญทั่วไป)
วันพุธที่ ๒๓ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๔๔
ณ ตึกรัฐสภา
---------------------
เริ่มประชุมเวลา ๑๓.๔๐ นาฬิกา
เมื่อครบองค์ประชุมแล้ว นายอุทัย พิมพ์ใจชน ประธานสภาผู้แทน
ราษฎร และนายบุญชง วีสมหมาย รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่สอง
ขึ้นบัลลังก์
ประธานสภาผู้แทนราษฎรกล่าวเปิดประชุม และได้ดำเนินการประชุม
ตามลำดับ ดังนี้
๑. กล่าวนำ นายจุติ ไกรฤกษ์ สมาชิกสภาผู้แทนราษฎร จังหวัด
พิษณุโลก ซึ่งเลือกตั้งซ่อมแทนตำแหน่งที่ว่างเพื่อปฏิญาณตนต่อที่ประชุม
ก่อนเข้ารับหน้าที่ ตามมาตรา ๑๕๐ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
๒. แจ้งเรื่องข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๔๔
ได้ประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับประกาศทั่วไป เล่ม ๑๑๘ ตอนพิเศษ ๔๒ ง
วันที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๔๔ ซึ่งมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ ๑๒ พฤษภาคม ๒๕๔๔
ที่ประชุมรับทราบ
ต่อจากนั้น ประธานสภาผู้แทนราษฎรได้เสนอให้ที่ประชุมพิจารณา
ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องที่คณะกรรมาธิการพิจารณาเสร็จแล้ว ตามลำดับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติรถยนตร์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. (กำหนดอัตรา
ภาษีรถที่ขับเคลื่อนด้วยกำลังไฟฟ้า) ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว
(ในระเบียบวาระที่ ๔.๑)
๒. ร่างพระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน (ฉบับที่ ..)
พ.ศ. …. ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระที่ ๔.๒)
๓. ร่างพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงเขตอำนาจศาลจังหวัดปากพนัง
พ.ศ. …. ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระที่ ๔.๓)
ที่ประชุมได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๓ ฉบับ ในวาระที่ ๒
ทีละฉบับ ตามลำดับ โดยมีประธานสภาผู้แทนราษฎร และรองประธานสภา
ผู้แทนราษฎรคนที่สองได้ผลัดเปลี่ยนกันดำเนินการประชุม ที่ประชุมได้พิจารณา
เริ่มต้นด้วยชื่อร่าง คำปรารภ แล้วเรียงตามลำดับมาตราจนจบร่าง และได้ลงมติ
เห็นชอบในวาระที่ ๓ ทั้ง ๓ ฉบับ ทีละฉบับ ตามลำดับ เพื่อเสนอให้วุฒิสภา
พิจารณาต่อไปตามรัฐธรรมนูญฯ ทั้งนี้ ที่ประชุมได้ลงมติเห็นชอบกับข้อสังเกต
ของคณะกรรมาธิการที่พิจารณาร่างพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงเขตอำนาจ
ศาลจังหวัดปากพนัง พ.ศ. …. เพื่อแจ้งไปยังคณะรัฐมนตรีด้วย
หลังจากนั้น ประธานสภาผู้แทนราษฎรได้เสนอให้ที่ประชุมพิจารณา
ระเบียบวาระเรื่องด่วน ตามลำดับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติโอนที่ราชพัสดุที่เป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดิน
ที่ใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดิน โดยเฉพาะในท้องที่ตำบลเชียงบาน อำเภอเชียงคำ
จังหวัดพะเยาให้แก่นายสิงห์ ใจวังโลก พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ
(ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑)
เมื่อรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง (นายวราเทพ รัตนากร)
ได้แถลงหลักการและเหตุผล สมาชิกฯ อภิปราย รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง
การคลัง (นายวราเทพ รัตนากร) ตอบชี้แจงจนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุม
ได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และมีมติให้ตั้ง
คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณาคณะกรรมาธิการฯ
ประกอบด้วย
๑. นายวราเทพ รัตนากร ๒. นางลีนา เจริญศรี
