ข่าวในประเทศ
1. หน่วยงานจัดเก็บภาษีเตรียมเสนอแผนจัดเก็บรายได้เพื่อจัด งปม. สมดุลภายใน 5 ปี รมช.คลัง (ร.อ. สุชาติ เชาว์วิศิษฐ) เปิดเผยว่า กรมสรรพากร กรมศุลกากร กรมสรรพสามิต และสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) เตรียมแผนการจัดเก็บรายได้ 5 ปี ตามที่ ก.คลังได้มอบหมายไว้เสร็จเรียบร้อยแล้ว เพื่อรอเสนอ รมว.คลังพิจารณาเพื่อนำไปทำแผนและร่วมกำหนดนโยบายจัดทำ งปม. ให้มีความสมดุลในระยะ 5 ปีข้างหน้า โดยจะจัดเก็บรายได้ให้เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 10 ต่อปี รวมทั้งเตรียมจัดเก็บภาษีใหม่นอกเหนือจากที่จัดเก็บอยู่ในปัจจุบัน เช่น ภาษีทรัพย์สินหรือมรดก ภาษีที่เกี่ยวกับรายรับ-รายจ่าย และความมั่งคั่ง และจะทยอยนำออกใช้ปีละ 1-2 ประเภท เพื่อให้สอดคล้องกับเป้าหมายแผนยุทธศาสตร์ที่วางไว้ (โลกวันนี้, ไทยรัฐ, มติชน 23)
2. ก.คลังเตรียมออกตั๋วเงินคลังแทน พธบ. ออมทรัพย์ รองผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลังและผู้อำนวยการสำนักบริหารหนี้สาธารณะ เปิดเผยว่า วงเงินที่เหลือจากการจำหน่าย พธบ. ออมทรัพย์อีก 2.1 พัน ล.บาท จากวงเงินรวม 2 หมื่น ล.บาท ก.คลังจะเปลี่ยนมากู้ในรูปของตั๋วเงินคลังแทน เพื่อให้การกู้เงินชดเชยการขาดดุล งปม.รายจ่ายปี 44 เต็มวงเงิน 1.05 แสน ล.บาท ซึ่งการกู้เงินโดยการออกตั๋วเงินคลังจะมีภาระที่ต่ำกว่าเพราะมีอัตราดอกเบี้ยเพียงร้อยละ 2 ขณะที่ พธบ. มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 4.75-5.7 สำหรับการจำหน่าย พธบ. ที่ไม่สามารถจำหน่ายได้เต็มวงเงิน เนื่องจากมีหลักเกณฑ์การจองซื้อรายละ 4 ล.บาท ทำให้สหกรณ์และมูลนิธิซึ่งมีเงินมากไม่สามารถลงทุนได้ (มติชน, ผู้จัดการรายวัน 23)
3. ตัวเลขเอ็นพีแอลของ ธพ.ทั้งระบบ ณ สิ้นเดือน ก.ค.44 รายงานข่าวจากธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) เปิดเผยตัวเลขยอดคงค้างหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (เอ็นพีแอล) ของ ธพ.ทั้งระบบ ณ สิ้นเดือน ก.ค.44 ว่ามีจำนวนทั้งสิ้น 569,391.83 ล.บาท เพิ่มขึ้นจากเดือน มิ.ย. ที่มีจำนวน 561,256 ล.บาท หรือเพิ่มขึ้นประมาณ 8,135 ล.บาท โดยแบ่งเป็นเอ็นพีแอลของ ธพ.เอกชนจำนวน 476,859.47 ล.บาท และ ธพ.ของรัฐจำนวน 92,532.36 ล.บาท ในส่วนของ ธพ.เอกชนจำแนกรายธนาคาร ธ.กรุงเทพมียอดเอ็นพีแอลจำนวน 134,729.45 ล.บาท ธ.กรุงศรีอยุธยา 71,258.65 ล.บาท ธ.กสิกรไทย 68,340.01 ล.บาท ธ.ดีบีเอสไทยทนุ 4,598.12 ล.บาท ธ.ทหารไทย 60,643.10 ล.บาท ธ.ไทยพาณิชย์ 105,988.14 ล.บาท ธ.ยูโอบีรัตนสิน 315.52 ล.บาท ธ.สแตนดาร์ดชาร์เตอร์ดนครธน 1,174.05 ล.บาท และ ธ.เอเชีย 29,812.43 ล.บาท สำหรับ ธพ.ของรัฐ จำแนกรายธนาคาร ธ.กรุงไทยมียอดเอ็นพีแอลจำนวน 68,355.96 ล.บาท ธ.ไทยธนาคาร 7,172.60 ล.บาท ธ.นครหลวงไทย 31.62 ล.บาท และ ธ.ศรีนคร 16,972.18 ล.บาท (ผู้จัดการรายวัน, ไทยรัฐ 23)
4. ผลการประมูล พธบ.เพื่อการปรับโครงสร้างหนี้ รายงานข่าวจากธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) แจ้งผลการประมูล พธบ.รัฐบาลเพื่อการปรับโครงสร้างหนี้ จำนวน 2 รุ่น วงเงิน 4,000 ล.บาท แบ่งเป็นรุ่นอายุ 5 ปี วงเงิน 2,000 ล.บาท และรุ่นอายุ 20 ปี วงเงิน 2,000 ล.บาท โดย พธบ.รุ่นอายุ 5 ปี ขายในอัตราบวกค่าพรีเมี่ยม ส่วน พธบ.รุ่นอายุ 20 ปี ขายในอัตราส่วนลด (ผู้จัดการรายวัน 23)
ข่าวต่างประเทศ
