สถานการณ์การผลิต เจริญโภคภัณฑ์อาหารสัตว์ประมาณการณ์ ผลผลิตกุ้งนี้ได้ 245,000 ตัน
รายงานข่าวของ เจริญโภคภัณฑ์อาหารสัตว์ แจ้งว่า สืบเนื่องจากปีนี้ราคากุ้งอยู่ในเกณฑ์ดี จูงใจให้เกษตรกรหันมาทำธุระกิจเลี้ยงกุ้งกันมากขึ้นคือ มีประมาณ 20,000 ราย ในพื้นที่ 478,744 ไร่ อยู่ในภาคใต้ 215,435 ไร่ หรือร้อยละ 45 ภาคกลางและภาคตะวันออก 263,309 ไร่ หรือร้อยละ 55
สำหรับผลผลิตกุ้งในช่วง 6 เดือนแรกของปีนี้ ประมาณว่าสามารถผลิตได้ 95,000 ตัน และคาดว่าหากปัจจัยต่าง ๆ เอื้ออำนวยจนถึงสิ้นปีนี้ประเทศไทยจะสามารถผลิตกุ้งได้ 245,000 ตัน
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา ( 12-17 กย.2543) สัตว์น้ำทุกชนิดส่งเข้าประมูลจำหน่ายที่องค์การสะพานปลากรุงเทพฯ มีจำนวนรวมทั้งสิ้น 1,123.69 ตัน แยกเป็นสัตว์น้ำเค็ม 441.32 ตัน สัตว์น้ำจืด 682.37 ตัน ประกอบด้วยสัตว์น้ำที่สำคัญ ได้แก่ ส่งเข้าประมูลจำหน่าย (ตัน) 1.1 ปลาดุก 5.19 1.2 ปลาช่อน 6.81 1.3 กุ้งทะเล 54.14 1.4 ปลาทู 6.96 1.5 ปลาหมึก 45.15
2. สถานการณ์การตลาด แนวโน้มการส่งออกกุ้งไทยปีนี้เพิ่มขึ้น
เจริญโภคภัณฑ์อาหารสัตว์ ได้ประมาณการณ์ การส่งออกกุ้งของไทยใน ปี 2543 โดยเฉพาะประเทศผู้นำเข้ากุ้งของไทยที่สำคัญคือ สหรัฐอเมริกา ซึ่งนำเข้ากุ้งจากไทยมากเป็นอันดับหนึ่งหลายปีติดต่อกัน คาดว่าปีนี้คงจะนำเข้ากุ้งจากไทยมากกว่าปีที่แล้ว รวมทั้งประเทศผู้นำเข้ากุ้งอื่น ๆ ด้วย เนื่องจากปีนี้กลุ่มผู้เลี้ยงกุ้งกุลาดำในแถบละติน อเมริกา เช่น เอกวาดอร์ ได้รับความเสียหายจากภาวะการระบาดของไวรัสตัวแดงดวงขาว ส่งผลให้ผลผลิตกุ้งโลกประสบกับภาวะขาดแคลน จึงเป็นโอกาสดีของเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งของไทย ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้ คือ
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 26.44 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 27.85 บาท ของสัปดาห์ก่อน 1.41 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 38.00 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 37.86 บาท ของสัปดาห์ก่อน 0.14 บาท
2.2 ปลาช่อน ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 53.71 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 52.81 บาท ของสัปดาห์ก่อน 0.90 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
2.3 กุ้งกุลาดำ กุ้งกุลาดำสดขนาดกลางราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 355.00 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 356.00 บาท ของสัปดาห์ก่อน 1.00 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 449.17 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 442.14 บาท ของสัปดาห์ก่อน 7.03 บาท
2.4 ปลาทู ปลาทูสดขนาดกลาง ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 17.67 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 18.71 บาท ของสัปดาห์ก่อน 1.04 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 54.17 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 47.86 บาท ของสัปดาห์ก่อน 6.31 บาท
2.5 ปลาหมึก ราคาปลาหมึกกระดองสดชาวประมงขายได้ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 62.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 72.50 บาท ของสัปดาห์ก่อน 10.00 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 81.67 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 84.28 บาท ของสัปดาห์ก่อน 2.61 บาท
2.6 ปลาเป็ดและปลาป่น ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2.68 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 2.67 บาท ของสัปดาห์ก่อน 0.01 บาท
สำหรับราคาขายส่งปลาป่นชนิดโปรตีน 58%ขึ้นไป (ระหว่างวันที่ 18-22 กย. 43) เฉลี่ยกิโลกรัมละ 19.60 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 19.00 บาท ของสัปดาห์ก่อน 0.60 บาท
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 37 ประจำวันที่ 18-24 ก.ย. 2543--
