ข่าวการประชุมคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๕
ครั้งที่ ๑๘
วันอังคารที่ ๓๑ เดือนกรกฎาคม ๒๕๔๔
ณ ห้องประชุมงบประมาณ ชั้น ๓ อาคารรัฐสภา ๓
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
---------------------------------
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๔๕ โดยมีการพิจารณากระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในส่วนของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ
เกษตรกรรม รัฐวิสาหกิจในสังกัด ได้แก่ องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร องค์การสวนยาง สำนักงานกองทุน
สงเคราะห์การทำสวนยาง องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ ซึ่งสรุปสาระสำคัญได้ดังนี้
สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ
งบประมาณรายจ่ายที่ตั้งไว้ ๒,๐๖๘,๐๓๓,๓๐๐ บาท
มีรายการปรับลด ๑,๙๘๐,๐๐๐ บาท
คงเหลือ ๒,๐๖๖,๐๕๓,๓๐๐ บาท
ก. แผนงานส่งเสริมประสิทธิภาพการผลิตด้าน ๒,๐๖๘,๐๓๓,๓๐๐ บาท
การเกษตร
งบประมาณรายจ่ายปี ๒๕๔๕ เพิ่มขึ้นจากงบประมาณปี ๒๕๔๔ เป็นเงิน ๑๓,๖๓๒,๑๐๐ บาท
เป็นการปรับลดในค่าสำรวจหมุดหลักฐานแผนที่ด้วยเครื่อง GPS ๑๐,๐๐๐,๐๐๐ ไร่ เป็นเงิน ๘๐,๐๐๐ บาท
และค่าควบคุมงานก่อสร้างในโครงการเงินกู้ OECF เพื่อฟื้นฟูสภาพแวดล้อมที่เสื่อมโทรมในเขตปฏิรูปที่ดิน
๑,๙๐๐,๐๐๐ บาท ปรับลดเพื่อให้สอดคล้องกับเกณฑ์ที่สำนักงบประมาณวางไว้
คณะกรรมาธิการได้พิจารณาและตั้งข้อสังเกตเกี่ยวกับการโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณ
ซึ่งเลขาธิการสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมชี้แจงว่า การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณนั้น
เนื่องจาก
๑. พื้นที่เป้าหมายที่ตั้งไว้จะดำเนินการนั้นมีความซ้ำซ้อนกับงบประมาณของหน่วยอื่น
๒. ราษฎรในพื้นที่ไม่ยินยอมให้ก่อสร้าง
๓. บางพื้นที่ราษฎรในพื้นที่ต้องการให้มีการปรับเปลี่ยนกิจกรรม
กรรมาธิการตั้งข้อสังเกตว่าการถ่ายโอนงบประมาณนี้ควรได้รับการยินยอมจาก องค์กร
ปกครองท้องถิ่น และงบประมาณควรยังอยู่ในพื้นที่โดยถ่ายโอนเพื่อทำกิจกรรมอื่นในพื้นที่เดียวกัน
ไม่ใช่โอนต่างพื้นที่
นายนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ นายมาโนช วิชัยกุล และนายวินัย เสนเนียม ขอสงวน
ปรับลดทั้งหน่วยงาน ๕% เนื่องจากการตั้งงบประมาณสูงเกินกว่าความจำเป็น
องค์การตรลาดเพื่อเกษตรกร
งบประมาณรายจ่ายที่ตั้งไว้ ๗,๘๗๖,๔๐๐ บาท
ไม่มีรายการปรับลด
ก. แผนงานส่งเสริมการพัฒนาธุรกิจ ๗,๘๗๖,๔๐๐ บาท
การเกษตร
งบประมาณรายจ่ายปี ๒๕๔๕ เพิ่มขึ้นจากงบประมาณรายจ่ายปี ๒๕๔๔ เป็นเงิน
๒,๙๖๗,๔๐๐ บาท
คณะกรรมาธิการได้พิจารณาและมิได้ตั้งข้อสังเกต
องค์การสวนยาง
งบประมาณรายจ่ายที่ตั้งไว้ ๑,๓๐๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท
ไม่มีรายการปรับลด
สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง
งบประมาณรายจ่ายที่ตั้งไว้ ๙๖๓,๖๓๕,๐๐๐ บาท
ไม่มีรายการปรับลด
คณะกรรมาธิการได้พิจารณาและตั้งข้อสังเกตองค์การสวนยางรวมกับสำนักงานกองทุน
สงเคราะห์การทำสวนยางได้ประเด็นดังต่อไปนี้
คณะกรรมาธิการได้ตั้งข้อสังเกตเรื่อง โครงการหลักการพักชำระหนี้มีการดำเนินงานอย่างไร
องค์การสวนยางชี้แจงว่าจะมีการส่งเสริมให้เกษตรกรมีอาชีพเสริมโดยจะส่งเจ้าหน้าที่ผู้มีความชำนาญไปช่วย
ให้ความรู้ และอบรมฝึกสอนอย่างใกล้ชิด
คณะกรรมาธิการได้ตั้งข้อสังเกตภาระหน้าที่ บทบาทของ ส.ก.ย. การดำเนินงานอย่างไร
สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยางชี้แจงว่า ส่วนใหญ่จะดำเนินงานตามนโยบายรัฐบาล เช่นการ
แทรกแซงราคายางในตลาด และส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกพืชเสริมในสวนยางพารา เพื่อให้เกษตรกรมีอาชีพ
อย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะทำให้มีรายได้มากขึ้นและมีศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยี ทำเป็นศูนย์สาธิตการพัฒนาการ
การทำสวนยางที่ครบวงจร
งบประมาณรายจ่ายที่ตั้งไว้ ๑,๐๒๓,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท
ปรับลด ๒,๙๐๔,๘๑๑,๙๐๐ บาท
คงเหลือ ๑,๐๒๐,๐๙๕,๑๘๘,๑๐๐ บาท
หมายเหตุ ยอด ณ วันอังคารที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๔๔
(ยอดถึงสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง)
งบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๔๕
ครั้งที่ ๑๘
วันอังคารที่ ๓๑ เดือนกรกฎาคม ๒๕๔๔
ณ ห้องประชุมงบประมาณ ชั้น ๓ อาคารรัฐสภา ๓
สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
---------------------------------
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติงบประมาณรายจ่ายประจำปีงบประมาณ
พ.ศ. ๒๕๔๕ โดยมีการพิจารณากระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ในส่วนของสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ
เกษตรกรรม รัฐวิสาหกิจในสังกัด ได้แก่ องค์การตลาดเพื่อเกษตรกร องค์การสวนยาง สำนักงานกองทุน
สงเคราะห์การทำสวนยาง องค์การอุตสาหกรรมป่าไม้ ซึ่งสรุปสาระสำคัญได้ดังนี้
สำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ
งบประมาณรายจ่ายที่ตั้งไว้ ๒,๐๖๘,๐๓๓,๓๐๐ บาท
มีรายการปรับลด ๑,๙๘๐,๐๐๐ บาท
คงเหลือ ๒,๐๖๖,๐๕๓,๓๐๐ บาท
ก. แผนงานส่งเสริมประสิทธิภาพการผลิตด้าน ๒,๐๖๘,๐๓๓,๓๐๐ บาท
การเกษตร
งบประมาณรายจ่ายปี ๒๕๔๕ เพิ่มขึ้นจากงบประมาณปี ๒๕๔๔ เป็นเงิน ๑๓,๖๓๒,๑๐๐ บาท
เป็นการปรับลดในค่าสำรวจหมุดหลักฐานแผนที่ด้วยเครื่อง GPS ๑๐,๐๐๐,๐๐๐ ไร่ เป็นเงิน ๘๐,๐๐๐ บาท