1. ญี่ปุ่นเกินดุลการค้าลดลงร้อยละ 57.9 ในเดือน ก.ค. 44 รายงานจากโตเกียวเมื่อ 23 ส.ค. 44 ก. คลัง เปิดเผยว่า ญี่ปุ่นเกินดุลการค้าจำนวน 420.7 พัน ล. เยน (3.49 พัน ล. ดอลลาร์ สรอ.) ในเดือน ก.ค. 44 ลดลงร้อยละ 57.9 จากเดือนเดียวกันของปี 43 ที่มีจำนวน 1 ล้านล้านเยน ซึ่งเป็นไปตามความคาดหมาย เนื่องจากความต้องการสินค้าจากทั่วโลกลดลง ขณะที่การนำเข้าสินค้าเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ ในเดือน ก.ค. ญี่ปุ่นเกินดุลการค้ากับ สรอ. ซึ่งประเทศคู่ค้ารายใหญ่ที่สุด ลดลงร้อยละ 0.5 เทียบปีต่อปี อยู่ที่จำนวน 618 พัน ล. เยน หลังจากที่ลดลงร้อยละ 8.3 ในเดือน มิ.ย. 44 อนึ่ง การเกินดุลการค้าของญี่ปุ่นที่เคยมีจำนวนมหาศาลได้ลดลงอย่างต่อเนื่องในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา และมีความผันผวนจนถึงขั้นขาดดุลการค้าเป็นครั้งแรกในรอบ 4 ปี เมื่อเดือน ม.ค. 44 (รอยเตอร์23)
2. คำสั่งซื้อสินค้าของต่างประเทศจากไต้หวันเดือน ก.ค.44 ลดลงต่ำกว่าที่คาดการณ์ไว้ รายงานจากไทเป เมื่อ 22 ส.ค.44 ก.เศรษฐกิจไต้หวันเปิดเผยว่า เดือน ก.ค.44 คำสั่งซื้อสินค้าของต่างประเทศจากไต้หวันลดลงร้อยละ 16.8 เมื่อเทียบเดือนเดียวกันของปี 43 ขณะที่นักเศรษฐศาสตร์คาดการณ์ไว้ว่าจะลดลงเฉลี่ยร้อยละ 14.9 ทั้งนี้เป็นการลดลงอย่างมากในคำสั่งซื้อสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ถึงร้อยละ 36.17 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปี 43 คำสั่งซื้อที่ลดลงในเดือน ก.ค.44 เนื่องจากได้รับผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัวของ สรอ. ซึ่งเป็นประเทศคู่ค้าการส่งออกรายใหญ่ที่สุดของไต้หวัน (รอยเตอร์ 22)
3. ผลผลิตอุตสาหกรรมโดยรวมของไต้หวันลดลงร้อยละ 10.4 ในเดือน ก.ค.44 รายงานจากไทเปเมื่อ 22 ส.ค.44 Ministry of Economic Affair เปิดเผยว่า เดือน ก.ค.44 ผลผลิตอุตสาหกรรมโดยรวมลดลงร้อยละ 10.4 เทียบต่อปี จากที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.2 ในเดือน ก.ค.43 และใกล้เคียงกับที่นักเศรษฐกิจคาดไว้ว่าจะลดลงร้อยละ 10.2 โดยภาคอุตสาหกรรมการผลิตที่ลดลงร้อยละ 11.1 ในเดือน ก.ค.44 นั้น เป็นการลดลงของอุตสาหกรรมประเภทสารสนเทศ/อิเล็กทรอนิกส์ร้อยละ 15.4 อสังหาริมทรัพย์/ก่อสร้างลดลงร้อยละ 17.8 การที่ผลผลิตอุตสาหกรรมในเดือน ก.ค.หดตัวลง เนื่องเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัวอย่างต่อเนื่อง ฉุดให้การส่งออกลดลงอย่างยืดเยื้อ ขณะที่อุปสงค์ในประเทศโน้มต่ำลงและพายุไต้ฝุ่นที่เกิดขึ้นเมื่อปลายเดือนดังกล่าวก็ส่งผลให้วันทำงานลดลง(รอยเตอร์ 22)
4. ดัชนีบรรยากาศภาวะธุรกิจของเยอรมนีเพิ่มขึ้นในเดือน ก.ค. 44 รายงานจากแฟรงก์เฟิร์ตเมื่อ 22 ส.ค. 44 สถาบันวิจัยเศรษฐกิจ Ifo เปิดเผยผลการสำรวจรายเดือนจากบริษัทธุรกิจจำนวน 7,000 บริษัท พบว่าดัชนีความเชื่อมั่นภาวะธุรกิจ ในเดือน ก.ค. 44 เพิ่มขึ้นอย่างไม่คาดหมาย อยู่ที่ระดับ 89.8 นับเป็นการเพิ่มขึ้นครั้งแรกในรอบ 6 เดือน จากระดับ 89.5 ในเดือน มิ.ย. 44 และดีกว่าที่นักเศรษฐศาสตร์คาดไว้ว่าจะลดลงอยู่ที่ระดับ 88.6 รายงานครั้งนี้ เกื้อหนุนว่าเศรษฐกิจของเยอรมนี ซึ่งเป็นประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในยุโรป เริ่มมีความหวังว่าอาจจะเริ่มหลุดพ้นจากภาวะเศรษฐกิจที่ซบเซา(รอยเตอร์22)
อัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยเงินบาท/ดอลลาร์ สรอ.ระหว่างธนาคาร ณ สิ้นวันทำการ 22 ส.ค. 44 44.629 (44.783)
อัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยเงินบาท/ดอลลาร์สรอ.ที่ ธพ.ซื้อขายกับลูกค้า(ตั๋วเงิน) ณ สิ้นวันทำการ 22 ส.ค. 44ซื้อ 44.5278 (44.6237) ขาย 44.8253 (44.9147)
ทองคำแท่ง(บาทละ) ซื้อ 5,800 (5,800) ขาย 5,900 (5,900)
น้ำมันดิบ(ดอลลาร์ สรอ./บาร์เรล) โอมาน 24.15 (24.60)
น้ำมันเบนซินพิเศษ(เพอร์ฟอร์มาโกลด์) 15.09 (15.09) ดีเซลหมุนเร็ว 13.94 (13.94)
