ช่วงไตรมาสที่ 3 ของปีงบประมาณ (1 เม.ย. - มิ.ย. 2544)
ฐานะการคลังเกินดุลเงินสด 8.7 พันล้านบาท ขณะที่ในช่วง 9 เดือนของปีงบประมาณขาดดุลเงินสดสะสมทั้งสิ้น 76.5 พันล้านบาท
รายได้จัดเก็บได้ 232.1 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นจากระยะเดียวกันปีก่อนร้อยละ 10.4 เนื่องจาก มีการชำระภาษีกำไรสุทธิประจำปี 2543 ในช่วง
เดือนพฤษภาคมและมิถุนายน (เพิ่มขึ้นร้อยละ 13.5 เทียบกับระยะเดียวกันปีก่อน) สำหรับรายได้ที่มิใช่ภาษีอากรชะลอ ทั้งจากระยะเดียวกันปีก่อน
และจากไตรมาสก่อน
รายจ่ายเบิกจ่ายได้ 219.8 พันล้านบาท ทำให้รายจ่ายสะสม ตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ เบิกจ่ายได้ทั้งสิ้น 426.9 พันล้านบาท (เพิ่มขึ้น
ร้อยละ 2.3 จากระยะเดียวกันปีก่อน)
ช่วงไตรมาสที่ 3 ของปีงบประมาณ 2544 รัฐบาลเกินดุลเงินสด 8.7 พันล้านบาท จากที่มีการขาดดุลในไตรมาสก่อนหน้า เนื่องจากมี
รายได้เพิ่มขึ้นจากการนำส่งภาษีกำไรสุทธิของนิติบุคคลประจำปี 2543 ในเดือนพฤษภาคมและมิถุนายน (ซึ่งเพิ่มขึ้นจากระยะเดียวกันปีก่อน
ร้อยละ13.5) ประกอบกับรายจ่ายของรัฐบาลชะลอตัวลงจากการทบทวนงบประมาณและโครงการใหม่
ในช่วง 9 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2544 (ตุลาคม 2543 - มิถุนายน2544) รัฐบาล ขาดดุลเงินสดสะสมทั้งสิ้น 76.5 พันล้านบาท
ฐานะการคลังปีงบประมาณ 2544
(พันล้านบาท)
ไตรมาส 2 ไตรมาส 3P/ ปีงบประมาณ 2544P/
(ม.ค. - มี.ค.) (เม.ย. - มิ.ย.) (ต.ค. 43 - มิ.ย. 44)
รายได้ 171.7 232.1 567.9
(D % จากระยะเดียวกันปีก่อน) (-4.8) -10.4 -2.2
รายจ่าย 204.6 219.8 648.9
(D % จากระยะเดียวกันปีก่อน) -5.3 -0.9 -2.3
ปีงบประมาณปัจจุบัน 178 205 570.6
ปีงบประมาณก่อน 26.5 14.8 78.2
จากเงินคงคลัง 0.1 - 0.1
ดุลในงบประมาณ -32.9 12.3 -81
ดุลนอกงบประมาณ 0.4 -3.6 4.5
ดุลเงินสด -32.5 8.7 -76.5
P/ ข้อมูลเบื้องต้น
ที่มา: กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง และธนาคารแห่งประเทศไทย
รายได้
ในช่วงไตรมาส 3 ของปีงบประมาณ 2544 รายได้นำส่งคลังมีจำนวน 232.1 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.4 จากระยะเดียว
กันปีก่อน รายได้ภาษีอากรปรับเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.1 ตามการเพิ่มขึ้นของภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (ร้อยละ 11.1) ภาษีเงินได้นิติบุคคล
(ร้อยละ 10.4) ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ร้อยละ 5.6) ภาษีสรรพสามิต (ร้อยละ 13.0) ซึ่งมีการปรับอัตราภาษีสำหรับสินค้าที่เป็นโทษต่อร่างกาย
