บันทึกการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๑
ครั้งที่ ๑๓ (สมัยสามัญทั่วไป)
วันพุธที่ ๑๘ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๔๔
ณ ตึกรัฐสภา
---------------------
เริ่มประชุมเวลา ๑๓.๔๐ นาฬิกา
เมื่อครบองค์ประชุมแล้ว นายอุทัย พิมพ์ใจชน ประธานสภาผู้แทนราษฎร
นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่ง และนายบุญชง
วีสมหมาย รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่สอง ขึ้นบัลลังก์
ประธานสภาผู้แทนราษฎรกล่าวเปิดประชุมและได้ให้เลขาธิการสภา
ผู้แทนราษฎรอ่านพระบรมราชโองการประกาศ แต่งตั้ง พลตรี มนูญกฤต รูปขจร
เป็นประธานวุฒิสภา
จากนั้น ประธานสภาผู้แทนราษฎรได้แจ้งให้ที่ประชุมรับทราบเรื่อง
สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีแจ้งเหตุขัดข้องที่นายกรัฐมนตรีไม่สามารถพิจารณา
ให้คำรับรองร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินได้ภายในกำหนดเวลา ตามข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร
ข้อ ๙๕ เนื่องจากร่างพระราชบัญญัติอยู่ในระหว่าง
การพิจารณาของส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง จำนวน ๙ ฉบับ คือ
(๑) ร่างพระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง
นายอำนวย คลังผา กับคณะ เป็นผู้เสนอ
(๒) ร่างพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะของสุขาภิบาลเป็นเทศบาล
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง นายอำนวย คลังผา กับคณะ เป็นผู้เสนอ
(๓) ร่างพระราชบัญญัติสุรา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง
นายเสกสรรค์ แสนภูมิ และนายอดิศร เพียงเกษ เป็นผู้เสนอ
(๔) ร่างพระราชบัญญัติสงเคราะห์และคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กและเยาวชน
พ.ศ. …. ซึ่ง นางนิภา พริ้งศุลกะ กับคณะ เป็นผู้เสนอ
(๕) ร่างพระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ. …. ซึ่ง นายสุรสิทธิ์
นิติวุฒิวรรักษ์ และนายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ เป็นผู้เสนอ
(๖) ร่างพระราชบัญญัติการกีฬาและกิจการเยาวชน พ.ศ. …. ซึ่ง
นายภิญโญ นิโรจน์ และนายวิทยา คุณปลื้ม เป็นผู้เสนอ
(๗) ร่างพระราชบัญญัติโอนอำนาจหน้าที่และกิจการบริหารบางส่วนของสำนักนายกรัฐมนตรีและ
กระทรวงศึกษาธิการ ไปเป็นของกระทรวงกีฬาและกิจการ
เยาวชน พ.ศ. …. ซึ่ง นายภิญโญ นิโรจน์ และนายวิทยา คุณปลื้ม เป็นผู้เสนอ
(๘) ร่างพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ ..)
พ.ศ. …. ซึ่ง นายภิญโญ นิโรจน์ และนายวิทยา คุณปลื้ม เป็นผู้เสนอ
(๙) ร่างพระราชบัญญัติการกีฬาแห่งประเทศไทย (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
ซึ่ง นายภิญโญ นิโรจน์ และนายวิทยา คุณปลื้ม เป็นผู้เสนอ
ที่ประชุมรับทราบ
ต่อจากนั้น ประธานสภาผู้แทนราษฎรได้เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาระเบียบวาระเรื่องด่วน ตามลำดับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองการดำเนินงานขององค์การห้ามอาวุธเคมี พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี
เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑)
เมื่อรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ได้แถลงหลักการและ
เหตุผล โดยมีรองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่งปฏิบัติหน้าที่ต่อ มีสมาชิกฯ อภิปราย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง
อุตสาหกรรม ตอบชี้แจงจนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑
รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ
จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นางสาวกัญญา สินสกุล ๒. นายกฤษณ์ กาญจนกุญชร
๓. พลเอก สุธี จรูญพร ๔. นางจริยา เจียมวิจิตร
๕. นายสมศักดิ์ สิงหลกะ ๖. นายกริช กงเพชร
๗. นายดนัยฤทธิ์ วัชราภรณ์ ๘. นายปิติพงศ์ เต็มเจริญ
๙. นายเกื้อกูล ด่านชัยวิจิตร ๑๐. นายจักริน พัฒน์ดำรงจิตร
๑๑. นายณรงค์กร ชวาลสันตติ ๑๒. นายพงษ์ศักดิ์ วรปัญญา
๑๓. นายธีระชัย เตียวเจริญโสภา ๑๔. นายนพคุณ รัฐผไท
๑๕. นายบุญจง วงศ์ไตรรัตน์ ๑๖. พันตำรวจโท บรรยิน ตั้งภากรณ์
๑๗. นายอำนวย คลังผา ๑๘. นายประสานต์ บุญมี
๑๙. นายพงศ์เวช เวชชาชีวะ ๒๐. นายพงศ์ศักดิ์ บุญศล
๒๑. นายศิริโชค โสภา ๒๒. นายเจริญ คันธวงศ์
๒๓. พันตำรวจโท วิจิตร สุวิทย์ ๒๔. นายเจะอามิง โตะตาหยง
๒๕. นายบุญมาก ศิริเนาวกุล ๒๖. นางประไพพรรณ เส็งประเสริฐ
๒๗. นายสาธิต ปิตุเตชะ ๒๘. หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร
๒๙. นายกอบศักดิ์ ชุติกุล ๓๐. นายชวาล ชวณิชย์
๓๑. นายรณฤทธิชัย คานเขต ๓๒. นายนิมิตร นนทพันธาวาทย์
๓๓. นายวุฒิชัย สงวนวงศ์ชัย ๓๔. รองศาสตราจารย์สุธาบดี สัตตบุศย์
๓๕. นายธราพงษ์ สีลาวงษ์
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๒. ร่างพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๒)
เมื่อรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ได้แถลงหลักการ
และเหตุผล โดยมีประธานสภาผู้แทนราษฎรปฏิบัติหน้าที่ต่อ มีสมาชิกฯ อภิปราย
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ตอบชี้แจงจนได้เวลาพอสมควรแล้ว
ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และมีมติ
ให้ใช้คณะกรรมาธิการฯ ชุดเดียวกันกับร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองการดำเนินงาน
ขององค์การห้ามอาวุธเคมี พ.ศ. …. เป็นผู้พิจารณา
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๓. ร่างพระราชบัญญัติรถยนตร์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
(กำหนดอัตราภาษีรถที่ขับเคลื่อนด้วยกำลังไฟฟ้า) ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๓)
เมื่อรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม (นายพงศกร เลาหวิเชียร)
ได้แถลงหลักการและเหตุผล มีสมาชิกฯ อภิปราย รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม (นายพงศกร เลาหวิเชียร)
ตอบชี้แจงจนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุม
ได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน
เพื่อพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ
ประกอบด้วย
๑. นายพงศกร เลาหวิเชียร ๒. นายนพดล พลเสน
๓. นายปิยะพันธ์ จัมปาสุต ๔. นายพิชัย บรรลือหาญ
๕. นายดิสทัต โหตระกิตย์ ๖. นายสุธา ชันแสง
๗. นางสาวอรุณี ชำนาญยา ๘. นายเอนก หุตังคบดี
๙. นายอภิชาติ ตีรสวัสดิชัย ๑๐. พันเอก อภิวันท์ วิริยะชัย
๑๑. นายอนุชา นาคาศัย ๑๒. นางสาวสุวิมล พันธ์เจริญวรกุล
๑๓. นายศิริ หวังบุญเกิด ๑๔. นายเสรี สาระนันท์
๑๕. นายสุรศักดิ์ อนรรฆพันธ์ ๑๖. นายสุรพล เกียรติไชยากร
๑๗. นายจตุพร เจริญเชื้อ ๑๘. นายกล่ำคาน ปาทาน
๑๙. นายโกวิทย์ ธรรมานุชิต ๒๐. นายธีระยุทธ วานิชชัง
๒๑. นายสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์ ๒๒. นายจุฤทธิ์ ลักษณวิศิษฏ์
๒๓. นายพรวุฒิ สารสิน ๒๔. นายนริศ ขำนุรักษ์
๒๕. นายอลงกรณ์ พลบุตร ๒๖. พันตำรวจโท วิจิตร สุวิทย์
๒๗. นางนิภา พริ้งศุลกะ ๒๘. นายวิจิตร พรพฤฒิพันธุ์
๒๙. นายชัย ชิดชอบ ๓๐. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์
