1) เดือนมกราคม 2544 กรมสรรพากรจัดเก็บรายได้รวม 37,618 ล้านบาท สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 6,201 ล้านบาท
หรือร้อยละ 19.7 ภาษีที่จัดเก็บได้เพิ่มขึ้นที่สำคัญ คือ ภาษีมูลค่าเพิ่มจัดเก็บได้สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 4,069 ล้านบาท
หรือร้อยละ 28.3 นอกจากนี้ภาษีเงินได้นิติบุคคลและภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ยังจัดเก็บได้เพิ่มขึ้นในอัตราที่สูงถึงร้อยละ 17.6 และ 11.6
ตามลำดับ ส่วนภาษีธุรกิจเฉพาะจัดเก็บได้ต่ำกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 23.0
2) ตั้งแต่ต้นปีงบประมาณถึงสิ้นเดือนมกราคม 2544 (ตุลาคม 2543 - มกราคม 2544) กรมสรรพากรจัดเก็บรายได้รวมทั้งสิ้น
138,528 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 17,054 ล้านบาท หรือร้อยละ 14.0 เนื่องจากภาษีที่สำคัญ ได้แก่ ภาษีมูลค่าเพิ่ม
ภาษีเงินได้นิติบุคคล และภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาจัดเก็บได้เพิ่มขึ้นในอัตราที่ค่อนข้างสูง ส่วนภาษีธุรกิจเฉพาะจัดเก็บได้ลดลง ส่วนหนึ่งเป็นเพราะ
อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ที่ลดลง รวมทั้งผลกระทบจากมาตรการส่งเสริมการฟื้นตัวของภาคอสังหาริมทรัพย์ (4 ก.ค.2543) จึงทำให้จัดเก็บรายได้ลดลง
จากช่วงเดียวกันปีแล้วถึงร้อยละ 31.5
(รายละเอียดปรากฎตามตารางที่ 3
ตารางที่ 3
ผลการจัดเก็บรายได้ของกรมสรรพากร ประจำเดือนมกราคม 2544 หน่วย : ล้านบาท
___________________________________________________________________________________________________________________________________________
| เดือนมกราคม | ตั้งแต่ต้นปีงบประมาณถึงสิ้นเดือนมกราคม
|______________________________________________________|_______________________________________________________
ประเภทรายได้ | ปีปัจจุบัน | ปีก่อน| เปรียบเทียบ | ปีปัจจุบัน | ปีก่อน | เปรียบเทียบ
| | | จำนวน | ร้อยละ | | | จำนวน | ร้อยละ
_____________________________|______________|______________|____________|___________|_______________|______________|____________|___________
1. ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา | 11,023 | 9,876 | 1,147 | 11.6 | 33,737 | 29,487 | 4,250 | 14.4
2. ภาษีเงินได้นิติบุคคล | 6,289 | 5,346 | 943 | 17.6 | 26,470 | 21,866 | 4,604 | 21.1
3. ภาษีมูลค่าเพิ่ม | 18,456 | 14,387 | 4,069 | 28.3 | 72,134 | 62,384 | 9,750 | 15.6
4. ภาษีธุรกิจเฉพาะ | 1,167 | 1,515 | (348) | (23.0) | 4,399 | 6,421 | (2,022) | (31.5)
5. ภาษีการค้า | 3 | 5 | (2) | (40.0) | 22 | 32 | (10) | (31.3)
6. อากรแสตมป์ | 262 | 265 | (3) | (1.1) | 1,062 | 1,203 | (141) | (11.7)
7. ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม | 392 | - | 392 | - | 617 | - | 617 | -
8. รายได้อื่น | 26 | 23 | 3 | 13.0 | 87 | 81 | 6 | 7.4
_____________________________|______________|______________|____________|___________|_______________|______________|____________|__________
รวมทั้งสิ้น | 37,618 | 31,417 | 6,201 | 19.7 | 138,528 | 121,474 | 17,054 | 14.0
_____________________________|______________|______________|____________|___________|_______________|______________|____________|__________
ที่มา : กรมสรรพากร
รวบรวมโดย สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง
--ข่าวกระทรวงการคลัง ฝ่ายประชาสัมพันธ์ กองกลาง สนง.ปลัดกระทรวงการคลัง ฉบับที่ 12/2544 23 กุมภาพันธ์ 2544--
-รก/อน-
หรือร้อยละ 19.7 ภาษีที่จัดเก็บได้เพิ่มขึ้นที่สำคัญ คือ ภาษีมูลค่าเพิ่มจัดเก็บได้สูงกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้ว 4,069 ล้านบาท
หรือร้อยละ 28.3 นอกจากนี้ภาษีเงินได้นิติบุคคลและภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา ยังจัดเก็บได้เพิ่มขึ้นในอัตราที่สูงถึงร้อยละ 17.6 และ 11.6
ตามลำดับ ส่วนภาษีธุรกิจเฉพาะจัดเก็บได้ต่ำกว่าเดือนเดียวกันปีที่แล้วร้อยละ 23.0
2) ตั้งแต่ต้นปีงบประมาณถึงสิ้นเดือนมกราคม 2544 (ตุลาคม 2543 - มกราคม 2544) กรมสรรพากรจัดเก็บรายได้รวมทั้งสิ้น
138,528 ล้านบาท สูงกว่าช่วงเดียวกันปีที่แล้ว 17,054 ล้านบาท หรือร้อยละ 14.0 เนื่องจากภาษีที่สำคัญ ได้แก่ ภาษีมูลค่าเพิ่ม
ภาษีเงินได้นิติบุคคล และภาษีเงินได้บุคคลธรรมดาจัดเก็บได้เพิ่มขึ้นในอัตราที่ค่อนข้างสูง ส่วนภาษีธุรกิจเฉพาะจัดเก็บได้ลดลง ส่วนหนึ่งเป็นเพราะ
อัตราดอกเบี้ยเงินกู้ที่ลดลง รวมทั้งผลกระทบจากมาตรการส่งเสริมการฟื้นตัวของภาคอสังหาริมทรัพย์ (4 ก.ค.2543) จึงทำให้จัดเก็บรายได้ลดลง
จากช่วงเดียวกันปีแล้วถึงร้อยละ 31.5
(รายละเอียดปรากฎตามตารางที่ 3
ตารางที่ 3
ผลการจัดเก็บรายได้ของกรมสรรพากร ประจำเดือนมกราคม 2544 หน่วย : ล้านบาท
___________________________________________________________________________________________________________________________________________
| เดือนมกราคม | ตั้งแต่ต้นปีงบประมาณถึงสิ้นเดือนมกราคม
|______________________________________________________|_______________________________________________________
ประเภทรายได้ | ปีปัจจุบัน | ปีก่อน| เปรียบเทียบ | ปีปัจจุบัน | ปีก่อน | เปรียบเทียบ
| | | จำนวน | ร้อยละ | | | จำนวน | ร้อยละ
_____________________________|______________|______________|____________|___________|_______________|______________|____________|___________
1. ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา | 11,023 | 9,876 | 1,147 | 11.6 | 33,737 | 29,487 | 4,250 | 14.4
2. ภาษีเงินได้นิติบุคคล | 6,289 | 5,346 | 943 | 17.6 | 26,470 | 21,866 | 4,604 | 21.1
3. ภาษีมูลค่าเพิ่ม | 18,456 | 14,387 | 4,069 | 28.3 | 72,134 | 62,384 | 9,750 | 15.6
4. ภาษีธุรกิจเฉพาะ | 1,167 | 1,515 | (348) | (23.0) | 4,399 | 6,421 | (2,022) | (31.5)
5. ภาษีการค้า | 3 | 5 | (2) | (40.0) | 22 | 32 | (10) | (31.3)
6. อากรแสตมป์ | 262 | 265 | (3) | (1.1) | 1,062 | 1,203 | (141) | (11.7)
7. ภาษีเงินได้ปิโตรเลียม | 392 | - | 392 | - | 617 | - | 617 | -
8. รายได้อื่น | 26 | 23 | 3 | 13.0 | 87 | 81 | 6 | 7.4
_____________________________|______________|______________|____________|___________|_______________|______________|____________|__________
รวมทั้งสิ้น | 37,618 | 31,417 | 6,201 | 19.7 | 138,528 | 121,474 | 17,054 | 14.0
_____________________________|______________|______________|____________|___________|_______________|______________|____________|__________
ที่มา : กรมสรรพากร
รวบรวมโดย สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง
--ข่าวกระทรวงการคลัง ฝ่ายประชาสัมพันธ์ กองกลาง สนง.ปลัดกระทรวงการคลัง ฉบับที่ 12/2544 23 กุมภาพันธ์ 2544--
-รก/อน-