และมีผลิตภัณฑ์เบียร์ใหม่เข้าสู่ตลาด และ
เป็นการเพิ่มขึ้นตามภาษีอากรขาเข้าที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.9 เนื่องจากการอ่อนค่าของเงินบาท ถึงแม้ว่าเศรษฐกิจชะลอตัว
สำหรับรายได้ที่มิใช่ภาษีอากรชะลอลง จากระยะเดียวกันปีก่อน (ร้อยละ 13.6 ในปี 2544 เปรียบเทียบกับร้อยละ 18.8 ในปี
2543) และชะลอตัวลงค่อนข้างมากจากไตรมาสก่อน เนื่องจาก ไตรมาสที่แล้วมีการนำส่งกำไรของรัฐวิสาหกิจจากปี งบประมาณ 2543
รายได้รัฐบาล (พันล้านบาท)
ปีงบประมาณ
2543 2544
ไตรมาส 2 ไตรมาส 3P/ สะสม 9 เดือน P/
รายได้ทั้งหมด 709.9 171.7 232.1 567.9
(-2.4) (-4.8) -10.4 -2.2
ภาษี 620.1 150.2 207.8 507.4
(-4.5) (-9.5) -10.1 -2.3
ฐานรายได้ 234.4 42.9 80.4 163.4
(-5.8) (-25.8) -10.6 -0.4
บุคคลธรรมดา 101.2 29.1 23.9 75.2
(-14.8) -8.3 -11.1 -11.5
นิติบุคคล 101.3 13.8 56.5 88.2
-11.6 (-55.4) -10.4 (-7.4)
ฐานการบริโภค 319.3 78.5 84.4 244
(-4.6) (-3.5) -7.5 -0.8
มูลค่าเพิ่ม 131.9 31.8 36.6 105.7
(-18.7) (-7.9) -5.6 -0.6
สรรพสามิต 163.6 43.7 44.6 129
-7.3 -3 -13 -4.5
ฐานการค้าระหว่างประเทศประเทศ 66.4 22 22.4 67.2
-1 -8.8 -10.9 -7.6
รายได้อื่น 89.8 21.5 24.3 60.6
-15.2 -50.5 -13.6 -1.1
P/ ข้อมูลเบื้องต้น
ที่มา: กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลังและธนาคารแห่งประเทศไทย
รายจ่าย
รัฐบาลมีรายจ่ายทั้งสิ้น 219.8 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.9 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อนโดยจำแนกเป็นรายจ่ายจากปี
งบประมาณ ปีปัจจุบันและปีก่อน (carry-over) จำนวน 205.0 และ 14.8 พันล้านบาท ตามลำดับ
การเบิกจ่ายสะสม 9 เดือนแรกของปี งบประมาณมีจำนวนทั้งสิ้น 648.9 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน
โดยมีอัตราเบิกจ่ายร้อยละ 63.6 ใกล้เคียงกับปีก่อน คาดว่าทั้งปีงบประมาณอัตราเบิกจ่ายจะเป็นร้อยละ 90.5
สำหรับรายจ่ายจำแนกตามลักษณะเศรษฐกิจในช่วง 8 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2544 ปรากฏว่ารายจ่ายประจำเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.7
โดยรายจ่ายเงินเดือนและค่าจ้างเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.0 แสดงถึงการควบคุมรายจ่ายประจำของรัฐบาล ขณะที่ การซื้อสินค้าและบริการเพิ่มขึ้น
ร้อยละ 10.4 ส่วนรายจ่ายดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นร้อยละ 14.0 จากการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา ขณะที่รายจ่ายลงทุนลดลง