หมายเหตุ ตัวเลขในวงเล็บเป็นตัวเลขของวันก่อน
--ธนาคารแห่งประเทศไทย--
-ยก-
สรุปข่าวประจำวัน23 สิงหาคม 2544ข่าวในประเทศ1. หน่วยงานจัดเก็บภาษีเตรียมเสนอแผนจัดเก็บรายได้เพื่อจัด งปม. สมดุลภายใน 5 ปี รมช.คลัง (ร.อ. สุชาติ เชาว์วิศิษฐ) เปิดเผยว่า กรมสรรพากร กรมศุลกากร กรมสรรพสามิต และสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) เตรียมแผนการจัดเก็บรายได้ 5 ปี ตามที่ ก.คลังได้มอบหมายไว้เสร็จเรียบร้อยแล้ว เพื่อรอเสนอ รมว.คลังพิจารณาเพื่อนำไปทำแผนและร่วมกำหนดนโยบายจัดทำ งปม. ให้มีความสมดุลในระยะ 5 ปีข้างหน้า โดยจะจัดเก็บรายได้ให้เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 10 ต่อปี รวมทั้งเตรียมจัดเก็บภาษีใหม่นอกเหนือจากที่จัดเก็บอยู่ในปัจจุบัน เช่น ภาษีทรัพย์สินหรือมรดก ภาษีที่เกี่ยวกับรายรับ-รายจ่าย และความมั่งคั่ง และจะทยอยนำออกใช้ปีละ 1-2 ประเภท เพื่อให้สอดคล้องกับเป้าหมายแผนยุทธศาสตร์ที่วางไว้ (โลกวันนี้, ไทยรัฐ, มติชน 23)2. ก.คลังเตรียมออกตั๋วเงินคลังแทน พธบ. ออมทรัพย์ รองผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลังและผู้อำนวยการสำนักบริหารหนี้สาธารณะ เปิดเผยว่า วงเงินที่เหลือจากการจำหน่าย พธบ. ออมทรัพย์อีก 2.1 พัน ล.บาท จากวงเงินรวม 2 หมื่น ล.บาท ก.คลังจะเปลี่ยนมากู้ในรูปของตั๋วเงินคลังแทน เพื่อให้การกู้เงินชดเชยการขาดดุล งปม.รายจ่ายปี 44 เต็มวงเงิน 1.05 แสน ล.บาท ซึ่งการกู้เงินโดยการออกตั๋วเงินคลังจะมีภาระที่ต่ำกว่าเพราะมีอัตราดอกเบี้ยเพียงร้อยละ 2 ขณะที่ พธบ. มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 4.75-5.7 สำหรับการจำหน่าย พธบ. ที่ไม่สามารถจำหน่ายได้เต็มวงเงิน เนื่องจากมีหลักเกณฑ์การจองซื้อรายละ 4 ล.บาท ทำให้สหกรณ์และมูลนิธิซึ่งมีเงินมากไม่สามารถลงทุนได้ (มติชน, ผู้จัดการรายวัน 23)3. ตัวเลขเอ็นพีแอลของ ธพ.ทั้งระบบ ณ สิ้นเดือน ก.ค.44 รายงานข่าวจากธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) เปิดเผยตัวเลขยอดคงค้างหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (เอ็นพีแอล) ของ ธพ.ทั้งระบบ ณ สิ้นเดือน ก.ค.44 ว่ามีจำนวนทั้งสิ้น 569,391.83 ล.บาท เพิ่มขึ้นจากเดือน มิ.ย. ที่มีจำนวน 561,256 ล.บาท หรือเพิ่มขึ้นประมาณ 8,135 ล.บาท โดยแบ่งเป็นเอ็นพีแอลของ ธพ.เอกชนจำนวน 476,859.47 ล.บาท และ ธพ.ของรัฐจำนวน 92,532.36 ล.บาท ในส่วนของ ธพ.เอกชนจำแนกรายธนาคาร ธ.กรุงเทพมียอดเอ็นพีแอลจำนวน 134,729.45 ล.บาท ธ.กรุงศรีอยุธยา 71,258.65 ล.บาท ธ.กสิกรไทย 68,340.01 ล.บาท ธ.ดีบีเอสไทยทนุ 4,598.12 ล.บาท ธ.ทหารไทย 60,643.10 ล.บาท ธ.ไทยพาณิชย์ 105,988.14 ล.บาท ธ.ยูโอบีรัตนสิน 315.52 ล.บาท ธ.สแตนดาร์ดชาร์เตอร์ดนครธน 1,174.05 ล.บาท และ ธ.เอเชีย 29,812.43 ล.บาท สำหรับ ธพ.ของรัฐ จำแนกรายธนาคาร ธ.กรุงไทยมียอดเอ็นพีแอลจำนวน 68,355.96 ล.บาท ธ.ไทยธนาคาร 7,172.60 ล.บาท ธ.นครหลวงไทย 31.62 ล.บาท และ ธ.ศรีนคร 16,972.18 ล.บาท (ผู้จัดการรายวัน, ไทยรัฐ 23)4. ผลการประมูล พธบ.เพื่อการปรับโครงสร้างหนี้ รายงานข่าวจากธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) แจ้งผลการประมูล พธบ.รัฐบาลเพื่อการปรับโครงสร้างหนี้ จำนวน 2 รุ่น วงเงิน 4,000 ล.บาท แบ่งเป็นรุ่นอายุ 5 ปี วงเงิน 2,000 ล.บาท และรุ่นอายุ 20 ปี วงเงิน 2,000 ล.บาท โดย พธบ.รุ่นอายุ 5 ปี ขายในอัตราบวกค่าพรีเมี่ยม ส่วน พธบ.รุ่นอายุ 20 ปี ขายในอัตราส่วนลด (ผู้จัดการรายวัน 23)