๓. นายโสภณ รุ่งเรืองผล ๔. นางดุษณีย์ หันตรา
๕. นายสมชาย ชิโนดม ๖. นายวิสาร เตชะธีราวัฒน์
๗. นายวิสุทธิ์ ไชยณรุณ ๘. นายวาสิต พยัคฆบุตร
๙. นายพิษณุ พลไวย์ ๑๐. นายชาญชัย ปทุมารักษ์
๑๑. นางกุสุมาลวตี ศิริโกมุท ๑๒. นายชาญชัย ชัยรุ่งเรือง
๑๓. นายทองหล่อ พลโคตร ๑๔. นายประเสริฐ จันทรรวงทอง
๑๕. นายภัทรศักดิ์ โอสถานุเคราะห์ ๑๖. นางสาวชรินรัตน์ พุทธปวน
๑๗. นายสันติ ตันสุหัช ๑๘. ว่าที่เรือโท วัลลภ ยังตรง
๑๙. นายสุวัฒน์ ม่วงศิริ ๒๐. นายแสวง ฤกษ์จรัล
๒๑. นายไพโรจน์ ตันบรรจง ๒๒. นายนริศ ขำนุรักษ์
๒๓. นายสุชาติ แก้วนาโพธิ์ ๒๔. นายสุเมธ โพธิพิพิธ
๒๕. นายพงศ์ธรรม สุวรรณกุล ๒๖. นางสุภัคสิริ หฤษฎางค์กูร
๒๗. นาวาตรี สุธรรม ระหงษ์ ๒๘. นายนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ
๒๙. นายอิทธิพล คุณปลื้ม ๓๐. นายปิลันธน์ จิตต์ธรรม
๓๑. นายคงกฤช หงษ์วิไล ๓๒. นายพีระเพชร ศิริกุล
๓๓. นายพงษ์พิช รุ่งเป้า ๓๔. นายรุ่งโรจน์ รักวงศ์
๓๕. นายบุญเติม จันทะวัฒน์
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๒. ร่างพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๒)
เมื่อรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม
ได้แถลงหลักการและเหตุผล จนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติ
ในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และมีมติให้ตั้งคณะ
กรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ
ประกอบด้วย
๑. นางลดาวัลลิ์ วงศ์ศรีวงศ์ ๒. นายรังสฤษฏ์ จันทรัตน์
๓. นางจริยา เจียมวิจิตร ๔. นายประพัฒน์ โพธิวรคุณ
๕. นายประเทือง แสงสังข์ ๖. นายสุนทร วิลาวัลย์
๗. นายวิรัตน์ ตยางคนนท์ ๘. นายกฤษฎา สัจจกุล
๙. นายพิมล ศรีวิกรม์ ๑๐. นายการุญ จันทรางศุ
๑๑. นายประยุทธ มหากิจศิริ ๑๒. นายณัฐพล เกียรติวินัยสกุล
๑๓. นางสาวตรีนุช เทียนทอง ๑๔. นายวรวัจน์ เอื้ออภิญญกุล
๑๕. นางผณินทรา ภัคเกษม ๑๖. นายชลน่าน ศรีแก้ว
๑๗. นายไชยวัฒน์ ติณรัตน์ ๑๘. นายจำรัส เวียงสงค์
๑๙. นายระวี หิรัญโชติ ๒๐. นายสุขุม เลาวัณย์ศิริ
๒๑. นางศิริวรรณ ปราศจากศัตรู ๒๒. นายสาทิตย์ วงศ์หนองเตย
๒๓. นายเอกพจน์ ปานแย้ม ๒๔. นายเชน เทือกสุบรรณ
๒๕. นายสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์ ๒๖. นายนิพนธ์ บุญญามณี
๒๗. นายองอาจ คล้ามไพบูลย์ ๒๘. นางสาวผ่องศรี ธาราภูมิ
๒๙. นายวิชัย โถสุวรรณจินดา ๓๐. นายพนัส ไทยล้วน
๓๑. นายเปรมศักดิ์ เพียยุระ ๓๒. นายบูราฮานูดิน อุเซ็ง
๓๓. นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล ๓๔. นายอนุสรณ์ วงศ์วรรณ
๓๕. นายชัยวัฒน์ กุลศักดิ์วิมล
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๓. ร่างพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๓)
โดยที่ประชุมเห็นชอบให้นำร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก ๕ ฉบับ ขึ้นมาพิจารณารวมกันไป คือ
๑) ร่างพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง นายอำนวย คลังผา และนายจาตุรงค์ เพ็งนรพัฒน์
เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๔)
๒) ร่างพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์ และนายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ
เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๕)
๓) ร่างพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง นายนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ กับคณะ เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๖)
๔. ร่างพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง นายประชาธิปไตย คำสิงห์นอก เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบ
