ยางพารา
1. สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาภายในประเทศ
ปีนี้อุตสาหกรรมยางจะเริ่มฟื้นตัว
ภาครัฐและภาคเอกชนต่างมีความเห็นฟ้องต้องกันว่า ปีนี้วงการอุตสาหกรรมยางจะเริ่มฟื้นตัวจากภาวะเศรษฐกิจที่ซบเซามานานโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ให้สัมภาษณ์ว่าตลาดโลกมีความต้องการใช้ยางธรรมชาติเพิ่มสูงขึ้น ขณะที่ผลผลิตจะต่ำกว่าที่ประมาณการไว้โดยยอดการส่งออกยางธรรมชาติในเดือนมกราคมปีนี้ประมาณ 182,000 ตัน ส่วนสมาคมยางพาราไทยคาดว่ายอดรวมการส่งออกยางตลอดทั้งปีอาจสูงถึง 2.12 ล้านตัน สูงขึ้นจาก1.94 ล้านตันของปีที่ผ่านมา ข่าวดังกล่าวส่งผลให้ผู้ค้ายางหลายรายสำรองสต๊อกไว้รอการเก็งกำไร
สำหรับราคาที่เกษตรกรขายได้สัปดาห์นี้ มีดังนี้
1. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.94 บาท สูงขึ้นจาก 23.27 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.67 บาท หรือร้อยละ 2.88
2. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 2 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.44 บาท สูงขึ้นจาก 22.77 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.67 บาท หรือร้อยละ 2.94
3. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.95 บาท สูงขึ้นจาก 22.27 บาท ของสัปดาห์ที่กิโลกรัมละ 0.68 บาท หรือร้อยละ 3.05
4. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 4 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.35 บาท สูงขึ้นจาก 21.75 บาท ของสัปดาห์ที่กิโลกรัมละ 0.60 บาท หรือร้อยละ 2.76
5. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 5 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 21.76 บาท สูงขึ้นจาก 21.58 บาท ของสัปดาห์ที่กิโลกรัมละ 0.18 บาท หรือร้อยละ 0.83
6. ยางแผ่นดิบคละราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.46 บาท สูงขึ้นจาก 21.89 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.57 บาท หรือร้อยละ 2.60
7. ยางก้อนคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 11.51 บาท สูงขึ้นจาก 10.94 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.57 บาท หรือร้อยละ 5.21
8. เศษยางคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.88 บาท สูงขึ้นจาก 8.33 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.55 บาท หรือร้อยละ 6.60
9. น้ำยางข้นคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 21.31 บาท สูงขึ้นจาก 19.92 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.39 บาท หรือร้อยละ 6.98
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ซื้อขายล่วงหน้าส่งมอบเดือนมีนาคม 2543 ณ ท่าเรือกรุงเทพ
1. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.14 บาท สูงขึ้นจาก 28.48 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.66 บาท หรือร้อยละ 2.32
2. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.99 บาท สูงขึ้นจาก 27.33 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.66 บาท หรือร้อยละ 2.41
3. น้ำยางข้นราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.25 บาท สูงขึ้นจาก 22.88 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.37 บาท หรือร้อยละ 1.62
ณ ท่าเรือสงขลา
1. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.89 บาท สูงขึ้นจาก 28.23 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.66 บาท หรือร้อยละ 2.34
2. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.74 บาท สูงขึ้นจาก 27.08 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.66 บาท หรือร้อยละ 2.44
