สุกร
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ราคาสุกรมีชีวิตในสัปดาห์นี้ปรับสูงขึ้นอีกเล็กน้อย แต่สถานการณ์โดยรวมยังค่อนข้างทรงตัว และจากฝนที่ตกชุกในช่วงนี้ทำให้สภาพอากาศเย็นลง สุกรเติบโตดีขึ้น ซึ่งอาจจะส่งผลให้ราคาสุกรอ่อนตัวลงได้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไปราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ย ทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 34.05 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 33.88 บาทของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 0.50 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้คือ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 34.32 บาท ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 32.57 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 33.36 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 38.03 บาท ส่วน ราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้มีราคาอยู่ที่ตัวละ 600 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ส่วนราคาขายส่งสุกรชำแหละ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 43.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ไก่เนื้อ
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ราคาไก่เนื้อปรับสูงขึ้นจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เพราะตลาดในประเทศผลผลิตมีปริมาณน้อย เมื่อเทียบกับความต้องการบริโภค ในขณะที่ตลาดต่างประเทศค่อนข้างซบเซา โดยเฉพาะตลาดญี่ปุ่น ราคาส่งออกเนื้อน่อง (BL) ค่อนข้างต่ำที่ตันละ 1,450 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่านั้น แนวโน้มคาดว่าราคาไก่เนื้อในประเทศมีโอกาสปรับสูงขึ้นอีก
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 27.62 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 27.53 บาทของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.33 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้คือ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 28.87 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 26.42 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 27.38 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 29.09 บาท ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี มีราคาอยู่ที่ตัวละ 8.50 บาทราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ส่วนราคาขายส่งไก่สด เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ไข่ไก่
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
สถานการณ์โดยรวมยังทรงตัวอยู่ โดยผลผลิตยังคงมีปริมาณมาก ขณะที่ความต้องการบริโภคยังเป็นไปตามปกติ โดยราคาไข่ไก่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี.ในสัปดาห์นี้ เบอร์ 1 ฟองละ 1.50-1.55 บาท เบอร์ 2 ฟองละ 1.25-1.40 บาท และไข่คละฟองละ 1.20 บาท คาดว่าราคาจะทรงตัวไปจนถึงอ่อนตัวลงอีก
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 140 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ คือ ภาคเหนือร้อยฟองละ 137 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 155 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 139 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 135 บาท ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. อยู่ที่ตัวละ 9 บาทราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 150 บาทราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 165 บาท เพิ่มขึ้นจากร้อยฟองละ 161 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.48 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ คือภาคเหนือร้อยฟองละ 162 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 168 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 156 บาทและภาคใต้ร้อยฟองละ 193 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 213 บาทราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน โค
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโค (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 37.37 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 36.90 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.27 กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 26.24 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 25.36 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.47
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 27 ประจำวันที่ 10-16 ก.ค. 2543--
-สส-
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ราคาสุกรมีชีวิตในสัปดาห์นี้ปรับสูงขึ้นอีกเล็กน้อย แต่สถานการณ์โดยรวมยังค่อนข้างทรงตัว และจากฝนที่ตกชุกในช่วงนี้ทำให้สภาพอากาศเย็นลง สุกรเติบโตดีขึ้น ซึ่งอาจจะส่งผลให้ราคาสุกรอ่อนตัวลงได้
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไปราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ย ทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 34.05 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 33.88 บาทของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 0.50 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้คือ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 34.32 บาท ภาค ตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 32.57 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 33.36 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 38.03 บาท ส่วน ราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้มีราคาอยู่ที่ตัวละ 600 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ส่วนราคาขายส่งสุกรชำแหละ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 43.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ไก่เนื้อ
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ราคาไก่เนื้อปรับสูงขึ้นจากสัปดาห์ที่ผ่านมา เพราะตลาดในประเทศผลผลิตมีปริมาณน้อย เมื่อเทียบกับความต้องการบริโภค ในขณะที่ตลาดต่างประเทศค่อนข้างซบเซา โดยเฉพาะตลาดญี่ปุ่น ราคาส่งออกเนื้อน่อง (BL) ค่อนข้างต่ำที่ตันละ 1,450 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่านั้น แนวโน้มคาดว่าราคาไก่เนื้อในประเทศมีโอกาสปรับสูงขึ้นอีก
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 27.62 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 27.53 บาทของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.33 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้คือ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 28.87 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 26.42 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 27.38 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 29.09 บาท ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี มีราคาอยู่ที่ตัวละ 8.50 บาทราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ส่วนราคาขายส่งไก่สด เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ไข่ไก่
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
สถานการณ์โดยรวมยังทรงตัวอยู่ โดยผลผลิตยังคงมีปริมาณมาก ขณะที่ความต้องการบริโภคยังเป็นไปตามปกติ โดยราคาไข่ไก่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี.ในสัปดาห์นี้ เบอร์ 1 ฟองละ 1.50-1.55 บาท เบอร์ 2 ฟองละ 1.25-1.40 บาท และไข่คละฟองละ 1.20 บาท คาดว่าราคาจะทรงตัวไปจนถึงอ่อนตัวลงอีก
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 140 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ คือ ภาคเหนือร้อยฟองละ 137 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 155 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 139 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 135 บาท ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. อยู่ที่ตัวละ 9 บาทราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 150 บาทราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 165 บาท เพิ่มขึ้นจากร้อยฟองละ 161 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.48 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ คือภาคเหนือร้อยฟองละ 162 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 168 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 156 บาทและภาคใต้ร้อยฟองละ 193 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 213 บาทราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน โค
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโค (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 37.37 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 36.90 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.27 กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 26.24 บาท เพิ่มขึ้นจากกิโลกรัมละ 25.36 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.47
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 27 ประจำวันที่ 10-16 ก.ค. 2543--
-สส-