๓๑. นายพิทยา บุญเฉลียว ๓๒. นายประเสริฐ บุญเรือง
๓๓. นายวารุจ ศิริวัฒน์ ๓๔. นายวิชิต แย้มบุญเรือง
๓๕. นายสานิต ว่องสัธนพงษ์
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๔. ร่างพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงเขตอำนาจศาลจังหวัดปากพนัง
พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๔)
เมื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ได้แถลงหลักการและเหตุผล
มีสมาชิกฯ อภิปราย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ตอบชี้แจงจนได้เวลา
พอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ
ฉบับนี้ และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา
คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายชาญณรงค์ ปราณีจิตต์ ๒. นายมนตรี ศิลป์มหาบัณฑิต
๓. นายวิชิต ปลั่งศรีสกุล ๔. นายศักยา ชูใหม่
๕. นางสาวพรทิพย์ จาละ ๖. นายปกิต พัฒนกุล
๗. นายเอกธนัช อินทร์รอด ๘. นายอรรถพล มามะ
๙. นายอนุสรณ์ ปั้นทอง ๑๐. นายกันตธีร์ ศุภมงคล
๑๑. พลเอก รัตนะ เฉลิมแสนยากร ๑๒. นายสุวัฒน์ วรรณศิริกุล
๑๓. นายเสกสรรค์ แสนภูมิ ๑๔. ว่าที่ร้อยตรี สุเมธ ฤทธาคนี
๑๕. นายสุพล ฟองงาม ๑๖. นายสมชาย สุนทรวัฒน์
๑๗. นายวิทยา ทรงคำ ๑๘. นางฟาริดา สุไลมาน
๑๙. นายพินิจ จันทร์สมบูรณ์ ๒๐. นายมานิตย์ สังข์พุ่ม
๒๑. นายวิทยา แก้วภราดัย ๒๒. นายชำนิ ศักดิเศรษฐ์
๒๓. นายอภิชาต การิกาญจน์ ๒๔. นายประกอบ รัตนพันธ์
๒๕. นายสินิตย์ เลิศไกร ๒๖. นางสาวนริศา อดิเทพวรพันธุ์
๒๗. นายสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์ ๒๘. นายมาโนชญ์ วิชัยกุล
๒๙. นายอิทธิพล คุณปลื้ม ๓๐. นายเกษม สรศักดิ์เกษม
๓๑. นายไพศาล ยิ่งสมาน ๓๒. นายอารีเพ็ญ อุตรสินธุ์
๓๓. นายวันชัย สอนศิริ ๓๔. นายวิสิทธิ์ พิทยาภรณ์
๓๕. นายณรงค์เลิศ สุรพล
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๕. ร่างพระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว (ฉบับที่ ..)
พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๕)
เมื่อรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและ
สวัสดิการสังคม (ศาสตราจารย์เดช บุญ-หลง) ได้แถลงหลักการและเหตุผล
มีสมาชิกฯ อภิปราย รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน
และสวัสดิการสังคม (ศาสตราจารย์เดช บุญ-หลง) ตอบชี้แจงจนได้เวลา
พอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ
ฉบับนี้ และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คนเพื่อพิจารณา
คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. ศาสตราจารย์เดช บุญ-หลง ๒. นางจริยา เจียมวิจิตร
๓. นายวันชัย ผดุงศุภไลย ๔. นายไพศาล พฤฒิพร
๕. นายสุพจน์ เอี่ยมมงคลสกุล ๖. นายวุฒิพงษ์ ศิริสถิตย์
๗. ว่าที่ร้อยตรี พงศ์พันธ์ สุนทรชัย ๘. นายวิฑูรย์ วงษ์ไกร
๙. นายสนั่น สบายเมือง ๑๐. นายสมบูรณ์ ไพรวัลย์
๑๑. นายวัฒนา เซ่งไพเราะ ๑๒. เรืออากาศโท วิชัย ราชานนท์
๑๓. นายวิวัฒน์ นิติกาญจนา ๑๔. นายทนุศักดิ์ เล็กอุทัย
๑๕. นายวรวุฒิ ภุมมะกาญจนะ ๑๖. นางกรรณิกา ธรรมเกษร
๑๗. นายเมธี ฉัตรจินดารัตน์ ๑๘. นายประจักษ์ แกล้วกล้าหาญ
๑๙. นายอรรถพล สนิทวงศ์ชัย ๒๐. นายสุรศักดิ์ นาคดี
๒๑. นายนิพนธ์ บุญญามณี ๒๒. นายไพร พัฒโน
๒๓. ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน ๒๔. นายเชน เทือกสุบรรณ
๒๕. นางสาวเฉลิมลักษณ์ เก็บทรัพย์ ๒๖. นายสุวโรช พะลัง
๒๗. นายธนิตพล ไชยนันทน์ ๒๘. นายยงยุทธ สุวภาพ
๒๙. นายวิทยา คุณปลื้ม ๓๐. นายวิชัย โถสุวรรณจินดา
