สุกร
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรในสัปดาห์นี้ ราคาเกษตรกรขายได้เริ่มอ่อนตัวลง เพราะมีการคาดการณ์ว่าช่วงเข้าสู่เทศกาลกินเจ ที่จะมีขึ้น ในต้นเดือนหน้านี้ ความต้องการบริโภคจะดลลง ทำให้ผู้เลี้ยงเริ่มระบายผลผลิตออกสู่ตลาด แนวโน้มคาดว่าราคาจะอ่อนตัว ลงอีก
ตามที่กรมปศุสัตว์ได้ดำเนินการแก้ไขปัญหาการใช้สารเร่งเนื้อแดงในสุกรอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่เดือนเมษายน 2546 เพื่อให้ ประเทศไทยปลอดจากการใช้สารเร่งเนื้อแดงอย่างสิ้นเชิงตามนโยบายความปลอดภัยด้านอาหารของรัฐบาล โดยมีการ เก็บตัวอย่างปัสสาวะสุกรเพื่อตรวจ หาสารเร่งเนื้อแดงพร้อมทั้งดำเนินการตามกฎหมายกับผู้กระทำผิด ผลการดำเนินงาน จนถึง วันที่30 มิถุนายน 2548 พบว่า การใช้สารเร่งเนื้อแดงลดลงจากเมื่อเริ่มโครงการซึ่งพบสูงถึงร้อยละ 29.36 เหลือเพียง ร้อยละ 0.19 จังหวัดที่ตรวจพบมากที่สุด คือ นครปฐม ฉะเชิงเทรา ราชบุรี ชลบุรี สุพรรณบุรี และนครนายก ส่วนการดำเนินคดีกับผู้กระทำผิดนั้น ศาลได้สั่งลงโทษทั้งจำและปรับไปแล้ว 73 ราย ซึ่งมีทั้ง ผู้เลี้ยง ผู้ผลิตอาหารสัตว์ และร้านขายอาหารสัตว์
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 50. 13 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 5 0.58 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.89 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 5 0.55 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัม ละ 4 7. 98 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 49.69 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 54.57 บาท ส่วนราคา ลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี . พี ในสัปดาห์นี้ตัวละ 1,300 บาท ( บวกลบ 51 บาท ) ราคาทรงตัว เท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 46.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 47.50 บาท ของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 2.11 ส่วนราคาขายส่งสุกรชำแหละเฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 56.50 บาท ของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 1.78
ไก่เนื้อ
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ในสัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อที่เกษรตรขายได้ค่อนข้างทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา แต่เนื่องจากช่วงนี้มีฝนตกค่อนข้างมาก ทำให้ภาวะการบริโภคโดยรวมค่อนข้างซบเซา เพราะผู้บริโภคหันไปบริโภคสัตว์น้ำตามธรรมชาติ ที่มีราคาถูกกว่า แนวโน้มคาดว่าราคาจะปรับตัวลดลง
ประธานาธิบดีจอร์จ ดับเบิลยู บุช ของสหรัฐ ประกาศต่อสมัชชาใหญ่สหประชาชาติ ( ยูเอ็น ) ในนครนิวยอร์ก เมื่อวันพุธ ที่ผ่านมาเกี่ยวกับสิ่งที่เขาเรียกว่า หุ้นส่วนระหว่างประเทศใหม่ ในการป้องกันไข้หวัดนกและโรคสายพันธุ์ใหม่ ๆ ว่าประเทศ ที่จะเข้ามาเป็นหุ้นส่วน โดยเฉพาะประเทศที่เผชิญหน้ากับการระบาดของไข้หวัดนก ต้องแลกเปลี่ยนข้อมูลกันทันทีและ ส่งตัวอย่างไป ให้องค์การอนามัยโลกตรวจสอบโดยสหรัฐได้มอบเงินจำนวน 500,000 ดอลลาร์สหรัฐให้แก่เวียดนาม เมื่อวันพฤหัสบดี เพื่อช่วยเวียดนามในการป้องกันการระบาดของไข้หวัดนกและตรวจสอบการ เปลี่ยนแปลงในไวรัส ไข้หวัดนก โดยศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคระบาดของสหรัฐจะทำงานร่วมกับ สถาบันสุขภาพศาสตร์และระบาดวิทยา แห่งชาติของเวียดนาม เพื่อทำให้การป้องกันเข้มข้นมากขึ้น โครงการนี้คาดว่าจะใช้เงิน 2.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐในช่วงเวลา 5 ปี
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 38.66 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 38.77 บาท ของสัปดาห์ ก่อนร้อยละ 0.28 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 37 .00 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 36.30 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 40.61 บาท ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี . พี ตัวละ 15 .50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายในเฉลี่ยกิโลกรัมละ 38 .50 ราคาลดลงจากกิโลกรัม ละ 39.50 ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.53 ส่วนราคาขายส่งไก่ สดกิโลกรัมละ 49 .50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ภาวะตลาดไข่ไก่ในสัปดาห์นี้จากสภาพอากาศที่เย็นลงทำให้ผลผลิตไข่ไก่ออกสู่ตลาดมีปริมาณมากขึ้น ประกอบกับช่วงนี้ มีผลไม้ประจำฤดูกาลออกสู่ตลาดมาก และมีราคาถูกทำให้ความต้องการบริโภคไข่ไก่ลดลง แนวโน้มคาดว่าราคา จะ ปรับตัวลดลง
