ข้อมูลพื้นฐาน
จังหวัดสงขลาประกอบด้วย 13 อำเภอกับ 3 กิ่งอำเภอ ได้แก่ อำเภอเมืองสงขลา หาดใหญ่ สิงหนคร สทิงพระ กระแสสินธ์ ระโนด จะนะ เทพา นาทวี สะบ้าย้อย สะเดา รัตภูมิ นาหม่อม กิ่งอำเภอควนเนียง กิ่งอำเภอบางกล่ำ และกิ่งอำเภอคลองหอยโข่ง
พื้นที่รวม 7,393.9 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 4,621,200ไร่
ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2542 มีประชากรจำนวน 1,223,833 คน หรือร้อยละ 15.0 ของประชากรทั้งภาค
ผลิตภัณฑ์จังหวัดตามราคาคงที่ (Gross Provincial Product at constant price )ปี 2539 เท่ากับ 48,328.8 ล้านบาท โดยมีสาขาการเกษตรกรรมเป็นสาขาหลัก คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 33.6 รองลงมาได้แก่ สาขาการค้าปลีกและค้าส่งร้อยละ 13.6 สาขาการบริการร้อยละ
ศักยภาพและโอกาสการลงทุน
1.เป็นจังหวัดในโครงการสามเหลี่ยมเศรษฐกิจ (IMT-GT)
2.มีความพร้อมด้านสาธารณูปโภค
-ถนน 4 ช่องจราจร
-ท่าอากาศยานนานาชาติหาดใหญ่
-ศูนย์กลางการคมนาคมขนส่งทางรถไฟ
-ท่าเรือน้ำลึก
-นิคมอุตสาหกรรมภาคใต้(ฉลุง)
-โทรศัพท์เพิ่ม 86,522 เลขหมายในปี 2539
3.แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติมากมาย อาทิ น้ำตกโตนงาช้าง หาดสมิหลา ทะเลสาบสงขลา อุทยานนกน้ำคูขุด แหล่งท่องเที่ยวทางศิลปวัฒนธรรม และแหล่งท่องเที่ยวด้านบริการ การค้า
4.เป็นที่ตั้งสถาบันการศึกษา 4 แห่ง
5.เป็นที่ตั้งหน่วยงานระดับภาค
6.มีพื้นที่ปลูกยางพารา 1,486,188 ไร่
7.เป็นศูนย์กลางธุรกิจการเงินภาคใต้
8.มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินสูงสุดในกลุ่มจังหวัดชายแดนภาคใต้
9.มีทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ์ มีแร่หลายชนิด มีแหล่งน้ำธรรมชาติที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ คือ ทะเลสาบสงขลา และมีแหล่งน้ำใต้ดิน
10.เป็น 1 ใน 9 จังหวัดเป้าหมายที่จะกระจายการลงทุนไปสู่ภูมิภาค และเป็น 1 ใน 2 จังหวัดภาคใต้ที่มีการส่งเสริมอุตสาหกรรมเพื่อการส่งออก
ข้อเสนอการลงทุน
1.ธุรกิจการโรงแรม
2.อุตสาหกรรมไม้ยางพาราและเฟอร์นิเจอร์จากไม้ยางพารา
3.อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
4.อุตสาหกรรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
5. อุตสาหกรรมชิ้นส่วนอะไหล่รถยนต์
6. อุตสาหกรรมน้ำผลไม้
7. อุตสาหกรรมการเกษตร
-ผัก
-ผลไม้
-กุ้งกุลาดำ
8.การสนับสนุนจากภาครัฐ
1.การประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง
2.การพัฒนาระบบสาธารณูปโภค
-เพิ่มเติมและปรับปรุงเส้นทางคมนาคม
-เพิ่มกำลังการผลิตไฟฟ้าให้เพียงพอ
-ขยายระบบประปาให้ครอบคลุมทุกอำเภอ
3.การจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมภาคใต้(ฉลุง)
4.การพัฒนาระเบียบราชการ จัดระบบ ONE STOP SERVICE
5.การจัดตั้งคณะกรรมการจัดเก็บข้อมูล
6.การจัดตั้งศูนย์สารสนเทศจังหวัดสงขลา
7.การพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อม เช่นระบบกำจัดน้ำเสียและแหล่งน้ำ เป็นต้น
