ราคายางแผ่นดิบชั้น 3 ตลาดหาดใหญ่ สัปดาห์นี้ บาท/กิโลกรัม 1. สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาภายในประเทศ
นายฉกรรจ์ แสงรักษาวงศ์ รองอธิบดีกรมวิชาการเกษตร กล่าวเปิดเผยว่า คณะรัฐมนตรีเห็นชอบแผนการเจรจาขายยางจากการแทรกแซงตลาดภายในประเทศให้กับจีนจำนวน 200,000 ตัน ในรูปแบบรัฐต่อรัฐ โดยนายทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีจะเดินทางไปเจรจาขายยางอย่างเป็นทางการกับประธานาธิบดี เจียง เจ๋อหมิน ที่ฮ่องกงในเดือนพฤษภาคมศกนี้ อนึ่ง จีนเป็นประเทศผู้นำเข้ายางจากไทยมากเป็นอันดับ 2 รองจากญี่ปุ่น คาดว่าปีนี้จีนจะมีการนำเข้ายางธรรมชาติและยางสังเคราะห์ประมาณ 900,000 ตัน เพิ่มขึ้นจาก 850,000 ตัน ของปีก่อนร้อยละ 5.88
สำหรับราคาที่เกษตรกรขายได้สัปดาห์นี้ มีดังนี้
1. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.67 บาท สูงขึ้นจาก 22.63 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.04 บาท หรือร้อยละ 0.18
2. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 2 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.17 บาท สูงขึ้นจาก 22.13 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.04 บาท หรือร้อยละ 0.18
3. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 21.66 บาท สูงขึ้นจาก 21.45 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.21 บาท หรือร้อยละ 0.98
4. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 4 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 21.16 บาท สูงขึ้นจาก 21.10 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.06 บาท หรือร้อยละ 0.28
5. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 5 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 20.75 บาท สูงขึ้นจาก 20.58 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.17 บาท หรือร้อยละ 0.83
6. ยางแผ่นดิบคละราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 21.32 บาท ลดลงจาก 21.41 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.09 บาท หรือร้อยละ 0.42
7. ยางก้อนคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.54 บาท สูงขึ้นจาก 9.35 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.19 บาท หรือร้อยละ 2.03
8. เศษยางคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 7.03 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
9. น้ำยางข้นคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 20.68 บาท สูงขึ้นจาก 20.56 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.12 บาท หรือร้อยละ 0.58
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ซื้อขายล่วงหน้าส่งมอบเดือนพฤษภาคม2544
ณ ท่าเรือกรุงเทพ
1. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.20 บาท สูงขึ้นจาก 26.98 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.22 บาท หรือร้อยละ 0.82
2. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 26.05 บาท สูงขึ้นจาก 25.83 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.22 บาท หรือร้อยละ 0.85
3. น้ำยางข้นราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.72 บาท สูงขึ้นจาก 21.43 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.29 บาท หรือร้อยละ 6.02
ณ ท่าเรือสงขลา
1. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 26.95 สูงขึ้นจาก 26.73 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.22 บาท หรือร้อยละ 0.82
2. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 25.80 บาท สูงขึ้นจาก 25.58 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.22 บาท หรือร้อยละ 0.86 3. น้ำยางข้นราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.47 บาท สูงขึ้นจาก 21.18 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.29 บาท หรือร้อยละ 6.09