ข่าวต่างประเทศ1. ญี่ปุ่นเกินดุลการค้าลดลงร้อยละ 57.9 ในเดือน ก.ค. 44 รายงานจากโตเกียวเมื่อ 23 ส.ค. 44 ก. คลัง เปิดเผยว่า ญี่ปุ่นเกินดุลการค้าจำนวน 420.7 พัน ล. เยน (3.49 พัน ล. ดอลลาร์ สรอ.) ในเดือน ก.ค. 44 ลดลงร้อยละ 57.9 จากเดือนเดียวกันของปี 43 ที่มีจำนวน 1 ล้านล้านเยน ซึ่งเป็นไปตามความคาดหมาย เนื่องจากความต้องการสินค้าจากทั่วโลกลดลง ขณะที่การนำเข้าสินค้าเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ ในเดือน ก.ค. ญี่ปุ่นเกินดุลการค้ากับ สรอ. ซึ่งประเทศคู่ค้ารายใหญ่ที่สุด ลดลงร้อยละ 0.5 เทียบปีต่อปี อยู่ที่จำนวน 618 พัน ล. เยน หลังจากที่ลดลงร้อยละ 8.3 ในเดือน มิ.ย. 44 อนึ่ง การเกินดุลการค้าของญี่ปุ่นที่เคยมีจำนวนมหาศาลได้ลดลงอย่างต่อเนื่องในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา และมีความผันผวนจนถึงขั้นขาดดุลการค้าเป็นครั้งแรกในรอบ 4 ปี เมื่อเดือน ม.ค. 44 (รอยเตอร์23)2. คำสั่งซื้อสินค้าของต่างประเทศจากไต้หวันเดือน ก.ค.44 ลดลงต่ำกว่าที่คาดการณ์ไว้ รายงานจากไทเป เมื่อ 22 ส.ค.44 ก.เศรษฐกิจไต้หวันเปิดเผยว่า เดือน ก.ค.44 คำสั่งซื้อสินค้าของต่างประเทศจากไต้หวันลดลงร้อยละ 16.8 เมื่อเทียบเดือนเดียวกันของปี 43 ขณะที่นักเศรษฐศาสตร์คาดการณ์ไว้ว่าจะลดลงเฉลี่ยร้อยละ 14.9 ทั้งนี้เป็นการลดลงอย่างมากในคำสั่งซื้อสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ถึงร้อยละ 36.17 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปี 43 คำสั่งซื้อที่ลดลงในเดือน ก.ค.44 เนื่องจากได้รับผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัวของ สรอ. ซึ่งเป็นประเทศคู่ค้าการส่งออกรายใหญ่ที่สุดของไต้หวัน (รอยเตอร์ 22)3. ผลผลิตอุตสาหกรรมโดยรวมของไต้หวันลดลงร้อยละ 10.4 ในเดือน ก.ค.44 รายงานจากไทเปเมื่อ 22 ส.ค.44 Ministry of Economic Affair เปิดเผยว่า เดือน ก.ค.44 ผลผลิตอุตสาหกรรมโดยรวมลดลงร้อยละ 10.4 เทียบต่อปี จากที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.2 ในเดือน ก.ค.43 และใกล้เคียงกับที่นักเศรษฐกิจคาดไว้ว่าจะลดลงร้อยละ 10.2 โดยภาคอุตสาหกรรมการผลิตที่ลดลงร้อยละ 11.1 ในเดือน ก.ค.44 นั้น เป็นการลดลงของอุตสาหกรรมประเภทสารสนเทศ/อิเล็กทรอนิกส์ร้อยละ 15.4 อสังหาริมทรัพย์/ก่อสร้างลดลงร้อยละ 17.8 การที่ผลผลิตอุตสาหกรรมในเดือน ก.ค.หดตัวลง เนื่องเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัวอย่างต่อเนื่อง ฉุดให้การส่งออกลดลงอย่างยืดเยื้อ ขณะที่อุปสงค์ในประเทศโน้มต่ำลงและพายุไต้ฝุ่นที่เกิดขึ้นเมื่อปลายเดือนดังกล่าวก็ส่งผลให้วันทำงานลดลง(รอยเตอร์ 22)4. ดัชนีบรรยากาศภาวะธุรกิจของเยอรมนีเพิ่มขึ้นในเดือน ก.ค. 44 รายงานจากแฟรงก์เฟิร์ตเมื่อ 22 ส.ค. 44 สถาบันวิจัยเศรษฐกิจ Ifo เปิดเผยผลการสำรวจรายเดือนจากบริษัทธุรกิจจำนวน 7,000 บริษัท พบว่าดัชนีความเชื่อมั่นภาวะธุรกิจ ในเดือน ก.ค. 44 เพิ่มขึ้นอย่างไม่คาดหมาย อยู่ที่ระดับ 89.8 นับเป็นการเพิ่มขึ้นครั้งแรกในรอบ 6 เดือน จากระดับ 89.5 ในเดือน มิ.ย. 44 และดีกว่าที่นักเศรษฐศาสตร์คาดไว้ว่าจะลดลงอยู่ที่ระดับ 88.6 รายงานครั้งนี้ เกื้อหนุนว่าเศรษฐกิจของเยอรมนี ซึ่งเป็นประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในยุโรป เริ่มมีความหวังว่าอาจจะเริ่มหลุดพ้นจากภาวะเศรษฐกิจที่ซบเซา(รอยเตอร์22)อัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยเงินบาท/ดอลลาร์ สรอ.ระหว่างธนาคาร ณ สิ้นวันทำการ 22 ส.ค. 44 44.629 (44.783)อัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยเงินบาท/ดอลลาร์สรอ.ที่ ธพ.ซื้อขายกับลูกค้า(ตั๋วเงิน) ณ สิ้นวันทำการ 22 ส.ค. 44ซื้อ 44.5278 (44.6237) ขาย 44.8253 (44.9147)ทองคำแท่ง(บาทละ) ซื้อ 5,800 (5,800) ขาย 5,900 (5,900)น้ำมันดิบ(ดอลลาร์ สรอ./บาร์เรล) โอมาน 24.15 (24.60)น้ำมันเบนซินพิเศษ(เพอร์ฟอร์มาโกลด์) 15.09 (15.09) ดีเซลหมุนเร็ว 13.94 (13.94)หมายเหตุ ตัวเลขในวงเล็บเป็นตัวเลขของวันก่อน
