ราคายางแผ่นดิบชั้น 3 ตลาดหาดใหญ่ สัปดาห์นี้ 23.25 บาท/กิโลกรัม 1. สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาภายในประเทศ
ไม่มีรายงาน
สำหรับราคาที่เกษตรกรขายได้สัปดาห์นี้ มีดังนี้
1. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.84 บาท ลดลงจาก 23.12 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.28 บาท หรือร้อยละ 1.21 2. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 2 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.32 บาท ลดลงจาก 22.64 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.32 บาท หรือร้อยละ 1.41
3. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 21.85 บาท ลดลงจาก 22.17 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.32 บาท หรือร้อยละ 1.44
4. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 4 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 21.37 บาท ลดลงจาก 21.75 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.38 บาท หรือร้อยละ 1.75
5. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 5 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 20.85 บาท ลดลงจาก 21.23 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.38 บาท หรือร้อยละ 1.79
6. ยางแผ่นดิบคละราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 21.56 บาท ลดลงจาก 21.93 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.37 บาท หรือร้อยละ 1.69
7. ยางก้อนคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 10.60 บาท ลดลงจาก 10.74 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.14 บาท หรือร้อยละ 1.30
8. เศษยางคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.15 บาท ลดลงจาก 8.25 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.10 บาท หรือร้อยละ 1.21
9. น้ำยางข้นคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 20.97 บาท สูงขึ้นจาก 20.58 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.39 บาท หรือร้อยละ 1.90
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ซื้อขายล่วงหน้าส่งมอบเดือนมีนาคม 2544
ณ ท่าเรือกรุงเทพ
1. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.13 บาท ลดลงจาก 27.30 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.17 หรือร้อยละ 0.62 2. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 26.98 บาท ลดลงจาก 26.15 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.17 บาท หรือร้อยละ 0.65
3. น้ำยางข้นราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 21.01 บาท ลดลงจาก 21.10 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.09 บาท หรือร้อยละ 0.43
ณ ท่าเรือสงขลา
1. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 26.88 บาท ลดลงจาก 27.05 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.17 บาท หรือร้อยละ 0.63
2. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 25.73 บาท ลดลงจาก 25.90 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.17 บาท หรือร้อยละ 0.66
3. น้ำยางข้นราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 20.76 บาท ลดลงจาก 20.85 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.09 บาท หรือร้อยละ 0.43
2. สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาในตลาดโลก จากการประชุมประจำปีผู้ค้ายางธรรมชาติจากประเทศผู้ผลิตที่สำคัญ ได้แก่ ไทยอินโดนีเซีย และมาเลเซีย พร้อมด้วยสิงคโปร์ที่เป็นศูนย์การค้ายางที่สำคัญในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อวันที่ 9-10 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา ผู้ค้ายางได้ประมาณการว่าขณะนี้ INRO มียางธรรมชาติอยู่ในสต๊อกประมาณ 50,000 ตัน ซึ่งมีส่วนส่งผลให้ราคายางไม่สามารถปรับสูงขึ้นได้มากในปีนี้ ประกอบกับแรงกดดันของการชะลอตัวของเศรษฐกิจอเมริกา ซึ่งคาดว่าในปีนี้ปริมาณการนำเข้าจะไม่เพิ่มขึ้น โดยสหรัฐอเมริกานำเข้ายางจากประเทศอินโดนีเซียเป็นอันดับหนึ่ง ส่วนไทยอยู่ในอันดับ 3ดังนั้นการอ่อนตัวของค่าเงินรูเปียซของอินโดนีเซียมีผลกดดันให้ราคายางในตลาดโลกอ่อนตัวลงด้วย และทำให้อินโดนีเซียขายยางในรูปของเงินเหรียญสหรัฐฯ ได้ถูกกว่าราคายางของไทย ซึ่งผู้จัดการสมาคมยางพาราไทยคาดการณ์ว่าราคายางของไทยจะยงคงทรงตัวต่อไปและเริ่มปรับตัวสูงขึ้นอย่างช้า ๆ ในช่วงครึ่งหลังของปี หลังจากที่องค์การยางธรรมชาติระหว่างประเทศ (INRO) ได้ชำระบัญชีมูลภัณฑ์กันชนที่สะสมอยู่ในสต๊อก 138,0000 ตัน ให้เสร็จเรียบร้อยภายในเดือนมิถุนายนปีนี้
ความเคลื่อนไหวของราคายางประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาแจ้งสถานการณ์ตลาด ของ INRO
ราคาซื้อขายเฉลี่ยประจำวันของยางแผ่นรมควันชั้น 1 ยางแผ่นรมควันชั้น 3 และยางแท่งชั้น 20 ในตลาดกัวลาลัมเปอร์ ตลาดลอนดอน ตลาดนิวยอร์คและตลาดสิงคโปร์ (DMIP) เฉลี่ยกิโลกรัมละ 105.61 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ (18.52 บาท) ลดลงจาก 107.11 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ ( 18.80 บาท) ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.50 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ หรือร้อยละ 1.40