3. น้ำยางข้นราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.00 บาท สูงขึ้นจาก 22.63 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.37 บาท หรือร้อย 1.63
2. สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาในตลาดโลก
INRO ต้องรีบระบายยางก่อนกำหนด
Mr. Arch Roberts ผู้จัดการมูลกันชนของ INRO ให้สัมภาษณ์ว่าทางองค์การฯ จะรีบขายยางในมูลภัณฑ์ทันทีที่ราคายางปรับตัวสูงถึงระดับกิโลกรัมละ 75 เซนต์สหรัฐฯแต่ผู้ค้ายางหลายรายมีความเห็นว่า INRO อาจต้องเทขายยางบางส่วนก่อนกำหนด ถ้าราคายางในตลาดโลกแตะที่ระดับกิโลกรัมละ 71 เซนต์สหรัฐฯเนื่องจากต้นทุนการเก็บรักษาจะสูงขึ้นไปอีก ประกอบกับเป็นราคาที่สูงกว่าต้นทุนที่รับซื้อไว้กิโลกรัมละ 69 เซนต์สหรัฐฯ เมื่อกลางเดือนตุลาคมปีที่ผ่านมา
ความเคลื่อนไหวของราคายางประจำสัปดาห์ มีดังนี้ ราคาแจ้งสถานการณ์ตลาด
ราคาซื้อขายเฉลี่ยประจำวันของยางแผ่นรมควันชั้น 1 ยางแผ่นรมควันชั้น 3 และยางแท่งชั้น 20 ในตลาดกัวลาลัมเปอร์ ตลาดลอนดอน ตลาดนิวยอร์คและตลาดสิงคโปร์(DMIP) เฉลี่ยกิโลกรัมละ 125.89 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ (19.84 บาท) สูงขึ้นจาก 123.81 เซนต์ มาเลเซีย/สิงคโปร์ (19.57 บาท) ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 2.08 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ หรือร้อยละ 1.68
ราคาซื้อขายเฉลี่ย 5 วัน ของยางแผ่นรมควันชั้น 1 ยางแผ่นรมควันชั้น 3 และยาง แท่งชั้น 20 ในตลาดกัวลาลัมเปอร์ ตลาดลอนดอน ตลาดนิวยอร์คและตลาดสิงคโปร์ (DMIP) เฉลี่ยกิโลกรัมละ 125.49 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ (19.78 บาท) สูงขึ้นจาก 123.21 เซนต์ มาเลเซีย/สิงคโปร์ (19.47 บาท) ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 2.28 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ หรือร้อยละ 1.85
ราคาต่างประเทศซื้อขายล่วงหน้า ส่งมอบเดือนมีนาคม 2543 ยางแผ่นรมควันชั้น 1
ตลาดสิงคโปร์เสนอซื้อล่วงหน้า เฉลี่ยโลกรัมละ 125.44 เซนต์สิงคโปร์ (27.47 บาท) ลดลงจาก 125.50 เซนต์สิงคโปร์ (27.56 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.06เซนต์สิงคโปร์ หรือ ร้อยละ 0.05
ตลาดมาเลเซียเสนอซื้อล่วงหน้า เฉลี่ยกิโลกรัมละ 286.88 เซนต์มาเลเซีย (27.62 บาท) สูงขึ้นจาก 275.00 เซนต์มาเลเซีย (26.57 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ11.88 เซนต์สิงคโปร์ หรือร้อยละ 4.32
ตลาดลอนดอนเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 53.31 เพนนี (31.67 บาท) บาท สูงขึ้นจาก 51.25 เพนนี (30.58 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 2.06เพนนีหรือร้อยละ 4.02
ยางแผ่นรมควันชั้น 3
ตลาดสิงคโปร์เสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 76.56 เซนต์สหรัฐฯ (28.56 บาท) สูงขึ้นจาก 76.25 เซนต์สหรัฐฯ (28.49 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.31เซนต์สหรัฐฯ หรือร้อยละ 0.41
ตลาดมาเลเซียเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 278.13 เซนต์มาเลเซีย (26.78 บาท) สูงขึ้นจาก 265.50 เซนต์มาเลเซีย (25.60 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 12.63 เซนต์มาเลเซีย หรือร้อยละ 4.76
ตลาดลอนดอนเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 51.31 เพนนี (30.48 บาท) สูงขึ้นจาก 49.25 เพนนี (29.36 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 2.06 เพนนีหรือร้อยละ 4.18
ตลาดโตเกียวเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 78.58 เยน (26.78 บาท) ลดลงจาก 79.07 เยน (27.09 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.49 เยน หรือร้อยละ 0.62
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 7 ประจำวันที่ 14 - 20 ก.พ. 2543--
1. สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาภายในประเทศ
ปีนี้อุตสาหกรรมยางจะเริ่มฟื้นตัว
ภาครัฐและภาคเอกชนต่างมีความเห็นฟ้องต้องกันว่า ปีนี้วงการอุตสาหกรรมยางจะเริ่มฟื้นตัวจากภาวะเศรษฐกิจที่ซบเซามานานโดยรัฐมนตรีว่าการกระทรวงพาณิชย์ให้สัมภาษณ์ว่าตลาดโลกมีความต้องการใช้ยางธรรมชาติเพิ่มสูงขึ้น ขณะที่ผลผลิตจะต่ำกว่าที่ประมาณการไว้โดยยอดการส่งออกยางธรรมชาติในเดือนมกราคมปีนี้ประมาณ 182,000 ตัน ส่วนสมาคมยางพาราไทยคาดว่ายอดรวมการส่งออกยางตลอดทั้งปีอาจสูงถึง 2.12 ล้านตัน สูงขึ้นจาก1.94 ล้านตันของปีที่ผ่านมา ข่าวดังกล่าวส่งผลให้ผู้ค้ายางหลายรายสำรองสต๊อกไว้รอการเก็งกำไร
สำหรับราคาที่เกษตรกรขายได้สัปดาห์นี้ มีดังนี้
1. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.94 บาท สูงขึ้นจาก 23.27 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.67 บาท หรือร้อยละ 2.88
2. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 2 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.44 บาท สูงขึ้นจาก 22.77 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.67 บาท หรือร้อยละ 2.94
3. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.95 บาท สูงขึ้นจาก 22.27 บาท ของสัปดาห์ที่กิโลกรัมละ 0.68 บาท หรือร้อยละ 3.05
4. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 4 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.35 บาท สูงขึ้นจาก 21.75 บาท ของสัปดาห์ที่กิโลกรัมละ 0.60 บาท หรือร้อยละ 2.76
5. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 5 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 21.76 บาท สูงขึ้นจาก 21.58 บาท ของสัปดาห์ที่กิโลกรัมละ 0.18 บาท หรือร้อยละ 0.83
6. ยางแผ่นดิบคละราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.46 บาท สูงขึ้นจาก 21.89 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.57 บาท หรือร้อยละ 2.60
7. ยางก้อนคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 11.51 บาท สูงขึ้นจาก 10.94 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.57 บาท หรือร้อยละ 5.21
8. เศษยางคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.88 บาท สูงขึ้นจาก 8.33 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.55 บาท หรือร้อยละ 6.60
9. น้ำยางข้นคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 21.31 บาท สูงขึ้นจาก 19.92 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.39 บาท หรือร้อยละ 6.98
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ซื้อขายล่วงหน้าส่งมอบเดือนมีนาคม 2543 ณ ท่าเรือกรุงเทพ
1. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.14 บาท สูงขึ้นจาก 28.48 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.66 บาท หรือร้อยละ 2.32
2. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.99 บาท สูงขึ้นจาก 27.33 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.66 บาท หรือร้อยละ 2.41
3. น้ำยางข้นราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.25 บาท สูงขึ้นจาก 22.88 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.37 บาท หรือร้อยละ 1.62
ณ ท่าเรือสงขลา
1. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.89 บาท สูงขึ้นจาก 28.23 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.66 บาท หรือร้อยละ 2.34
2. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.74 บาท สูงขึ้นจาก 27.08 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.66 บาท หรือร้อยละ 2.44