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ เฉลี่ยร้อยฟองละ 257 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 265 บาทของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 3.02 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือร้อยฟองละ 272 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 292บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 243 บาท และภาคใต้ ร้อยฟองละ 268 บาท ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ตัวละ 1 9 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 2 4 0 บาท
ลดลงจากร้อยฟองละ 250 บาทของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.00
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 312 บาท ลดลง จากร้อยฟองละ 313 บาทของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 0.32 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือร้อยฟองละ 2 71 บาท ภาคตะวันออกเฉียง เหนือ ร้อยฟองละ 345 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 305 บาท และภาคใต้ร้อย ฟองละ 2 89 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 3 86 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
โค
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโค ( ขนาดกลาง ) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 47.28 บาท ราคา ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 45.22 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 52.58 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 4 8.13 บาท ส่วนภาคกลางกิโลกรัมละ 42.27 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ ( ขนาดกลาง ) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 3 6.57 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับ สัปดาห์ ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 3 6 .00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 35.39 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 47.50 บาท สำหรับภาคใต้ไม่มีรายงานราคา
ก.ย. สัปดาห์ที่ 1 สัปดาห์ที่ 2 สัปดาห์ที่ 3 สัปดาห์ที่ 4 สัปดาห์ที่ 5
สุกร 47 47.5 46.5
ไก่เนื้อ 39 39.5 38.5
ไข่ไก่ 245 250 240
ไข่เป็ด 386 386 386
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 36 ประจำวันที่ 12-18 กันยายน 2548--
-พห-
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ภาวะตลาดสุกรในสัปดาห์นี้ ราคาเกษตรกรขายได้เริ่มอ่อนตัวลง เพราะมีการคาดการณ์ว่าช่วงเข้าสู่เทศกาลกินเจ ที่จะมีขึ้น ในต้นเดือนหน้านี้ ความต้องการบริโภคจะดลลง ทำให้ผู้เลี้ยงเริ่มระบายผลผลิตออกสู่ตลาด แนวโน้มคาดว่าราคาจะอ่อนตัว ลงอีก
ตามที่กรมปศุสัตว์ได้ดำเนินการแก้ไขปัญหาการใช้สารเร่งเนื้อแดงในสุกรอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่เดือนเมษายน 2546 เพื่อให้ ประเทศไทยปลอดจากการใช้สารเร่งเนื้อแดงอย่างสิ้นเชิงตามนโยบายความปลอดภัยด้านอาหารของรัฐบาล โดยมีการ เก็บตัวอย่างปัสสาวะสุกรเพื่อตรวจ หาสารเร่งเนื้อแดงพร้อมทั้งดำเนินการตามกฎหมายกับผู้กระทำผิด ผลการดำเนินงาน จนถึง วันที่30 มิถุนายน 2548 พบว่า การใช้สารเร่งเนื้อแดงลดลงจากเมื่อเริ่มโครงการซึ่งพบสูงถึงร้อยละ 29.36 เหลือเพียง ร้อยละ 0.19 จังหวัดที่ตรวจพบมากที่สุด คือ นครปฐม ฉะเชิงเทรา ราชบุรี ชลบุรี สุพรรณบุรี และนครนายก ส่วนการดำเนินคดีกับผู้กระทำผิดนั้น ศาลได้สั่งลงโทษทั้งจำและปรับไปแล้ว 73 ราย ซึ่งมีทั้ง ผู้เลี้ยง ผู้ผลิตอาหารสัตว์ และร้านขายอาหารสัตว์
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไป ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 50. 13 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 5 0.58 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.89 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 5 0.55 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัม ละ 4 7. 98 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 49.69 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 54.57 บาท ส่วนราคา ลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี . พี ในสัปดาห์นี้ตัวละ 1,300 บาท ( บวกลบ 51 บาท ) ราคาทรงตัว เท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 46.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 47.50 บาท ของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 2.11 ส่วนราคาขายส่งสุกรชำแหละเฉลี่ยกิโลกรัมละ 55.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 56.50 บาท ของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 1.78
ไก่เนื้อ