ร้อยละ 15.0
รายจ่ายจำแนกตามลักษณะงาน พบว่า รายจ่ายอื่นๆ ยังคงขยายตัวร้อยละ 6.6 โดยต่อเนื่องโดยเฉพาะจากรายจ่ายดอกเบี้ย
พันธบัตรรัฐบาล รายจ่ายด้านสังคมก็เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง โดยเฉพาะ รายจ่ายการสังคมสงเคราะห์ เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.1
รายจ่ายรัฐบาลในช่วง 8 เดือนแรกของปีงบประมาณ
จำแนกตามลักษณะเศรษฐกิจ
(พันล้านบาท)
2542 2543 2544
รายจ่ายจริง 532.8 563 575.9
รายจ่ายประจำ 388.1 428.7 461.8
(D %) -21.7 -10.5 -7.7
เงินเดือนและค่าจ้าง 196.7 200.5 206.6
ซื้อสินค้าและบริการ 87.5 90.3 99.7
ดอกเบี้ย 26.5 35.7 40.7
รายจ่ายลงทุน 144.7 134.3 114.1
(D %) (-22.8) (-7.2) (-15.0)
ที่มา: กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลังและธนาคารแห่งประเทศไทย
รายจ่ายรัฐบาลในช่วง 8 เดือนแรกของปีงบประมาณ
จำแนกตามลักษณะงาน
(พันล้านบาท)
2542 2543 2544
การบริหารทั่วไป 109.8 111.8 117.6
(D %) (-6.3) -1.8 -5.2
การบริการชุมชน 246.9 253.4 262.6
(D %) -13.3 -2.6 -3.6
การศึกษา 145.5 147.9 154.5
การสังคมสงเคราะห์ 41.6 36.9 41
การเศรษฐกิจ 119 128.1 121.4
(D %) (-10.5) -7.7 (-5.2)
อื่นๆ 57.1 69.7 74.3
(D %) -49.3 -22.1 -6.6
รวม 532.8 563 575.9
(D %) -5.2 -5.7 -2.3
ที่มา : กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลังและธนาคารแห่งประเทศไทย
--ธนาคารแห่งประเทศไทย--
-ปส-
ฐานะการคลังเกินดุลเงินสด 8.7 พันล้านบาท ขณะที่ในช่วง 9 เดือนของปีงบประมาณขาดดุลเงินสดสะสมทั้งสิ้น 76.5 พันล้านบาท
รายได้จัดเก็บได้ 232.1 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นจากระยะเดียวกันปีก่อนร้อยละ 10.4 เนื่องจาก มีการชำระภาษีกำไรสุทธิประจำปี 2543 ในช่วง
เดือนพฤษภาคมและมิถุนายน (เพิ่มขึ้นร้อยละ 13.5 เทียบกับระยะเดียวกันปีก่อน) สำหรับรายได้ที่มิใช่ภาษีอากรชะลอ ทั้งจากระยะเดียวกันปีก่อน
และจากไตรมาสก่อน
รายจ่ายเบิกจ่ายได้ 219.8 พันล้านบาท ทำให้รายจ่ายสะสม ตั้งแต่ต้นปีงบประมาณ เบิกจ่ายได้ทั้งสิ้น 426.9 พันล้านบาท (เพิ่มขึ้น
ร้อยละ 2.3 จากระยะเดียวกันปีก่อน)
ช่วงไตรมาสที่ 3 ของปีงบประมาณ 2544 รัฐบาลเกินดุลเงินสด 8.7 พันล้านบาท จากที่มีการขาดดุลในไตรมาสก่อนหน้า เนื่องจากมี
รายได้เพิ่มขึ้นจากการนำส่งภาษีกำไรสุทธิของนิติบุคคลประจำปี 2543 ในเดือนพฤษภาคมและมิถุนายน (ซึ่งเพิ่มขึ้นจากระยะเดียวกันปีก่อน
ร้อยละ13.5) ประกอบกับรายจ่ายของรัฐบาลชะลอตัวลงจากการทบทวนงบประมาณและโครงการใหม่