ราคาซื้อขายเฉลี่ย 5 วัน ของยางแผ่นรมควันชั้น 1 ยางแผ่นรมควันชั้น 3 และยาง
แท่งชั้น 20 ในตลาดกัวลาลัมเปอร์ ตลาดลอนดอน ตลาดนิวยอร์คและตลาดสิงคโปร์ (DMIP)เฉลี่ยกิโลกรัมละ 106.40 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ ( 18.66 บาท) ลดลงจาก 107.51 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ (18.87 บาท) ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.11 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ หรือร้อยละ 1.04
ราคาต่างประเทศซื้อขายล่วงหน้า ส่งมอบเดือนมีนาคม 2544
ยางแผ่นรมควันชั้น 1
ตลาดสิงคโปร์เสนอซื้อล่วงหน้า เฉลี่ยกิโลกรัมละ 105.75 เซนต์สิงคโปร์ ( 25.50 บาท ) ลดลงจาก 107.25 เซนต์สิงคโปร์ (25.91 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.50 เซนต์สิงคโปร์ หรือร้อยละ 1.40
ตลาดมาเลเซียเสนอซื้อล่วงหน้า เฉลี่ยกิโลกรัมละ 240.13 เซนต์มาเลเซีย ( 26.34 บาท)ลดลงจาก 241.75 เซนต์มาเลเซีย (26.46 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.62 เซนต์สิงคโปร์ หรือร้อยละ 0.67
ตลาดลอนดอนเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 50.44 เพนนี (30.87 บาท) ลดลงจาก 50.50 เพนนี (31.21 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.06 เพนนี หรือร้อยละ 0.12
ยางแผ่นรมควันชั้น 3
ตลาดสิงคโปร์เสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 60.75 เซนต์สหรัฐฯ (25.68 บาท) ลดลงจาก 61.75 เซนต์สหรัฐฯ (26.10 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.00 เซนต์สหรัฐฯ หรือร้อยละ 1.62
ตลาดมาเลเซียเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 228.38 เซนต์มาเลเซีย (25.05 บาท) ลดลงจาก 235.25 เซนต์มาเลเซีย (25.20 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.87 เซนต์มาเลเซีย หรือร้อยละ 0.81
ตลาดลอนดอนเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.19 เพนนี (29.49 บาท) ลดลงจาก 48.25 เพนนี (29.82 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.06 เพนนี หรือร้อยละ 0.12
ตลาดโตเกียวเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 58.53 เยน (21.06 บาท) สูงขึ้นจาก 58.48เยน (21.35 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.05 เยน หรือร้อยละ 0.09
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 6 ประจำวันที่ 12-18 ก.พ. 2544--
-สส-
ไม่มีรายงาน
สำหรับราคาที่เกษตรกรขายได้สัปดาห์นี้ มีดังนี้
1. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.84 บาท ลดลงจาก 23.12 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.28 บาท หรือร้อยละ 1.21 2. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 2 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.32 บาท ลดลงจาก 22.64 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.32 บาท หรือร้อยละ 1.41
3. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 21.85 บาท ลดลงจาก 22.17 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.32 บาท หรือร้อยละ 1.44
4. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 4 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 21.37 บาท ลดลงจาก 21.75 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.38 บาท หรือร้อยละ 1.75
5. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 5 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 20.85 บาท ลดลงจาก 21.23 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.38 บาท หรือร้อยละ 1.79
6. ยางแผ่นดิบคละราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 21.56 บาท ลดลงจาก 21.93 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.37 บาท หรือร้อยละ 1.69
7. ยางก้อนคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 10.60 บาท ลดลงจาก 10.74 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.14 บาท หรือร้อยละ 1.30
8. เศษยางคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 8.15 บาท ลดลงจาก 8.25 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.10 บาท หรือร้อยละ 1.21
9. น้ำยางข้นคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 20.97 บาท สูงขึ้นจาก 20.58 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.39 บาท หรือร้อยละ 1.90
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ซื้อขายล่วงหน้าส่งมอบเดือนมีนาคม 2544
ณ ท่าเรือกรุงเทพ
1. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.13 บาท ลดลงจาก 27.30 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.17 หรือร้อยละ 0.62 2. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 26.98 บาท ลดลงจาก 26.15 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.17 บาท หรือร้อยละ 0.65