1. หน่วยงานจัดเก็บภาษีเตรียมเสนอแผนจัดเก็บรายได้เพื่อจัด งปม. สมดุลภายใน 5 ปี รมช.คลัง (ร.อ. สุชาติ เชาว์วิศิษฐ) เปิดเผยว่า กรมสรรพากร กรมศุลกากร กรมสรรพสามิต และสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) เตรียมแผนการจัดเก็บรายได้ 5 ปี ตามที่ ก.คลังได้มอบหมายไว้เสร็จเรียบร้อยแล้ว เพื่อรอเสนอ รมว.คลังพิจารณาเพื่อนำไปทำแผนและร่วมกำหนดนโยบายจัดทำ งปม. ให้มีความสมดุลในระยะ 5 ปีข้างหน้า โดยจะจัดเก็บรายได้ให้เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 10 ต่อปี รวมทั้งเตรียมจัดเก็บภาษีใหม่นอกเหนือจากที่จัดเก็บอยู่ในปัจจุบัน เช่น ภาษีทรัพย์สินหรือมรดก ภาษีที่เกี่ยวกับรายรับ-รายจ่าย และความมั่งคั่ง และจะทยอยนำออกใช้ปีละ 1-2 ประเภท เพื่อให้สอดคล้องกับเป้าหมายแผนยุทธศาสตร์ที่วางไว้ (โลกวันนี้, ไทยรัฐ, มติชน 23)
2. ก.คลังเตรียมออกตั๋วเงินคลังแทน พธบ. ออมทรัพย์ รองผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลังและผู้อำนวยการสำนักบริหารหนี้สาธารณะ เปิดเผยว่า วงเงินที่เหลือจากการจำหน่าย พธบ. ออมทรัพย์อีก 2.1 พัน ล.บาท จากวงเงินรวม 2 หมื่น ล.บาท ก.คลังจะเปลี่ยนมากู้ในรูปของตั๋วเงินคลังแทน เพื่อให้การกู้เงินชดเชยการขาดดุล งปม.รายจ่ายปี 44 เต็มวงเงิน 1.05 แสน ล.บาท ซึ่งการกู้เงินโดยการออกตั๋วเงินคลังจะมีภาระที่ต่ำกว่าเพราะมีอัตราดอกเบี้ยเพียงร้อยละ 2 ขณะที่ พธบ. มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 4.75-5.7 สำหรับการจำหน่าย พธบ. ที่ไม่สามารถจำหน่ายได้เต็มวงเงิน เนื่องจากมีหลักเกณฑ์การจองซื้อรายละ 4 ล.บาท ทำให้สหกรณ์และมูลนิธิซึ่งมีเงินมากไม่สามารถลงทุนได้ (มติชน, ผู้จัดการรายวัน 23)
3. ตัวเลขเอ็นพีแอลของ ธพ.ทั้งระบบ ณ สิ้นเดือน ก.ค.44 รายงานข่าวจากธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) เปิดเผยตัวเลขยอดคงค้างหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (เอ็นพีแอล) ของ ธพ.ทั้งระบบ ณ สิ้นเดือน ก.ค.44 ว่ามีจำนวนทั้งสิ้น 569,391.83 ล.บาท เพิ่มขึ้นจากเดือน มิ.ย. ที่มีจำนวน 561,256 ล.บาท หรือเพิ่มขึ้นประมาณ 8,135 ล.บาท โดยแบ่งเป็นเอ็นพีแอลของ ธพ.เอกชนจำนวน 476,859.47 ล.บาท และ ธพ.ของรัฐจำนวน 92,532.36 ล.บาท ในส่วนของ ธพ.เอกชนจำแนกรายธนาคาร ธ.กรุงเทพมียอดเอ็นพีแอลจำนวน 134,729.45 ล.บาท ธ.กรุงศรีอยุธยา 71,258.65 ล.บาท ธ.กสิกรไทย 68,340.01 ล.บาท ธ.ดีบีเอสไทยทนุ 4,598.12 ล.บาท ธ.ทหารไทย 60,643.10 ล.บาท ธ.ไทยพาณิชย์ 105,988.14 ล.บาท ธ.ยูโอบีรัตนสิน 315.52 ล.บาท ธ.สแตนดาร์ดชาร์เตอร์ดนครธน 1,174.05 ล.บาท และ ธ.เอเชีย 29,812.43 ล.บาท สำหรับ ธพ.ของรัฐ จำแนกรายธนาคาร ธ.กรุงไทยมียอดเอ็นพีแอลจำนวน 68,355.96 ล.บาท ธ.ไทยธนาคาร 7,172.60 ล.บาท ธ.นครหลวงไทย 31.62 ล.บาท และ ธ.ศรีนคร 16,972.18 ล.บาท (ผู้จัดการรายวัน, ไทยรัฐ 23)
4. ผลการประมูล พธบ.เพื่อการปรับโครงสร้างหนี้ รายงานข่าวจากธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) แจ้งผลการประมูล พธบ.รัฐบาลเพื่อการปรับโครงสร้างหนี้ จำนวน 2 รุ่น วงเงิน 4,000 ล.บาท แบ่งเป็นรุ่นอายุ 5 ปี วงเงิน 2,000 ล.บาท และรุ่นอายุ 20 ปี วงเงิน 2,000 ล.บาท โดย พธบ.รุ่นอายุ 5 ปี ขายในอัตราบวกค่าพรีเมี่ยม ส่วน พธบ.รุ่นอายุ 20 ปี ขายในอัตราส่วนลด (ผู้จัดการรายวัน 23)
ข่าวต่างประเทศ