๓๑. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง ๓๒. นายนัจมุดดีน อูมา
๓๓. นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล ๓๔. รองศาสตราจารย์ไชยา ยิ้มวิไล
๓๕. นายสงกรานต์ คำพิไสย์
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
เลิกประชุมเวลา ๑๘.๓๐ นาฬิกา
(นางศิริลักษณ์ ปั้นบำรุงกิจ)
เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
ฝ่ายรายงานการประชุม
กองการประชุม
โทร. ๒๔๔๑๑๑๕-๖
โทรสาร ๒๔๔๑๑๑๕-๖
สรุปผลการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ จำนวน ๕ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองการดำเนินงานขององค์การห้ามอาวุธเคมี
พ.ศ. ….
๒. ร่างพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
๓. ร่างพระราชบัญญัติรถยนตร์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….. (กำหนดอัตราภาษีรถ
ที่ขับเคลื่อนด้วยกำลังไฟฟ้า)
๔. ร่างพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงเขตอำนาจศาลจังหวัดปากพนัง พ.ศ. ….
๕. ร่างพระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
**************************
ครั้งที่ ๑๓ (สมัยสามัญทั่วไป)
วันพุธที่ ๑๘ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๔๔
ณ ตึกรัฐสภา
---------------------
เริ่มประชุมเวลา ๑๓.๔๐ นาฬิกา
เมื่อครบองค์ประชุมแล้ว นายอุทัย พิมพ์ใจชน ประธานสภาผู้แทนราษฎร
นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่ง และนายบุญชง
วีสมหมาย รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่สอง ขึ้นบัลลังก์
ประธานสภาผู้แทนราษฎรกล่าวเปิดประชุมและได้ให้เลขาธิการสภา
ผู้แทนราษฎรอ่านพระบรมราชโองการประกาศ แต่งตั้ง พลตรี มนูญกฤต รูปขจร
เป็นประธานวุฒิสภา
จากนั้น ประธานสภาผู้แทนราษฎรได้แจ้งให้ที่ประชุมรับทราบเรื่อง
สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีแจ้งเหตุขัดข้องที่นายกรัฐมนตรีไม่สามารถพิจารณา
ให้คำรับรองร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินได้ภายในกำหนดเวลา ตามข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร
ข้อ ๙๕ เนื่องจากร่างพระราชบัญญัติอยู่ในระหว่าง
การพิจารณาของส่วนราชการที่เกี่ยวข้อง จำนวน ๙ ฉบับ คือ
(๑) ร่างพระราชบัญญัติเทศบาล (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง
นายอำนวย คลังผา กับคณะ เป็นผู้เสนอ
(๒) ร่างพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงฐานะของสุขาภิบาลเป็นเทศบาล
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง นายอำนวย คลังผา กับคณะ เป็นผู้เสนอ
(๓) ร่างพระราชบัญญัติสุรา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง
นายเสกสรรค์ แสนภูมิ และนายอดิศร เพียงเกษ เป็นผู้เสนอ
(๔) ร่างพระราชบัญญัติสงเคราะห์และคุ้มครองสวัสดิภาพเด็กและเยาวชน
พ.ศ. …. ซึ่ง นางนิภา พริ้งศุลกะ กับคณะ เป็นผู้เสนอ
(๕) ร่างพระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ. …. ซึ่ง นายสุรสิทธิ์
นิติวุฒิวรรักษ์ และนายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ เป็นผู้เสนอ
(๖) ร่างพระราชบัญญัติการกีฬาและกิจการเยาวชน พ.ศ. …. ซึ่ง
นายภิญโญ นิโรจน์ และนายวิทยา คุณปลื้ม เป็นผู้เสนอ
(๗) ร่างพระราชบัญญัติโอนอำนาจหน้าที่และกิจการบริหารบางส่วนของสำนักนายกรัฐมนตรีและ
กระทรวงศึกษาธิการ ไปเป็นของกระทรวงกีฬาและกิจการ
เยาวชน พ.ศ. …. ซึ่ง นายภิญโญ นิโรจน์ และนายวิทยา คุณปลื้ม เป็นผู้เสนอ
(๘) ร่างพระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม (ฉบับที่ ..)