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ในสัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อที่เกษรตรขายได้ค่อนข้างทรงตัวจากสัปดาห์ที่ผ่านมา แต่เนื่องจากช่วงนี้มีฝนตกค่อนข้างมาก ทำให้ภาวะการบริโภคโดยรวมค่อนข้างซบเซา เพราะผู้บริโภคหันไปบริโภคสัตว์น้ำตามธรรมชาติ ที่มีราคาถูกกว่า แนวโน้มคาดว่าราคาจะปรับตัวลดลง
ประธานาธิบดีจอร์จ ดับเบิลยู บุช ของสหรัฐ ประกาศต่อสมัชชาใหญ่สหประชาชาติ ( ยูเอ็น ) ในนครนิวยอร์ก เมื่อวันพุธ ที่ผ่านมาเกี่ยวกับสิ่งที่เขาเรียกว่า หุ้นส่วนระหว่างประเทศใหม่ ในการป้องกันไข้หวัดนกและโรคสายพันธุ์ใหม่ ๆ ว่าประเทศ ที่จะเข้ามาเป็นหุ้นส่วน โดยเฉพาะประเทศที่เผชิญหน้ากับการระบาดของไข้หวัดนก ต้องแลกเปลี่ยนข้อมูลกันทันทีและ ส่งตัวอย่างไป ให้องค์การอนามัยโลกตรวจสอบโดยสหรัฐได้มอบเงินจำนวน 500,000 ดอลลาร์สหรัฐให้แก่เวียดนาม เมื่อวันพฤหัสบดี เพื่อช่วยเวียดนามในการป้องกันการระบาดของไข้หวัดนกและตรวจสอบการ เปลี่ยนแปลงในไวรัส ไข้หวัดนก โดยศูนย์ควบคุมและป้องกันโรคระบาดของสหรัฐจะทำงานร่วมกับ สถาบันสุขภาพศาสตร์และระบาดวิทยา แห่งชาติของเวียดนาม เพื่อทำให้การป้องกันเข้มข้นมากขึ้น โครงการนี้คาดว่าจะใช้เงิน 2.5 ล้านดอลลาร์สหรัฐในช่วงเวลา 5 ปี
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 38.66 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 38.77 บาท ของสัปดาห์ ก่อนร้อยละ 0.28 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 43.00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 37 .00 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 36.30 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 40.61 บาท ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี . พี ตัวละ 15 .50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายในเฉลี่ยกิโลกรัมละ 38 .50 ราคาลดลงจากกิโลกรัม ละ 39.50 ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.53 ส่วนราคาขายส่งไก่ สดกิโลกรัมละ 49 .50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ไข่ไก่
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ภาวะตลาดไข่ไก่ในสัปดาห์นี้จากสภาพอากาศที่เย็นลงทำให้ผลผลิตไข่ไก่ออกสู่ตลาดมีปริมาณมากขึ้น ประกอบกับช่วงนี้ มีผลไม้ประจำฤดูกาลออกสู่ตลาดมาก และมีราคาถูกทำให้ความต้องการบริโภคไข่ไก่ลดลง แนวโน้มคาดว่าราคา จะ ปรับตัวลดลง
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ เฉลี่ยร้อยฟองละ 257 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 265 บาทของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 3.02 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือร้อยฟองละ 272 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 292บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 243 บาท และภาคใต้ ร้อยฟองละ 268 บาท ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี. ตัวละ 1 9 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 2 4 0 บาท
ลดลงจากร้อยฟองละ 250 บาทของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.00
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 312 บาท ลดลง จากร้อยฟองละ 313 บาทของสัปดาห์ก่อน ร้อยละ 0.32 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือร้อยฟองละ 2 71 บาท ภาคตะวันออกเฉียง เหนือ ร้อยฟองละ 345 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 305 บาท และภาคใต้ร้อย ฟองละ 2 89 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 3 86 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา
โค
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาโค ( ขนาดกลาง ) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 47.28 บาท ราคา ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 45.22 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 52.58 บาท และภาคใต้ กิโลกรัมละ 4 8.13 บาท ส่วนภาคกลางกิโลกรัมละ 42.27 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ ( ขนาดกลาง ) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 3 6.57 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับ สัปดาห์ ที่ผ่านมา โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 3 6 .00 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 35.39 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 47.50 บาท สำหรับภาคใต้ไม่มีรายงานราคา
ก.ย. สัปดาห์ที่ 1 สัปดาห์ที่ 2 สัปดาห์ที่ 3 สัปดาห์ที่ 4 สัปดาห์ที่ 5
สุกร 47 47.5 46.5
ไก่เนื้อ 39 39.5 38.5
ไข่ไก่ 245 250 240
ไข่เป็ด 386 386 386
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 36 ประจำวันที่ 12-18 กันยายน 2548--
-พห-