1. ญี่ปุ่นเกินดุลการค้าลดลงร้อยละ 57.9 ในเดือน ก.ค. 44 รายงานจากโตเกียวเมื่อ 23 ส.ค. 44 ก. คลัง เปิดเผยว่า ญี่ปุ่นเกินดุลการค้าจำนวน 420.7 พัน ล. เยน (3.49 พัน ล. ดอลลาร์ สรอ.) ในเดือน ก.ค. 44 ลดลงร้อยละ 57.9 จากเดือนเดียวกันของปี 43 ที่มีจำนวน 1 ล้านล้านเยน ซึ่งเป็นไปตามความคาดหมาย เนื่องจากความต้องการสินค้าจากทั่วโลกลดลง ขณะที่การนำเข้าสินค้าเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ ในเดือน ก.ค. ญี่ปุ่นเกินดุลการค้ากับ สรอ. ซึ่งประเทศคู่ค้ารายใหญ่ที่สุด ลดลงร้อยละ 0.5 เทียบปีต่อปี อยู่ที่จำนวน 618 พัน ล. เยน หลังจากที่ลดลงร้อยละ 8.3 ในเดือน มิ.ย. 44 อนึ่ง การเกินดุลการค้าของญี่ปุ่นที่เคยมีจำนวนมหาศาลได้ลดลงอย่างต่อเนื่องในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา และมีความผันผวนจนถึงขั้นขาดดุลการค้าเป็นครั้งแรกในรอบ 4 ปี เมื่อเดือน ม.ค. 44 (รอยเตอร์23)
2. คำสั่งซื้อสินค้าของต่างประเทศจากไต้หวันเดือน ก.ค.44 ลดลงต่ำกว่าที่คาดการณ์ไว้ รายงานจากไทเป เมื่อ 22 ส.ค.44 ก.เศรษฐกิจไต้หวันเปิดเผยว่า เดือน ก.ค.44 คำสั่งซื้อสินค้าของต่างประเทศจากไต้หวันลดลงร้อยละ 16.8 เมื่อเทียบเดือนเดียวกันของปี 43 ขณะที่นักเศรษฐศาสตร์คาดการณ์ไว้ว่าจะลดลงเฉลี่ยร้อยละ 14.9 ทั้งนี้เป็นการลดลงอย่างมากในคำสั่งซื้อสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ถึงร้อยละ 36.17 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปี 43 คำสั่งซื้อที่ลดลงในเดือน ก.ค.44 เนื่องจากได้รับผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัวของ สรอ. ซึ่งเป็นประเทศคู่ค้าการส่งออกรายใหญ่ที่สุดของไต้หวัน (รอยเตอร์ 22)
3. ผลผลิตอุตสาหกรรมโดยรวมของไต้หวันลดลงร้อยละ 10.4 ในเดือน ก.ค.44 รายงานจากไทเปเมื่อ 22 ส.ค.44 Ministry of Economic Affair เปิดเผยว่า เดือน ก.ค.44 ผลผลิตอุตสาหกรรมโดยรวมลดลงร้อยละ 10.4 เทียบต่อปี จากที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.2 ในเดือน ก.ค.43 และใกล้เคียงกับที่นักเศรษฐกิจคาดไว้ว่าจะลดลงร้อยละ 10.2 โดยภาคอุตสาหกรรมการผลิตที่ลดลงร้อยละ 11.1 ในเดือน ก.ค.44 นั้น เป็นการลดลงของอุตสาหกรรมประเภทสารสนเทศ/อิเล็กทรอนิกส์ร้อยละ 15.4 อสังหาริมทรัพย์/ก่อสร้างลดลงร้อยละ 17.8 การที่ผลผลิตอุตสาหกรรมในเดือน ก.ค.หดตัวลง เนื่องเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัวอย่างต่อเนื่อง ฉุดให้การส่งออกลดลงอย่างยืดเยื้อ ขณะที่อุปสงค์ในประเทศโน้มต่ำลงและพายุไต้ฝุ่นที่เกิดขึ้นเมื่อปลายเดือนดังกล่าวก็ส่งผลให้วันทำงานลดลง(รอยเตอร์ 22)
4. ดัชนีบรรยากาศภาวะธุรกิจของเยอรมนีเพิ่มขึ้นในเดือน ก.ค. 44 รายงานจากแฟรงก์เฟิร์ตเมื่อ 22 ส.ค. 44 สถาบันวิจัยเศรษฐกิจ Ifo เปิดเผยผลการสำรวจรายเดือนจากบริษัทธุรกิจจำนวน 7,000 บริษัท พบว่าดัชนีความเชื่อมั่นภาวะธุรกิจ ในเดือน ก.ค. 44 เพิ่มขึ้นอย่างไม่คาดหมาย อยู่ที่ระดับ 89.8 นับเป็นการเพิ่มขึ้นครั้งแรกในรอบ 6 เดือน จากระดับ 89.5 ในเดือน มิ.ย. 44 และดีกว่าที่นักเศรษฐศาสตร์คาดไว้ว่าจะลดลงอยู่ที่ระดับ 88.6 รายงานครั้งนี้ เกื้อหนุนว่าเศรษฐกิจของเยอรมนี ซึ่งเป็นประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในยุโรป เริ่มมีความหวังว่าอาจจะเริ่มหลุดพ้นจากภาวะเศรษฐกิจที่ซบเซา(รอยเตอร์22)
อัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยเงินบาท/ดอลลาร์ สรอ.ระหว่างธนาคาร ณ สิ้นวันทำการ 22 ส.ค. 44 44.629 (44.783)
อัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยเงินบาท/ดอลลาร์สรอ.ที่ ธพ.ซื้อขายกับลูกค้า(ตั๋วเงิน) ณ สิ้นวันทำการ 22 ส.ค. 44ซื้อ 44.5278 (44.6237) ขาย 44.8253 (44.9147)
