1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาภายในประเทศ ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาที่เกษตรกรขายได้ของผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 0.92 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 8.63 บาท ราคาลดลงจากกก.ละ 8.88 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.82
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
คาดการ อุปสงค์/อุปทาน น้ำมันปาล์มของมาเลเซีย เป็นดังนี้
หน่วย : พันตัน รายการ เมย. พค. มิย. กค. สต็อกยกมา 1,428 1,180 1,100-1,110 1,060-1,070 นำเข้า 10 - - - ผลผลิต 907 940-945 985-990 1,030-1,035 อุปทานรวม 2,165 2,120-2,125 2,085-2,100 2,090-2,105 ส่งออก 840 860-865 865-875 880-885 ใช้ภายใน 145 150-155 150-155 155-160 สต็อกสิ้นเดือน 1,180 1,100-1,110 1,060-1,070 1,045-1,055
ณ สิ้นเดือนเมษายนที่ผ่านมาคาดว่าสต็อกคงเหลือน้ำมันปาล์มของมาเลเซียมีเท่ากับ 1.18 ล้านตันลดลงจากเดือนมีนาคมซึ่งมี 1.25 ล้านตัน ทั้งนี้เนื่องจากผลผลิตที่ผลิตได้โน้มตัวลดลง สำหรับความเคลื่อนไหวของราคาในสัปดาห์ค่อนข้างมาก เพราะผู้ค้าต่างดูท่าทีของอินเดียซึ่งเป็นประเทศผู้นำเข้ารายใหญ่ที่สุดของโลกในการกำหนดนโยบายควบคุมการนำเข้าน้ำมันพืช โดยคาดว่าอินเดียจะอนุญาตให้มีการนำเข้าน้ำมันพืชผ่านท่าเรือบางแห่งเท่านั้น
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์เฉลี่ยตันละ 723.92 ดอลลาร์มาเลเซีย (8.76 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 746.60 ดอลลาร์มาเลเซีย (8.99 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.04
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์เฉลี่ยตันละ 222.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.62 บาท/กก.) ราคาลดลงจากตันละ 235.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.72 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.32
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 3 วัน
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 17 ประจำวันที่ 7-13 พ.ค. 2544--
-สส-
ราคาที่เกษตรกรขายได้ของผลปาล์มทะลาย สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 0.92 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งน้ำมันปาล์มดิบ สัปดาห์นี้เฉลี่ย กก.ละ 8.63 บาท ราคาลดลงจากกก.ละ 8.88 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.82
2. ภาวะการผลิต การตลาด และราคาในตลาดต่างประเทศ
คาดการ อุปสงค์/อุปทาน น้ำมันปาล์มของมาเลเซีย เป็นดังนี้
หน่วย : พันตัน รายการ เมย. พค. มิย. กค. สต็อกยกมา 1,428 1,180 1,100-1,110 1,060-1,070 นำเข้า 10 - - - ผลผลิต 907 940-945 985-990 1,030-1,035 อุปทานรวม 2,165 2,120-2,125 2,085-2,100 2,090-2,105 ส่งออก 840 860-865 865-875 880-885 ใช้ภายใน 145 150-155 150-155 155-160 สต็อกสิ้นเดือน 1,180 1,100-1,110 1,060-1,070 1,045-1,055
ณ สิ้นเดือนเมษายนที่ผ่านมาคาดว่าสต็อกคงเหลือน้ำมันปาล์มของมาเลเซียมีเท่ากับ 1.18 ล้านตันลดลงจากเดือนมีนาคมซึ่งมี 1.25 ล้านตัน ทั้งนี้เนื่องจากผลผลิตที่ผลิตได้โน้มตัวลดลง สำหรับความเคลื่อนไหวของราคาในสัปดาห์ค่อนข้างมาก เพราะผู้ค้าต่างดูท่าทีของอินเดียซึ่งเป็นประเทศผู้นำเข้ารายใหญ่ที่สุดของโลกในการกำหนดนโยบายควบคุมการนำเข้าน้ำมันพืช โดยคาดว่าอินเดียจะอนุญาตให้มีการนำเข้าน้ำมันพืชผ่านท่าเรือบางแห่งเท่านั้น
ราคาในตลาดต่างประเทศ
ตลาดมาเลเซีย ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์เฉลี่ยตันละ 723.92 ดอลลาร์มาเลเซีย (8.76 บาท/กก.) ลดลงจากตันละ 746.60 ดอลลาร์มาเลเซีย (8.99 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.04
ตลาดรอตเตอร์ดัม ราคาซื้อขายล่วงหน้าน้ำมันปาล์มดิบสัปดาห์เฉลี่ยตันละ 222.50 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.62 บาท/กก.) ราคาลดลงจากตันละ 235.00 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10.72 บาท/กก.) ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.32
หมายเหตุ : ราคาในตลาดต่างประเทศเฉลี่ย 3 วัน
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 17 ประจำวันที่ 7-13 พ.ค. 2544--
-สส-