2.สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาในตลาดโลก มาเลเซียอนุมัติกองทุนจำนวน 263 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพื่อส่งเสริมการปลูกทดแทนยางธรรมชาติ
มาเลเซียได้จัดตั้งกองทุนจำนวน 1,000 ล้านริงกิต (263 ล้านเหรียญสหรัฐ) เพื่อใช้ในการปลูกทดแทนต้นยางธรรมชาติที่เสื่อมสภาพลง รัฐบาลได้พิจารณาเพิ่มเงินสำหรับการนี้จากเดิมที่มีจำนวน 600 ล้านริงกิต (158 ล้านเหรียญสหรัฐ) ที่จัดสรรไว้สำหรับการปลูกทดแทนทั้งยางธรรมชาติและน้ำมันปาล์ม เงินช่วยเหลือสำหรับการปลูกทดแทนยางที่ได้รับเพิ่มขึ้นมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมอุตสาหกรรมยางและเพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกรผู้ปลูกยางที่มีพื้นที่ปลูกยางขนาดเล็กเป็นหลัก
เมื่อปลายเดือนมีนาคมที่ผ่านมานายกรัฐมนตรีมาเลเซียได้อนุมัติเงินกองทุนเพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มและยางธรรมชาติเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจและปกป้องผลกระทบที่เกิดจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯ และพิจารณาเห็นว่าเกษตรกรผู้ปลูกยางที่มีพื้นที่ปลูกยางขนาดเล็กควรได้รับความช่วยเหลือเพราะเป็นผู้ที่จะได้รับผลกระทบทำให้ราคายางที่ขายได้ลดต่ำลงอยู่อย่างต่อเนื่อง
จากประมาณการของทางการคาดว่าผลผลิตยางในปีนี้ประมาณ 900,000 ตัน สูงขึ้นจากปีที่ผ่านมาที่มีผลผลิต 608,400 ตัน และพื้นที่เป้าหมายที่จะต้องมีการปลูกยางทดแทนจะมีประมาณ 800,000 เฮกแตร์ (ประมาณ 5 ล้านไร่) ในจำนวนนี้เป็นผู้ปลูกยางที่มีพื้นที่ขนาดเล็ก จำนวน 300,000 ราย
ความเคลื่อนไหวของราคายางประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาแจ้งสถานการณ์ตลาด ของ INRO
ไม่มีรายงานราคา
ราคาต่างประเทศซื้อขายล่วงหน้า ส่งมอบเดือนพฤษภาคม 2544
ยางแผ่นรมควันชั้น 1
ตลาดสิงคโปร์เสนอซื้อล่วงหน้า เฉลี่ยกิโลกรัมละ 105.00 เซนต์สิงคโปร์ ( 26.19 บาท ) สูงขึ้นจาก 104.17 เซนต์สิงคโปร์ (25.78 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.83 เซนต์สิงคโปร์ หรือร้อยละ 0.80
ตลาดมาเลเซียเสนอซื้อล่วงหน้า เฉลี่ยกิโลกรัมละ 235.50 เซนต์มาเลเซีย ( 27.68 บาท)สูงขึ้นจาก 235.00 เซนต์มาเลเซีย (27.35 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.50 เซนต์สิงคโปร์ หรือร้อยละ 0.21
ตลาดลอนดอนเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 49.50 เพนนี (32.22 บาท) สูงขึ้นจาก 49.00 เพนนี (31.29 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.50 เพนนี หรือร้อยละ 1.02
ยางแผ่นรมควันชั้น 3
ตลาดสิงคโปร์เสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 58.25 เซนต์สหรัฐฯ (26.43 บาท) สูงขึ้นจาก 57.75 เซนต์สหรัฐฯ (25.98 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.50 เซนต์สหรัฐฯ หรือร้อยละ 0.87
ตลาดมาเลเซียเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 223.33 เซนต์มาเลเซีย (26.25 บาท) สูงขึ้นจาก 222.67 เซนต์มาเลเซีย (25.91 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.66 เซนต์มาเลเซีย หรือร้อยละ 0.30
ตลาดลอนดอนเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 46.83 เพนนี (30.48 บาท) สูงขึ้นจาก 46.42 เพนนี (29.65 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.41 เพนนี หรือร้อยละ 0.88
ตลาดโตเกียวเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 65.10 เยน (23.62 บาท) สูงขึ้นจาก 64.30เยน (22.86 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.80 เยน หรือร้อยละ 1.24
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 14 ประจำวันที่ 9-15 เม.ย. 2544--
-สส-
นายฉกรรจ์ แสงรักษาวงศ์ รองอธิบดีกรมวิชาการเกษตร กล่าวเปิดเผยว่า คณะรัฐมนตรีเห็นชอบแผนการเจรจาขายยางจากการแทรกแซงตลาดภายในประเทศให้กับจีนจำนวน 200,000 ตัน ในรูปแบบรัฐต่อรัฐ โดยนายทักษิณ ชินวัตร นายกรัฐมนตรีจะเดินทางไปเจรจาขายยางอย่างเป็นทางการกับประธานาธิบดี เจียง เจ๋อหมิน ที่ฮ่องกงในเดือนพฤษภาคมศกนี้ อนึ่ง จีนเป็นประเทศผู้นำเข้ายางจากไทยมากเป็นอันดับ 2 รองจากญี่ปุ่น คาดว่าปีนี้จีนจะมีการนำเข้ายางธรรมชาติและยางสังเคราะห์ประมาณ 900,000 ตัน เพิ่มขึ้นจาก 850,000 ตัน ของปีก่อนร้อยละ 5.88