ทองคำแท่ง(บาทละ) ซื้อ 5,800 (5,800) ขาย 5,900 (5,900)
น้ำมันดิบ(ดอลลาร์ สรอ./บาร์เรล) โอมาน 24.15 (24.60)
น้ำมันเบนซินพิเศษ(เพอร์ฟอร์มาโกลด์) 15.09 (15.09) ดีเซลหมุนเร็ว 13.94 (13.94)
หมายเหตุ ตัวเลขในวงเล็บเป็นตัวเลขของวันก่อน
--ธนาคารแห่งประเทศไทย--
-ยก-
สรุปข่าวประจำวัน23 สิงหาคม 2544ข่าวในประเทศ1. หน่วยงานจัดเก็บภาษีเตรียมเสนอแผนจัดเก็บรายได้เพื่อจัด งปม. สมดุลภายใน 5 ปี รมช.คลัง (ร.อ. สุชาติ เชาว์วิศิษฐ) เปิดเผยว่า กรมสรรพากร กรมศุลกากร กรมสรรพสามิต และสำนักงานเศรษฐกิจการคลัง (สศค.) เตรียมแผนการจัดเก็บรายได้ 5 ปี ตามที่ ก.คลังได้มอบหมายไว้เสร็จเรียบร้อยแล้ว เพื่อรอเสนอ รมว.คลังพิจารณาเพื่อนำไปทำแผนและร่วมกำหนดนโยบายจัดทำ งปม. ให้มีความสมดุลในระยะ 5 ปีข้างหน้า โดยจะจัดเก็บรายได้ให้เพิ่มขึ้นเฉลี่ยร้อยละ 10 ต่อปี รวมทั้งเตรียมจัดเก็บภาษีใหม่นอกเหนือจากที่จัดเก็บอยู่ในปัจจุบัน เช่น ภาษีทรัพย์สินหรือมรดก ภาษีที่เกี่ยวกับรายรับ-รายจ่าย และความมั่งคั่ง และจะทยอยนำออกใช้ปีละ 1-2 ประเภท เพื่อให้สอดคล้องกับเป้าหมายแผนยุทธศาสตร์ที่วางไว้ (โลกวันนี้, ไทยรัฐ, มติชน 23)2. ก.คลังเตรียมออกตั๋วเงินคลังแทน พธบ. ออมทรัพย์ รองผู้อำนวยการสำนักงานเศรษฐกิจการคลังและผู้อำนวยการสำนักบริหารหนี้สาธารณะ เปิดเผยว่า วงเงินที่เหลือจากการจำหน่าย พธบ. ออมทรัพย์อีก 2.1 พัน ล.บาท จากวงเงินรวม 2 หมื่น ล.บาท ก.คลังจะเปลี่ยนมากู้ในรูปของตั๋วเงินคลังแทน เพื่อให้การกู้เงินชดเชยการขาดดุล งปม.รายจ่ายปี 44 เต็มวงเงิน 1.05 แสน ล.บาท ซึ่งการกู้เงินโดยการออกตั๋วเงินคลังจะมีภาระที่ต่ำกว่าเพราะมีอัตราดอกเบี้ยเพียงร้อยละ 2 ขณะที่ พธบ. มีอัตราดอกเบี้ยร้อยละ 4.75-5.7 สำหรับการจำหน่าย พธบ. ที่ไม่สามารถจำหน่ายได้เต็มวงเงิน เนื่องจากมีหลักเกณฑ์การจองซื้อรายละ 4 ล.บาท ทำให้สหกรณ์และมูลนิธิซึ่งมีเงินมากไม่สามารถลงทุนได้ (มติชน, ผู้จัดการรายวัน 23)3. ตัวเลขเอ็นพีแอลของ ธพ.ทั้งระบบ ณ สิ้นเดือน ก.ค.44 รายงานข่าวจากธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) เปิดเผยตัวเลขยอดคงค้างหนี้ที่ไม่ก่อให้เกิดรายได้ (เอ็นพีแอล) ของ ธพ.ทั้งระบบ ณ สิ้นเดือน ก.ค.44 ว่ามีจำนวนทั้งสิ้น 569,391.83 ล.บาท เพิ่มขึ้นจากเดือน มิ.ย. ที่มีจำนวน 561,256 ล.บาท หรือเพิ่มขึ้นประมาณ 8,135 ล.บาท โดยแบ่งเป็นเอ็นพีแอลของ ธพ.เอกชนจำนวน 476,859.47 ล.บาท และ ธพ.ของรัฐจำนวน 92,532.36 ล.บาท ในส่วนของ ธพ.เอกชนจำแนกรายธนาคาร ธ.กรุงเทพมียอดเอ็นพีแอลจำนวน 134,729.45 ล.บาท ธ.กรุงศรีอยุธยา 71,258.65 ล.บาท ธ.กสิกรไทย 68,340.01 ล.บาท ธ.ดีบีเอสไทยทนุ 4,598.12 ล.บาท ธ.ทหารไทย 60,643.10 ล.บาท ธ.ไทยพาณิชย์ 105,988.14 ล.บาท ธ.ยูโอบีรัตนสิน 315.52 ล.บาท ธ.สแตนดาร์ดชาร์เตอร์ดนครธน 1,174.05 ล.บาท และ ธ.เอเชีย 29,812.43 ล.บาท สำหรับ ธพ.ของรัฐ จำแนกรายธนาคาร ธ.กรุงไทยมียอดเอ็นพีแอลจำนวน 68,355.96 ล.บาท ธ.ไทยธนาคาร 7,172.60 ล.บาท ธ.นครหลวงไทย 31.62 ล.บาท และ ธ.ศรีนคร 16,972.18 ล.บาท (ผู้จัดการรายวัน, ไทยรัฐ 23)4. ผลการประมูล พธบ.เพื่อการปรับโครงสร้างหนี้ รายงานข่าวจากธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) แจ้งผลการประมูล พธบ.รัฐบาลเพื่อการปรับโครงสร้างหนี้ จำนวน 2 รุ่น วงเงิน 4,000 ล.บาท แบ่งเป็นรุ่นอายุ 5 ปี วงเงิน 2,000 ล.บาท และรุ่นอายุ 20 ปี วงเงิน 2,000 ล.บาท โดย พธบ.รุ่นอายุ 5 ปี ขายในอัตราบวกค่าพรีเมี่ยม ส่วน พธบ.รุ่นอายุ 20 ปี ขายในอัตราส่วนลด (ผู้จัดการรายวัน 23)