3. น้ำยางข้นราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 21.01 บาท ลดลงจาก 21.10 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.09 บาท หรือร้อยละ 0.43
ณ ท่าเรือสงขลา
1. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 26.88 บาท ลดลงจาก 27.05 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.17 บาท หรือร้อยละ 0.63
2. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 25.73 บาท ลดลงจาก 25.90 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.17 บาท หรือร้อยละ 0.66
3. น้ำยางข้นราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 20.76 บาท ลดลงจาก 20.85 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.09 บาท หรือร้อยละ 0.43
2. สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาในตลาดโลก จากการประชุมประจำปีผู้ค้ายางธรรมชาติจากประเทศผู้ผลิตที่สำคัญ ได้แก่ ไทยอินโดนีเซีย และมาเลเซีย พร้อมด้วยสิงคโปร์ที่เป็นศูนย์การค้ายางที่สำคัญในภูมิภาคเอเซียตะวันออกเฉียงใต้ เมื่อวันที่ 9-10 กุมภาพันธ์ที่ผ่านมา ผู้ค้ายางได้ประมาณการว่าขณะนี้ INRO มียางธรรมชาติอยู่ในสต๊อกประมาณ 50,000 ตัน ซึ่งมีส่วนส่งผลให้ราคายางไม่สามารถปรับสูงขึ้นได้มากในปีนี้ ประกอบกับแรงกดดันของการชะลอตัวของเศรษฐกิจอเมริกา ซึ่งคาดว่าในปีนี้ปริมาณการนำเข้าจะไม่เพิ่มขึ้น โดยสหรัฐอเมริกานำเข้ายางจากประเทศอินโดนีเซียเป็นอันดับหนึ่ง ส่วนไทยอยู่ในอันดับ 3ดังนั้นการอ่อนตัวของค่าเงินรูเปียซของอินโดนีเซียมีผลกดดันให้ราคายางในตลาดโลกอ่อนตัวลงด้วย และทำให้อินโดนีเซียขายยางในรูปของเงินเหรียญสหรัฐฯ ได้ถูกกว่าราคายางของไทย ซึ่งผู้จัดการสมาคมยางพาราไทยคาดการณ์ว่าราคายางของไทยจะยงคงทรงตัวต่อไปและเริ่มปรับตัวสูงขึ้นอย่างช้า ๆ ในช่วงครึ่งหลังของปี หลังจากที่องค์การยางธรรมชาติระหว่างประเทศ (INRO) ได้ชำระบัญชีมูลภัณฑ์กันชนที่สะสมอยู่ในสต๊อก 138,0000 ตัน ให้เสร็จเรียบร้อยภายในเดือนมิถุนายนปีนี้
ความเคลื่อนไหวของราคายางประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาแจ้งสถานการณ์ตลาด ของ INRO
ราคาซื้อขายเฉลี่ยประจำวันของยางแผ่นรมควันชั้น 1 ยางแผ่นรมควันชั้น 3 และยางแท่งชั้น 20 ในตลาดกัวลาลัมเปอร์ ตลาดลอนดอน ตลาดนิวยอร์คและตลาดสิงคโปร์ (DMIP) เฉลี่ยกิโลกรัมละ 105.61 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ (18.52 บาท) ลดลงจาก 107.11 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ ( 18.80 บาท) ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.50 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ หรือร้อยละ 1.40
ราคาซื้อขายเฉลี่ย 5 วัน ของยางแผ่นรมควันชั้น 1 ยางแผ่นรมควันชั้น 3 และยาง
แท่งชั้น 20 ในตลาดกัวลาลัมเปอร์ ตลาดลอนดอน ตลาดนิวยอร์คและตลาดสิงคโปร์ (DMIP)เฉลี่ยกิโลกรัมละ 106.40 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ ( 18.66 บาท) ลดลงจาก 107.51 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ (18.87 บาท) ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.11 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ หรือร้อยละ 1.04
ราคาต่างประเทศซื้อขายล่วงหน้า ส่งมอบเดือนมีนาคม 2544
ยางแผ่นรมควันชั้น 1
ตลาดสิงคโปร์เสนอซื้อล่วงหน้า เฉลี่ยกิโลกรัมละ 105.75 เซนต์สิงคโปร์ ( 25.50 บาท ) ลดลงจาก 107.25 เซนต์สิงคโปร์ (25.91 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.50 เซนต์สิงคโปร์ หรือร้อยละ 1.40
ตลาดมาเลเซียเสนอซื้อล่วงหน้า เฉลี่ยกิโลกรัมละ 240.13 เซนต์มาเลเซีย ( 26.34 บาท)ลดลงจาก 241.75 เซนต์มาเลเซีย (26.46 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.62 เซนต์สิงคโปร์ หรือร้อยละ 0.67
ตลาดลอนดอนเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 50.44 เพนนี (30.87 บาท) ลดลงจาก 50.50 เพนนี (31.21 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.06 เพนนี หรือร้อยละ 0.12
ยางแผ่นรมควันชั้น 3
ตลาดสิงคโปร์เสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 60.75 เซนต์สหรัฐฯ (25.68 บาท) ลดลงจาก 61.75 เซนต์สหรัฐฯ (26.10 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.00 เซนต์สหรัฐฯ หรือร้อยละ 1.62
ตลาดมาเลเซียเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 228.38 เซนต์มาเลเซีย (25.05 บาท) ลดลงจาก 235.25 เซนต์มาเลเซีย (25.20 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.87 เซนต์มาเลเซีย หรือร้อยละ 0.81
ตลาดลอนดอนเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 48.19 เพนนี (29.49 บาท) ลดลงจาก 48.25 เพนนี (29.82 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.06 เพนนี หรือร้อยละ 0.12
ตลาดโตเกียวเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 58.53 เยน (21.06 บาท) สูงขึ้นจาก 58.48เยน (21.35 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.05 เยน หรือร้อยละ 0.09
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 6 ประจำวันที่ 12-18 ก.พ. 2544--
-สส-