ในช่วง 9 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2544 (ตุลาคม 2543 - มิถุนายน2544) รัฐบาล ขาดดุลเงินสดสะสมทั้งสิ้น 76.5 พันล้านบาท
ฐานะการคลังปีงบประมาณ 2544
(พันล้านบาท)
ไตรมาส 2 ไตรมาส 3P/ ปีงบประมาณ 2544P/
(ม.ค. - มี.ค.) (เม.ย. - มิ.ย.) (ต.ค. 43 - มิ.ย. 44)
รายได้ 171.7 232.1 567.9
(D % จากระยะเดียวกันปีก่อน) (-4.8) -10.4 -2.2
รายจ่าย 204.6 219.8 648.9
(D % จากระยะเดียวกันปีก่อน) -5.3 -0.9 -2.3
ปีงบประมาณปัจจุบัน 178 205 570.6
ปีงบประมาณก่อน 26.5 14.8 78.2
จากเงินคงคลัง 0.1 - 0.1
ดุลในงบประมาณ -32.9 12.3 -81
ดุลนอกงบประมาณ 0.4 -3.6 4.5
ดุลเงินสด -32.5 8.7 -76.5
P/ ข้อมูลเบื้องต้น
ที่มา: กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลัง และธนาคารแห่งประเทศไทย
รายได้
ในช่วงไตรมาส 3 ของปีงบประมาณ 2544 รายได้นำส่งคลังมีจำนวน 232.1 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.4 จากระยะเดียว
กันปีก่อน รายได้ภาษีอากรปรับเพิ่มขึ้นร้อยละ 10.1 ตามการเพิ่มขึ้นของภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (ร้อยละ 11.1) ภาษีเงินได้นิติบุคคล
(ร้อยละ 10.4) ภาษีมูลค่าเพิ่ม (ร้อยละ 5.6) ภาษีสรรพสามิต (ร้อยละ 13.0) ซึ่งมีการปรับอัตราภาษีสำหรับสินค้าที่เป็นโทษต่อร่างกาย
และมีผลิตภัณฑ์เบียร์ใหม่เข้าสู่ตลาด และ
เป็นการเพิ่มขึ้นตามภาษีอากรขาเข้าที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 10.9 เนื่องจากการอ่อนค่าของเงินบาท ถึงแม้ว่าเศรษฐกิจชะลอตัว
สำหรับรายได้ที่มิใช่ภาษีอากรชะลอลง จากระยะเดียวกันปีก่อน (ร้อยละ 13.6 ในปี 2544 เปรียบเทียบกับร้อยละ 18.8 ในปี
2543) และชะลอตัวลงค่อนข้างมากจากไตรมาสก่อน เนื่องจาก ไตรมาสที่แล้วมีการนำส่งกำไรของรัฐวิสาหกิจจากปี งบประมาณ 2543
รายได้รัฐบาล (พันล้านบาท)
ปีงบประมาณ
2543 2544
ไตรมาส 2 ไตรมาส 3P/ สะสม 9 เดือน P/
รายได้ทั้งหมด 709.9 171.7 232.1 567.9
(-2.4) (-4.8) -10.4 -2.2
ภาษี 620.1 150.2 207.8 507.4
(-4.5) (-9.5) -10.1 -2.3
ฐานรายได้ 234.4 42.9 80.4 163.4
(-5.8) (-25.8) -10.6 -0.4
บุคคลธรรมดา 101.2 29.1 23.9 75.2
(-14.8) -8.3 -11.1 -11.5
นิติบุคคล 101.3 13.8 56.5 88.2
-11.6 (-55.4) -10.4 (-7.4)
ฐานการบริโภค 319.3 78.5 84.4 244
(-4.6) (-3.5) -7.5 -0.8
มูลค่าเพิ่ม 131.9 31.8 36.6 105.7
(-18.7) (-7.9) -5.6 -0.6
สรรพสามิต 163.6 43.7 44.6 129
-7.3 -3 -13 -4.5
ฐานการค้าระหว่างประเทศประเทศ 66.4 22 22.4 67.2
-1 -8.8 -10.9 -7.6
รายได้อื่น 89.8 21.5 24.3 60.6