3. น้ำยางข้นราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.00 บาท สูงขึ้นจาก 22.63 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.37 บาท หรือร้อย 1.63
2. สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาในตลาดโลก
INRO ต้องรีบระบายยางก่อนกำหนด
Mr. Arch Roberts ผู้จัดการมูลกันชนของ INRO ให้สัมภาษณ์ว่าทางองค์การฯ จะรีบขายยางในมูลภัณฑ์ทันทีที่ราคายางปรับตัวสูงถึงระดับกิโลกรัมละ 75 เซนต์สหรัฐฯแต่ผู้ค้ายางหลายรายมีความเห็นว่า INRO อาจต้องเทขายยางบางส่วนก่อนกำหนด ถ้าราคายางในตลาดโลกแตะที่ระดับกิโลกรัมละ 71 เซนต์สหรัฐฯเนื่องจากต้นทุนการเก็บรักษาจะสูงขึ้นไปอีก ประกอบกับเป็นราคาที่สูงกว่าต้นทุนที่รับซื้อไว้กิโลกรัมละ 69 เซนต์สหรัฐฯ เมื่อกลางเดือนตุลาคมปีที่ผ่านมา
ความเคลื่อนไหวของราคายางประจำสัปดาห์ มีดังนี้ ราคาแจ้งสถานการณ์ตลาด
ราคาซื้อขายเฉลี่ยประจำวันของยางแผ่นรมควันชั้น 1 ยางแผ่นรมควันชั้น 3 และยางแท่งชั้น 20 ในตลาดกัวลาลัมเปอร์ ตลาดลอนดอน ตลาดนิวยอร์คและตลาดสิงคโปร์(DMIP) เฉลี่ยกิโลกรัมละ 125.89 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ (19.84 บาท) สูงขึ้นจาก 123.81 เซนต์ มาเลเซีย/สิงคโปร์ (19.57 บาท) ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 2.08 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ หรือร้อยละ 1.68
ราคาซื้อขายเฉลี่ย 5 วัน ของยางแผ่นรมควันชั้น 1 ยางแผ่นรมควันชั้น 3 และยาง แท่งชั้น 20 ในตลาดกัวลาลัมเปอร์ ตลาดลอนดอน ตลาดนิวยอร์คและตลาดสิงคโปร์ (DMIP) เฉลี่ยกิโลกรัมละ 125.49 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ (19.78 บาท) สูงขึ้นจาก 123.21 เซนต์ มาเลเซีย/สิงคโปร์ (19.47 บาท) ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 2.28 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ หรือร้อยละ 1.85
ราคาต่างประเทศซื้อขายล่วงหน้า ส่งมอบเดือนมีนาคม 2543 ยางแผ่นรมควันชั้น 1
ตลาดสิงคโปร์เสนอซื้อล่วงหน้า เฉลี่ยโลกรัมละ 125.44 เซนต์สิงคโปร์ (27.47 บาท) ลดลงจาก 125.50 เซนต์สิงคโปร์ (27.56 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.06เซนต์สิงคโปร์ หรือ ร้อยละ 0.05
ตลาดมาเลเซียเสนอซื้อล่วงหน้า เฉลี่ยกิโลกรัมละ 286.88 เซนต์มาเลเซีย (27.62 บาท) สูงขึ้นจาก 275.00 เซนต์มาเลเซีย (26.57 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ11.88 เซนต์สิงคโปร์ หรือร้อยละ 4.32
ตลาดลอนดอนเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 53.31 เพนนี (31.67 บาท) บาท สูงขึ้นจาก 51.25 เพนนี (30.58 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 2.06เพนนีหรือร้อยละ 4.02
ยางแผ่นรมควันชั้น 3
ตลาดสิงคโปร์เสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 76.56 เซนต์สหรัฐฯ (28.56 บาท) สูงขึ้นจาก 76.25 เซนต์สหรัฐฯ (28.49 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.31เซนต์สหรัฐฯ หรือร้อยละ 0.41
ตลาดมาเลเซียเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 278.13 เซนต์มาเลเซีย (26.78 บาท) สูงขึ้นจาก 265.50 เซนต์มาเลเซีย (25.60 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 12.63 เซนต์มาเลเซีย หรือร้อยละ 4.76
ตลาดลอนดอนเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 51.31 เพนนี (30.48 บาท) สูงขึ้นจาก 49.25 เพนนี (29.36 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 2.06 เพนนีหรือร้อยละ 4.18
ตลาดโตเกียวเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 78.58 เยน (26.78 บาท) ลดลงจาก 79.07 เยน (27.09 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.49 เยน หรือร้อยละ 0.62
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 7 ประจำวันที่ 14 - 20 ก.พ. 2543--