--ธนาคารแห่งประเทศไทย--
-สส-
จังหวัดสงขลาประกอบด้วย 13 อำเภอกับ 3 กิ่งอำเภอ ได้แก่ อำเภอเมืองสงขลา หาดใหญ่ สิงหนคร สทิงพระ กระแสสินธ์ ระโนด จะนะ เทพา นาทวี สะบ้าย้อย สะเดา รัตภูมิ นาหม่อม กิ่งอำเภอควนเนียง กิ่งอำเภอบางกล่ำ และกิ่งอำเภอคลองหอยโข่ง
พื้นที่รวม 7,393.9 ตารางกิโลเมตร หรือประมาณ 4,621,200ไร่
ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2542 มีประชากรจำนวน 1,223,833 คน หรือร้อยละ 15.0 ของประชากรทั้งภาค
ผลิตภัณฑ์จังหวัดตามราคาคงที่ (Gross Provincial Product at constant price )ปี 2539 เท่ากับ 48,328.8 ล้านบาท โดยมีสาขาการเกษตรกรรมเป็นสาขาหลัก คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 33.6 รองลงมาได้แก่ สาขาการค้าปลีกและค้าส่งร้อยละ 13.6 สาขาการบริการร้อยละ
ศักยภาพและโอกาสการลงทุน
1.เป็นจังหวัดในโครงการสามเหลี่ยมเศรษฐกิจ (IMT-GT)
2.มีความพร้อมด้านสาธารณูปโภค
-ถนน 4 ช่องจราจร
-ท่าอากาศยานนานาชาติหาดใหญ่
-ศูนย์กลางการคมนาคมขนส่งทางรถไฟ
-ท่าเรือน้ำลึก
-นิคมอุตสาหกรรมภาคใต้(ฉลุง)
-โทรศัพท์เพิ่ม 86,522 เลขหมายในปี 2539
3.แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติมากมาย อาทิ น้ำตกโตนงาช้าง หาดสมิหลา ทะเลสาบสงขลา อุทยานนกน้ำคูขุด แหล่งท่องเที่ยวทางศิลปวัฒนธรรม และแหล่งท่องเที่ยวด้านบริการ การค้า
4.เป็นที่ตั้งสถาบันการศึกษา 4 แห่ง
5.เป็นที่ตั้งหน่วยงานระดับภาค
6.มีพื้นที่ปลูกยางพารา 1,486,188 ไร่
7.เป็นศูนย์กลางธุรกิจการเงินภาคใต้
8.มีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินสูงสุดในกลุ่มจังหวัดชายแดนภาคใต้
9.มีทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ์ มีแร่หลายชนิด มีแหล่งน้ำธรรมชาติที่ใหญ่ที่สุดในประเทศ คือ ทะเลสาบสงขลา และมีแหล่งน้ำใต้ดิน
10.เป็น 1 ใน 9 จังหวัดเป้าหมายที่จะกระจายการลงทุนไปสู่ภูมิภาค และเป็น 1 ใน 2 จังหวัดภาคใต้ที่มีการส่งเสริมอุตสาหกรรมเพื่อการส่งออก
ข้อเสนอการลงทุน
1.ธุรกิจการโรงแรม
2.อุตสาหกรรมไม้ยางพาราและเฟอร์นิเจอร์จากไม้ยางพารา
3.อุตสาหกรรมเครื่องใช้ไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์
4.อุตสาหกรรมส่งเสริมอุตสาหกรรม
5. อุตสาหกรรมชิ้นส่วนอะไหล่รถยนต์
6. อุตสาหกรรมน้ำผลไม้
7. อุตสาหกรรมการเกษตร
-ผัก
-ผลไม้
-กุ้งกุลาดำ
8.การสนับสนุนจากภาครัฐ
1.การประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่อง
2.การพัฒนาระบบสาธารณูปโภค
-เพิ่มเติมและปรับปรุงเส้นทางคมนาคม
-เพิ่มกำลังการผลิตไฟฟ้าให้เพียงพอ
-ขยายระบบประปาให้ครอบคลุมทุกอำเภอ
3.การจัดตั้งนิคมอุตสาหกรรมภาคใต้(ฉลุง)
4.การพัฒนาระเบียบราชการ จัดระบบ ONE STOP SERVICE
5.การจัดตั้งคณะกรรมการจัดเก็บข้อมูล
6.การจัดตั้งศูนย์สารสนเทศจังหวัดสงขลา
7.การพัฒนาคุณภาพสิ่งแวดล้อม เช่นระบบกำจัดน้ำเสียและแหล่งน้ำ เป็นต้น
--ธนาคารแห่งประเทศไทย--
-สส-