วาระเรื่องด่วนที่ ๗)
๕. ร่างพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง นายเปรมศักดิ์ เพียยุระ และนายอรรถสิทธิ์ (คันคาย)
ทรัพยสิทธิ์ เป็นผู้เสนอ (แต่ยังมิได้บรรจุระเบียบวาระ)
เมื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และผู้เสนอได้แถลงหลักการ
และเหตุผล ตามลำดับ ต่อมา รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่งได้ปฏิบัติ
หน้าที่แทน ภายหลังสมาชิกฯ อภิปราย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย
ตอบชี้แจงจนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการ
แห่งร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๖ ฉบับพร้อมกันไป และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการ
วิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา โดยถือเอาร่างของคณะรัฐมนตรีเป็นหลัก
ในการพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายอภัย จันทนจุลกะ ๒. นายสาโรช คัชมาตย์
๓. นายธรรมนิตย์ สุมันตกุล ๔. นายพันธุ์ชัย วัฒนชัย
๕. นายนิรวัชช์ ปุณณกันต์ ๖. นายระวัง เนตรโพธิ์แก้ว
๗. นายพันธ์ศักดิ์ วิโรจน์เวชภัณฑ์ ๘. นายนิรันดร์ นาเมืองรักษ์
๙. ว่าที่ร้อยตรี พงศ์พันธ์ สุนทรชัย ๑๐. นายอำนวย คลังผา
๑๑. นางมุกดา พงษ์สมบัติ ๑๒. นายจตุพร เจริญเชื้อ
๑๓. นายจิรพันธ์ ลิ้มสกุลศิริรัตน์ ๑๔. นายมานิตย์ สังข์พุ่ม
๑๕. ว่าที่ร้อยตรี ไพโรจน์ สุวรรณฉวี ๑๖. นายอภิชาติ ตีรสวัสดิชัย
๑๗. พันจ่าอากาศโท กิตติคุณ นาคะบุตร ๑๘. พันตำรวจโท อดุลย์ บุญเสรฐ
๑๙. นายอิทธิรัตน์ จันทรสุรินทร์ ๒๐. นายสามารถ แก้วมีชัย
๒๑. นายพิทักษ์ สันติวงศ์เดชา ๒๒. นายวินัย เสนเนียม
๒๓. นายนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ ๒๔. นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ
๒๕. นายสนั่น สุธากุล ๒๖. นางสาวรังสิมา รอดรัศมี
๒๗. นายเชน เทือกสุบรรณ ๒๘. นายเกษม ปานอุดมลักษณ์
๒๙. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ ๓๐. นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์
๓๑. นายชวลิต วิชยสุทธิ์ ๓๒. นายประเสริฐ บุญเรือง
๓๓. นายประชาธิปไตย คำสิงห์นอก ๓๔. นายศรคม ฦาชา
๓๕. นายสงกรานต์ คำพิไสย์
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
เลิกประชุมเวลา ๒๐.๒๕ นาฬิกา
(นางศิริลักษณ์ ปั้นบำรุงกิจ)
เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
ฝ่ายรายงานการประชุม
กองการประชุม
โทร. ๒๔๔๑๑๑๕-๖
โทรสาร ๒๔๔๑๑๑๕-๖
สรุปผลการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
เห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติ จำนวน ๓ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติรถยนตร์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. (กำหนดอัตราภาษีรถที่ขับเคลื่อน
ด้วยกำลังไฟฟ้า)
๒. ร่างพระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
๓. ร่างพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงเขตอำนาจศาลจังหวัดปากพนัง พ.ศ. ….
รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ จำนวน ๘ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติโอนที่ราชพัสดุที่เป็นสาธารณสมบัติของแผ่นดินที่ใช้เพื่อประโยชน์
ของแผ่นดินที่ใช้เพื่อประโยชน์ของแผ่นดิน โดยเฉพาะในท้องที่ตำบลเชียงบาน อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา
ให้แก่นายสิงห์ ใจวังโลก พ.ศ. ….
๒. ร่างพระราชบัญญัติแรงงานสัมพันธ์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
๓. ร่างพระราชบัญญัติสภาตำบลและองค์การบริหารส่วนตำบล (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
(รวมผู้เสนอ ๖ ฉบับ)
**************************