-15.2 -50.5 -13.6 -1.1
P/ ข้อมูลเบื้องต้น
ที่มา: กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลังและธนาคารแห่งประเทศไทย
รายจ่าย
รัฐบาลมีรายจ่ายทั้งสิ้น 219.8 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.9 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อนโดยจำแนกเป็นรายจ่ายจากปี
งบประมาณ ปีปัจจุบันและปีก่อน (carry-over) จำนวน 205.0 และ 14.8 พันล้านบาท ตามลำดับ
การเบิกจ่ายสะสม 9 เดือนแรกของปี งบประมาณมีจำนวนทั้งสิ้น 648.9 พันล้านบาท เพิ่มขึ้นร้อยละ 2.3 จากช่วงเดียวกันปีก่อน
โดยมีอัตราเบิกจ่ายร้อยละ 63.6 ใกล้เคียงกับปีก่อน คาดว่าทั้งปีงบประมาณอัตราเบิกจ่ายจะเป็นร้อยละ 90.5
สำหรับรายจ่ายจำแนกตามลักษณะเศรษฐกิจในช่วง 8 เดือนแรกของปีงบประมาณ 2544 ปรากฏว่ารายจ่ายประจำเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.7
โดยรายจ่ายเงินเดือนและค่าจ้างเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.0 แสดงถึงการควบคุมรายจ่ายประจำของรัฐบาล ขณะที่ การซื้อสินค้าและบริการเพิ่มขึ้น
ร้อยละ 10.4 ส่วนรายจ่ายดอกเบี้ยเพิ่มขึ้นร้อยละ 14.0 จากการกู้เงินเพื่อชดเชยการขาดดุลในช่วง 2 ปีที่ผ่านมา ขณะที่รายจ่ายลงทุนลดลง
ร้อยละ 15.0
รายจ่ายจำแนกตามลักษณะงาน พบว่า รายจ่ายอื่นๆ ยังคงขยายตัวร้อยละ 6.6 โดยต่อเนื่องโดยเฉพาะจากรายจ่ายดอกเบี้ย
พันธบัตรรัฐบาล รายจ่ายด้านสังคมก็เพิ่มขึ้นต่อเนื่อง โดยเฉพาะ รายจ่ายการสังคมสงเคราะห์ เพิ่มขึ้นร้อยละ 11.1
รายจ่ายรัฐบาลในช่วง 8 เดือนแรกของปีงบประมาณ
จำแนกตามลักษณะเศรษฐกิจ
(พันล้านบาท)
2542 2543 2544
รายจ่ายจริง 532.8 563 575.9
รายจ่ายประจำ 388.1 428.7 461.8
(D %) -21.7 -10.5 -7.7
เงินเดือนและค่าจ้าง 196.7 200.5 206.6
ซื้อสินค้าและบริการ 87.5 90.3 99.7
ดอกเบี้ย 26.5 35.7 40.7
รายจ่ายลงทุน 144.7 134.3 114.1
(D %) (-22.8) (-7.2) (-15.0)
ที่มา: กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลังและธนาคารแห่งประเทศไทย
รายจ่ายรัฐบาลในช่วง 8 เดือนแรกของปีงบประมาณ
จำแนกตามลักษณะงาน
(พันล้านบาท)
2542 2543 2544
การบริหารทั่วไป 109.8 111.8 117.6
(D %) (-6.3) -1.8 -5.2
การบริการชุมชน 246.9 253.4 262.6
(D %) -13.3 -2.6 -3.6
การศึกษา 145.5 147.9 154.5
การสังคมสงเคราะห์ 41.6 36.9 41
การเศรษฐกิจ 119 128.1 121.4
(D %) (-10.5) -7.7 (-5.2)
อื่นๆ 57.1 69.7 74.3
(D %) -49.3 -22.1 -6.6
รวม 532.8 563 575.9
(D %) -5.2 -5.7 -2.3
ที่มา : กรมบัญชีกลาง กระทรวงการคลังและธนาคารแห่งประเทศไทย
--ธนาคารแห่งประเทศไทย--
-ปส-