พ.ศ. …. ซึ่ง นายภิญโญ นิโรจน์ และนายวิทยา คุณปลื้ม เป็นผู้เสนอ
(๙) ร่างพระราชบัญญัติการกีฬาแห่งประเทศไทย (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
ซึ่ง นายภิญโญ นิโรจน์ และนายวิทยา คุณปลื้ม เป็นผู้เสนอ
ที่ประชุมรับทราบ
ต่อจากนั้น ประธานสภาผู้แทนราษฎรได้เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาระเบียบวาระเรื่องด่วน ตามลำดับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองการดำเนินงานขององค์การห้ามอาวุธเคมี พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี
เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑)
เมื่อรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ได้แถลงหลักการและ
เหตุผล โดยมีรองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่งปฏิบัติหน้าที่ต่อ มีสมาชิกฯ อภิปราย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวง
อุตสาหกรรม ตอบชี้แจงจนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑
รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ
จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นางสาวกัญญา สินสกุล ๒. นายกฤษณ์ กาญจนกุญชร
๓. พลเอก สุธี จรูญพร ๔. นางจริยา เจียมวิจิตร
๕. นายสมศักดิ์ สิงหลกะ ๖. นายกริช กงเพชร
๗. นายดนัยฤทธิ์ วัชราภรณ์ ๘. นายปิติพงศ์ เต็มเจริญ
๙. นายเกื้อกูล ด่านชัยวิจิตร ๑๐. นายจักริน พัฒน์ดำรงจิตร
๑๑. นายณรงค์กร ชวาลสันตติ ๑๒. นายพงษ์ศักดิ์ วรปัญญา
๑๓. นายธีระชัย เตียวเจริญโสภา ๑๔. นายนพคุณ รัฐผไท
๑๕. นายบุญจง วงศ์ไตรรัตน์ ๑๖. พันตำรวจโท บรรยิน ตั้งภากรณ์
๑๗. นายอำนวย คลังผา ๑๘. นายประสานต์ บุญมี
๑๙. นายพงศ์เวช เวชชาชีวะ ๒๐. นายพงศ์ศักดิ์ บุญศล
๒๑. นายศิริโชค โสภา ๒๒. นายเจริญ คันธวงศ์
๒๓. พันตำรวจโท วิจิตร สุวิทย์ ๒๔. นายเจะอามิง โตะตาหยง
๒๕. นายบุญมาก ศิริเนาวกุล ๒๖. นางประไพพรรณ เส็งประเสริฐ
๒๗. นายสาธิต ปิตุเตชะ ๒๘. หม่อมราชวงศ์สุขุมพันธุ์ บริพัตร
๒๙. นายกอบศักดิ์ ชุติกุล ๓๐. นายชวาล ชวณิชย์
๓๑. นายรณฤทธิชัย คานเขต ๓๒. นายนิมิตร นนทพันธาวาทย์
๓๓. นายวุฒิชัย สงวนวงศ์ชัย ๓๔. รองศาสตราจารย์สุธาบดี สัตตบุศย์
๓๕. นายธราพงษ์ สีลาวงษ์
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๒. ร่างพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๒)
เมื่อรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ได้แถลงหลักการ
และเหตุผล โดยมีประธานสภาผู้แทนราษฎรปฏิบัติหน้าที่ต่อ มีสมาชิกฯ อภิปราย
รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงอุตสาหกรรม ตอบชี้แจงจนได้เวลาพอสมควรแล้ว
ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และมีมติ
ให้ใช้คณะกรรมาธิการฯ ชุดเดียวกันกับร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองการดำเนินงาน
ขององค์การห้ามอาวุธเคมี พ.ศ. …. เป็นผู้พิจารณา
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๓. ร่างพระราชบัญญัติรถยนตร์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
(กำหนดอัตราภาษีรถที่ขับเคลื่อนด้วยกำลังไฟฟ้า) ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๓)
เมื่อรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม (นายพงศกร เลาหวิเชียร)