-สส-
รายงานข่าวของ เจริญโภคภัณฑ์อาหารสัตว์ แจ้งว่า สืบเนื่องจากปีนี้ราคากุ้งอยู่ในเกณฑ์ดี จูงใจให้เกษตรกรหันมาทำธุระกิจเลี้ยงกุ้งกันมากขึ้นคือ มีประมาณ 20,000 ราย ในพื้นที่ 478,744 ไร่ อยู่ในภาคใต้ 215,435 ไร่ หรือร้อยละ 45 ภาคกลางและภาคตะวันออก 263,309 ไร่ หรือร้อยละ 55
สำหรับผลผลิตกุ้งในช่วง 6 เดือนแรกของปีนี้ ประมาณว่าสามารถผลิตได้ 95,000 ตัน และคาดว่าหากปัจจัยต่าง ๆ เอื้ออำนวยจนถึงสิ้นปีนี้ประเทศไทยจะสามารถผลิตกุ้งได้ 245,000 ตัน
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่านมา ( 12-17 กย.2543) สัตว์น้ำทุกชนิดส่งเข้าประมูลจำหน่ายที่องค์การสะพานปลากรุงเทพฯ มีจำนวนรวมทั้งสิ้น 1,123.69 ตัน แยกเป็นสัตว์น้ำเค็ม 441.32 ตัน สัตว์น้ำจืด 682.37 ตัน ประกอบด้วยสัตว์น้ำที่สำคัญ ได้แก่ ส่งเข้าประมูลจำหน่าย (ตัน) 1.1 ปลาดุก 5.19 1.2 ปลาช่อน 6.81 1.3 กุ้งทะเล 54.14 1.4 ปลาทู 6.96 1.5 ปลาหมึก 45.15
2. สถานการณ์การตลาด แนวโน้มการส่งออกกุ้งไทยปีนี้เพิ่มขึ้น
เจริญโภคภัณฑ์อาหารสัตว์ ได้ประมาณการณ์ การส่งออกกุ้งของไทยใน ปี 2543 โดยเฉพาะประเทศผู้นำเข้ากุ้งของไทยที่สำคัญคือ สหรัฐอเมริกา ซึ่งนำเข้ากุ้งจากไทยมากเป็นอันดับหนึ่งหลายปีติดต่อกัน คาดว่าปีนี้คงจะนำเข้ากุ้งจากไทยมากกว่าปีที่แล้ว รวมทั้งประเทศผู้นำเข้ากุ้งอื่น ๆ ด้วย เนื่องจากปีนี้กลุ่มผู้เลี้ยงกุ้งกุลาดำในแถบละติน อเมริกา เช่น เอกวาดอร์ ได้รับความเสียหายจากภาวะการระบาดของไวรัสตัวแดงดวงขาว ส่งผลให้ผลผลิตกุ้งโลกประสบกับภาวะขาดแคลน จึงเป็นโอกาสดีของเกษตรกรผู้เลี้ยงกุ้งของไทย ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้ คือ
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 26.44 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 27.85 บาท ของสัปดาห์ก่อน 1.41 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 38.00 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 37.86 บาท ของสัปดาห์ก่อน 0.14 บาท
2.2 ปลาช่อน ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 53.71 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 52.81 บาท ของสัปดาห์ก่อน 0.90 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 80.00 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
2.3 กุ้งกุลาดำ กุ้งกุลาดำสดขนาดกลางราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 355.00 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 356.00 บาท ของสัปดาห์ก่อน 1.00 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 449.17 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 442.14 บาท ของสัปดาห์ก่อน 7.03 บาท
2.4 ปลาทู ปลาทูสดขนาดกลาง ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 17.67 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 18.71 บาท ของสัปดาห์ก่อน 1.04 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 54.17 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 47.86 บาท ของสัปดาห์ก่อน 6.31 บาท
2.5 ปลาหมึก ราคาปลาหมึกกระดองสดชาวประมงขายได้ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 62.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 72.50 บาท ของสัปดาห์ก่อน 10.00 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 81.67 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 84.28 บาท ของสัปดาห์ก่อน 2.61 บาท
2.6 ปลาเป็ดและปลาป่น ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2.68 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 2.67 บาท ของสัปดาห์ก่อน 0.01 บาท
สำหรับราคาขายส่งปลาป่นชนิดโปรตีน 58%ขึ้นไป (ระหว่างวันที่ 18-22 กย. 43) เฉลี่ยกิโลกรัมละ 19.60 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 19.00 บาท ของสัปดาห์ก่อน 0.60 บาท
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 37 ประจำวันที่ 18-24 ก.ย. 2543--
-สส-