ข่าวต่างประเทศ1. ญี่ปุ่นเกินดุลการค้าลดลงร้อยละ 57.9 ในเดือน ก.ค. 44 รายงานจากโตเกียวเมื่อ 23 ส.ค. 44 ก. คลัง เปิดเผยว่า ญี่ปุ่นเกินดุลการค้าจำนวน 420.7 พัน ล. เยน (3.49 พัน ล. ดอลลาร์ สรอ.) ในเดือน ก.ค. 44 ลดลงร้อยละ 57.9 จากเดือนเดียวกันของปี 43 ที่มีจำนวน 1 ล้านล้านเยน ซึ่งเป็นไปตามความคาดหมาย เนื่องจากความต้องการสินค้าจากทั่วโลกลดลง ขณะที่การนำเข้าสินค้าเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ ในเดือน ก.ค. ญี่ปุ่นเกินดุลการค้ากับ สรอ. ซึ่งประเทศคู่ค้ารายใหญ่ที่สุด ลดลงร้อยละ 0.5 เทียบปีต่อปี อยู่ที่จำนวน 618 พัน ล. เยน หลังจากที่ลดลงร้อยละ 8.3 ในเดือน มิ.ย. 44 อนึ่ง การเกินดุลการค้าของญี่ปุ่นที่เคยมีจำนวนมหาศาลได้ลดลงอย่างต่อเนื่องในช่วง 2-3 ปีที่ผ่านมา และมีความผันผวนจนถึงขั้นขาดดุลการค้าเป็นครั้งแรกในรอบ 4 ปี เมื่อเดือน ม.ค. 44 (รอยเตอร์23)2. คำสั่งซื้อสินค้าของต่างประเทศจากไต้หวันเดือน ก.ค.44 ลดลงต่ำกว่าที่คาดการณ์ไว้ รายงานจากไทเป เมื่อ 22 ส.ค.44 ก.เศรษฐกิจไต้หวันเปิดเผยว่า เดือน ก.ค.44 คำสั่งซื้อสินค้าของต่างประเทศจากไต้หวันลดลงร้อยละ 16.8 เมื่อเทียบเดือนเดียวกันของปี 43 ขณะที่นักเศรษฐศาสตร์คาดการณ์ไว้ว่าจะลดลงเฉลี่ยร้อยละ 14.9 ทั้งนี้เป็นการลดลงอย่างมากในคำสั่งซื้อสินค้าอิเล็กทรอนิกส์ถึงร้อยละ 36.17 เมื่อเทียบกับเดือนเดียวกันของปี 43 คำสั่งซื้อที่ลดลงในเดือน ก.ค.44 เนื่องจากได้รับผลกระทบจากภาวะเศรษฐกิจที่ชะลอตัวของ สรอ. ซึ่งเป็นประเทศคู่ค้าการส่งออกรายใหญ่ที่สุดของไต้หวัน (รอยเตอร์ 22)3. ผลผลิตอุตสาหกรรมโดยรวมของไต้หวันลดลงร้อยละ 10.4 ในเดือน ก.ค.44 รายงานจากไทเปเมื่อ 22 ส.ค.44 Ministry of Economic Affair เปิดเผยว่า เดือน ก.ค.44 ผลผลิตอุตสาหกรรมโดยรวมลดลงร้อยละ 10.4 เทียบต่อปี จากที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 7.2 ในเดือน ก.ค.43 และใกล้เคียงกับที่นักเศรษฐกิจคาดไว้ว่าจะลดลงร้อยละ 10.2 โดยภาคอุตสาหกรรมการผลิตที่ลดลงร้อยละ 11.1 ในเดือน ก.ค.44 นั้น เป็นการลดลงของอุตสาหกรรมประเภทสารสนเทศ/อิเล็กทรอนิกส์ร้อยละ 15.4 อสังหาริมทรัพย์/ก่อสร้างลดลงร้อยละ 17.8 การที่ผลผลิตอุตสาหกรรมในเดือน ก.ค.หดตัวลง เนื่องเศรษฐกิจโลกที่ชะลอตัวอย่างต่อเนื่อง ฉุดให้การส่งออกลดลงอย่างยืดเยื้อ ขณะที่อุปสงค์ในประเทศโน้มต่ำลงและพายุไต้ฝุ่นที่เกิดขึ้นเมื่อปลายเดือนดังกล่าวก็ส่งผลให้วันทำงานลดลง(รอยเตอร์ 22)4. ดัชนีบรรยากาศภาวะธุรกิจของเยอรมนีเพิ่มขึ้นในเดือน ก.ค. 44 รายงานจากแฟรงก์เฟิร์ตเมื่อ 22 ส.ค. 44 สถาบันวิจัยเศรษฐกิจ Ifo เปิดเผยผลการสำรวจรายเดือนจากบริษัทธุรกิจจำนวน 7,000 บริษัท พบว่าดัชนีความเชื่อมั่นภาวะธุรกิจ ในเดือน ก.ค. 44 เพิ่มขึ้นอย่างไม่คาดหมาย อยู่ที่ระดับ 89.8 นับเป็นการเพิ่มขึ้นครั้งแรกในรอบ 6 เดือน จากระดับ 89.5 ในเดือน มิ.ย. 44 และดีกว่าที่นักเศรษฐศาสตร์คาดไว้ว่าจะลดลงอยู่ที่ระดับ 88.6 รายงานครั้งนี้ เกื้อหนุนว่าเศรษฐกิจของเยอรมนี ซึ่งเป็นประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจใหญ่ที่สุดในยุโรป เริ่มมีความหวังว่าอาจจะเริ่มหลุดพ้นจากภาวะเศรษฐกิจที่ซบเซา(รอยเตอร์22)อัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยเงินบาท/ดอลลาร์ สรอ.ระหว่างธนาคาร ณ สิ้นวันทำการ 22 ส.ค. 44 44.629 (44.783)อัตราแลกเปลี่ยนถัวเฉลี่ยเงินบาท/ดอลลาร์สรอ.ที่ ธพ.ซื้อขายกับลูกค้า(ตั๋วเงิน) ณ สิ้นวันทำการ 22 ส.ค. 44ซื้อ 44.5278 (44.6237) ขาย 44.8253 (44.9147)ทองคำแท่ง(บาทละ) ซื้อ 5,800 (5,800) ขาย 5,900 (5,900)น้ำมันดิบ(ดอลลาร์ สรอ./บาร์เรล) โอมาน 24.15 (24.60)น้ำมันเบนซินพิเศษ(เพอร์ฟอร์มาโกลด์) 15.09 (15.09) ดีเซลหมุนเร็ว 13.94 (13.94)หมายเหตุ ตัวเลขในวงเล็บเป็นตัวเลขของวันก่อน