ได้แถลงหลักการและเหตุผล มีสมาชิกฯ อภิปราย รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงคมนาคม (นายพงศกร เลาหวิเชียร)
ตอบชี้แจงจนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุม
ได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน
เพื่อพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ
ประกอบด้วย
๑. นายพงศกร เลาหวิเชียร ๒. นายนพดล พลเสน
๓. นายปิยะพันธ์ จัมปาสุต ๔. นายพิชัย บรรลือหาญ
๕. นายดิสทัต โหตระกิตย์ ๖. นายสุธา ชันแสง
๗. นางสาวอรุณี ชำนาญยา ๘. นายเอนก หุตังคบดี
๙. นายอภิชาติ ตีรสวัสดิชัย ๑๐. พันเอก อภิวันท์ วิริยะชัย
๑๑. นายอนุชา นาคาศัย ๑๒. นางสาวสุวิมล พันธ์เจริญวรกุล
๑๓. นายศิริ หวังบุญเกิด ๑๔. นายเสรี สาระนันท์
๑๕. นายสุรศักดิ์ อนรรฆพันธ์ ๑๖. นายสุรพล เกียรติไชยากร
๑๗. นายจตุพร เจริญเชื้อ ๑๘. นายกล่ำคาน ปาทาน
๑๙. นายโกวิทย์ ธรรมานุชิต ๒๐. นายธีระยุทธ วานิชชัง
๒๑. นายสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์ ๒๒. นายจุฤทธิ์ ลักษณวิศิษฏ์
๒๓. นายพรวุฒิ สารสิน ๒๔. นายนริศ ขำนุรักษ์
๒๕. นายอลงกรณ์ พลบุตร ๒๖. พันตำรวจโท วิจิตร สุวิทย์
๒๗. นางนิภา พริ้งศุลกะ ๒๘. นายวิจิตร พรพฤฒิพันธุ์
๒๙. นายชัย ชิดชอบ ๓๐. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์
๓๑. นายพิทยา บุญเฉลียว ๓๒. นายประเสริฐ บุญเรือง
๓๓. นายวารุจ ศิริวัฒน์ ๓๔. นายวิชิต แย้มบุญเรือง
๓๕. นายสานิต ว่องสัธนพงษ์
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๔. ร่างพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงเขตอำนาจศาลจังหวัดปากพนัง
พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๔)
เมื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ได้แถลงหลักการและเหตุผล
มีสมาชิกฯ อภิปราย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ตอบชี้แจงจนได้เวลา
พอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ
ฉบับนี้ และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา
คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายชาญณรงค์ ปราณีจิตต์ ๒. นายมนตรี ศิลป์มหาบัณฑิต
๓. นายวิชิต ปลั่งศรีสกุล ๔. นายศักยา ชูใหม่
๕. นางสาวพรทิพย์ จาละ ๖. นายปกิต พัฒนกุล
๗. นายเอกธนัช อินทร์รอด ๘. นายอรรถพล มามะ
๙. นายอนุสรณ์ ปั้นทอง ๑๐. นายกันตธีร์ ศุภมงคล
๑๑. พลเอก รัตนะ เฉลิมแสนยากร ๑๒. นายสุวัฒน์ วรรณศิริกุล
๑๓. นายเสกสรรค์ แสนภูมิ ๑๔. ว่าที่ร้อยตรี สุเมธ ฤทธาคนี
๑๕. นายสุพล ฟองงาม ๑๖. นายสมชาย สุนทรวัฒน์
๑๗. นายวิทยา ทรงคำ ๑๘. นางฟาริดา สุไลมาน
๑๙. นายพินิจ จันทร์สมบูรณ์ ๒๐. นายมานิตย์ สังข์พุ่ม
๒๑. นายวิทยา แก้วภราดัย ๒๒. นายชำนิ ศักดิเศรษฐ์
๒๓. นายอภิชาต การิกาญจน์ ๒๔. นายประกอบ รัตนพันธ์
๒๕. นายสินิตย์ เลิศไกร ๒๖. นางสาวนริศา อดิเทพวรพันธุ์
๒๗. นายสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์ ๒๘. นายมาโนชญ์ วิชัยกุล
๒๙. นายอิทธิพล คุณปลื้ม ๓๐. นายเกษม สรศักดิ์เกษม
๓๑. นายไพศาล ยิ่งสมาน ๓๒. นายอารีเพ็ญ อุตรสินธุ์
๓๓. นายวันชัย สอนศิริ ๓๔. นายวิสิทธิ์ พิทยาภรณ์
๓๕. นายณรงค์เลิศ สุรพล
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๕. ร่างพระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว (ฉบับที่ ..)
พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๕)
เมื่อรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและ
สวัสดิการสังคม (ศาสตราจารย์เดช บุญ-หลง) ได้แถลงหลักการและเหตุผล
มีสมาชิกฯ อภิปราย รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงาน
และสวัสดิการสังคม (ศาสตราจารย์เดช บุญ-หลง) ตอบชี้แจงจนได้เวลา
พอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ
ฉบับนี้ และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คนเพื่อพิจารณา
คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. ศาสตราจารย์เดช บุญ-หลง ๒. นางจริยา เจียมวิจิตร
๓. นายวันชัย ผดุงศุภไลย ๔. นายไพศาล พฤฒิพร
๕. นายสุพจน์ เอี่ยมมงคลสกุล ๖. นายวุฒิพงษ์ ศิริสถิตย์
๗. ว่าที่ร้อยตรี พงศ์พันธ์ สุนทรชัย ๘. นายวิฑูรย์ วงษ์ไกร
๙. นายสนั่น สบายเมือง ๑๐. นายสมบูรณ์ ไพรวัลย์
๑๑. นายวัฒนา เซ่งไพเราะ ๑๒. เรืออากาศโท วิชัย ราชานนท์
๑๓. นายวิวัฒน์ นิติกาญจนา ๑๔. นายทนุศักดิ์ เล็กอุทัย
๑๕. นายวรวุฒิ ภุมมะกาญจนะ ๑๖. นางกรรณิกา ธรรมเกษร
๑๗. นายเมธี ฉัตรจินดารัตน์ ๑๘. นายประจักษ์ แกล้วกล้าหาญ
๑๙. นายอรรถพล สนิทวงศ์ชัย ๒๐. นายสุรศักดิ์ นาคดี
๒๑. นายนิพนธ์ บุญญามณี ๒๒. นายไพร พัฒโน
๒๓. ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน ๒๔. นายเชน เทือกสุบรรณ
๒๕. นางสาวเฉลิมลักษณ์ เก็บทรัพย์ ๒๖. นายสุวโรช พะลัง
๒๗. นายธนิตพล ไชยนันทน์ ๒๘. นายยงยุทธ สุวภาพ
๒๙. นายวิทยา คุณปลื้ม ๓๐. นายวิชัย โถสุวรรณจินดา
๓๑. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง ๓๒. นายนัจมุดดีน อูมา
๓๓. นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล ๓๔. รองศาสตราจารย์ไชยา ยิ้มวิไล
๓๕. นายสงกรานต์ คำพิไสย์
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
เลิกประชุมเวลา ๑๘.๓๐ นาฬิกา
(นางศิริลักษณ์ ปั้นบำรุงกิจ)
เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
ฝ่ายรายงานการประชุม
กองการประชุม
โทร. ๒๔๔๑๑๑๕-๖
โทรสาร ๒๔๔๑๑๑๕-๖
สรุปผลการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ จำนวน ๕ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติคุ้มครองการดำเนินงานขององค์การห้ามอาวุธเคมี
พ.ศ. ….
๒. ร่างพระราชบัญญัติวัตถุอันตราย (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
๓. ร่างพระราชบัญญัติรถยนตร์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….. (กำหนดอัตราภาษีรถ
ที่ขับเคลื่อนด้วยกำลังไฟฟ้า)
๔. ร่างพระราชบัญญัติเปลี่ยนแปลงเขตอำนาจศาลจังหวัดปากพนัง พ.ศ. ….
๕. ร่างพระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
**************************