และค่าควบคุมงานก่อสร้างในโครงการเงินกู้ OECF เพื่อฟื้นฟูสภาพแวดล้อมที่เสื่อมโทรมในเขตปฏิรูปที่ดิน
๑,๙๐๐,๐๐๐ บาท ปรับลดเพื่อให้สอดคล้องกับเกณฑ์ที่สำนักงบประมาณวางไว้
คณะกรรมาธิการได้พิจารณาและตั้งข้อสังเกตเกี่ยวกับการโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณ
ซึ่งเลขาธิการสำนักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมชี้แจงว่า การโอนเปลี่ยนแปลงงบประมาณนั้น
เนื่องจาก
๑. พื้นที่เป้าหมายที่ตั้งไว้จะดำเนินการนั้นมีความซ้ำซ้อนกับงบประมาณของหน่วยอื่น
๒. ราษฎรในพื้นที่ไม่ยินยอมให้ก่อสร้าง
๓. บางพื้นที่ราษฎรในพื้นที่ต้องการให้มีการปรับเปลี่ยนกิจกรรม
กรรมาธิการตั้งข้อสังเกตว่าการถ่ายโอนงบประมาณนี้ควรได้รับการยินยอมจาก องค์กร
ปกครองท้องถิ่น และงบประมาณควรยังอยู่ในพื้นที่โดยถ่ายโอนเพื่อทำกิจกรรมอื่นในพื้นที่เดียวกัน
ไม่ใช่โอนต่างพื้นที่
นายนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ นายมาโนช วิชัยกุล และนายวินัย เสนเนียม ขอสงวน
ปรับลดทั้งหน่วยงาน ๕% เนื่องจากการตั้งงบประมาณสูงเกินกว่าความจำเป็น
องค์การตรลาดเพื่อเกษตรกร
งบประมาณรายจ่ายที่ตั้งไว้ ๗,๘๗๖,๔๐๐ บาท
ไม่มีรายการปรับลด
ก. แผนงานส่งเสริมการพัฒนาธุรกิจ ๗,๘๗๖,๔๐๐ บาท
การเกษตร
งบประมาณรายจ่ายปี ๒๕๔๕ เพิ่มขึ้นจากงบประมาณรายจ่ายปี ๒๕๔๔ เป็นเงิน
๒,๙๖๗,๔๐๐ บาท
คณะกรรมาธิการได้พิจารณาและมิได้ตั้งข้อสังเกต
องค์การสวนยาง
งบประมาณรายจ่ายที่ตั้งไว้ ๑,๓๐๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท
ไม่มีรายการปรับลด
สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง
งบประมาณรายจ่ายที่ตั้งไว้ ๙๖๓,๖๓๕,๐๐๐ บาท
ไม่มีรายการปรับลด
คณะกรรมาธิการได้พิจารณาและตั้งข้อสังเกตองค์การสวนยางรวมกับสำนักงานกองทุน
สงเคราะห์การทำสวนยางได้ประเด็นดังต่อไปนี้
คณะกรรมาธิการได้ตั้งข้อสังเกตเรื่อง โครงการหลักการพักชำระหนี้มีการดำเนินงานอย่างไร
องค์การสวนยางชี้แจงว่าจะมีการส่งเสริมให้เกษตรกรมีอาชีพเสริมโดยจะส่งเจ้าหน้าที่ผู้มีความชำนาญไปช่วย
ให้ความรู้ และอบรมฝึกสอนอย่างใกล้ชิด
คณะกรรมาธิการได้ตั้งข้อสังเกตภาระหน้าที่ บทบาทของ ส.ก.ย. การดำเนินงานอย่างไร
สำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยางชี้แจงว่า ส่วนใหญ่จะดำเนินงานตามนโยบายรัฐบาล เช่นการ
แทรกแซงราคายางในตลาด และส่งเสริมให้เกษตรกรปลูกพืชเสริมในสวนยางพารา เพื่อให้เกษตรกรมีอาชีพ
อย่างต่อเนื่อง ซึ่งจะทำให้มีรายได้มากขึ้นและมีศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยี ทำเป็นศูนย์สาธิตการพัฒนาการ
การทำสวนยางที่ครบวงจร
งบประมาณรายจ่ายที่ตั้งไว้ ๑,๐๒๓,๐๐๐,๐๐๐,๐๐๐ บาท
ปรับลด ๒,๙๐๔,๘๑๑,๙๐๐ บาท
คงเหลือ ๑,๐๒๐,๐๙๕,๑๘๘,๑๐๐ บาท
หมายเหตุ ยอด ณ วันอังคารที่ ๓๑ กรกฎาคม ๒๕๔๔
(ยอดถึงสำนักงานกองทุนสงเคราะห์การทำสวนยาง)