สำหรับราคาที่เกษตรกรขายได้สัปดาห์นี้ มีดังนี้
1. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.67 บาท สูงขึ้นจาก 22.63 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.04 บาท หรือร้อยละ 0.18
2. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 2 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.17 บาท สูงขึ้นจาก 22.13 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.04 บาท หรือร้อยละ 0.18
3. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 21.66 บาท สูงขึ้นจาก 21.45 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.21 บาท หรือร้อยละ 0.98
4. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 4 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 21.16 บาท สูงขึ้นจาก 21.10 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.06 บาท หรือร้อยละ 0.28
5. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 5 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 20.75 บาท สูงขึ้นจาก 20.58 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.17 บาท หรือร้อยละ 0.83
6. ยางแผ่นดิบคละราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 21.32 บาท ลดลงจาก 21.41 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.09 บาท หรือร้อยละ 0.42
7. ยางก้อนคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.54 บาท สูงขึ้นจาก 9.35 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.19 บาท หรือร้อยละ 2.03
8. เศษยางคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 7.03 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
9. น้ำยางข้นคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 20.68 บาท สูงขึ้นจาก 20.56 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.12 บาท หรือร้อยละ 0.58
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ซื้อขายล่วงหน้าส่งมอบเดือนพฤษภาคม2544
ณ ท่าเรือกรุงเทพ
1. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.20 บาท สูงขึ้นจาก 26.98 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.22 บาท หรือร้อยละ 0.82
2. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 26.05 บาท สูงขึ้นจาก 25.83 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.22 บาท หรือร้อยละ 0.85
3. น้ำยางข้นราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.72 บาท สูงขึ้นจาก 21.43 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.29 บาท หรือร้อยละ 6.02
ณ ท่าเรือสงขลา
1. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 26.95 สูงขึ้นจาก 26.73 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.22 บาท หรือร้อยละ 0.82
2. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 25.80 บาท สูงขึ้นจาก 25.58 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.22 บาท หรือร้อยละ 0.86 3. น้ำยางข้นราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.47 บาท สูงขึ้นจาก 21.18 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.29 บาท หรือร้อยละ 6.09
2.สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาในตลาดโลก มาเลเซียอนุมัติกองทุนจำนวน 263 ล้านเหรียญสหรัฐฯ เพื่อส่งเสริมการปลูกทดแทนยางธรรมชาติ
มาเลเซียได้จัดตั้งกองทุนจำนวน 1,000 ล้านริงกิต (263 ล้านเหรียญสหรัฐ) เพื่อใช้ในการปลูกทดแทนต้นยางธรรมชาติที่เสื่อมสภาพลง รัฐบาลได้พิจารณาเพิ่มเงินสำหรับการนี้จากเดิมที่มีจำนวน 600 ล้านริงกิต (158 ล้านเหรียญสหรัฐ) ที่จัดสรรไว้สำหรับการปลูกทดแทนทั้งยางธรรมชาติและน้ำมันปาล์ม เงินช่วยเหลือสำหรับการปลูกทดแทนยางที่ได้รับเพิ่มขึ้นมีเป้าหมายเพื่อส่งเสริมอุตสาหกรรมยางและเพิ่มรายได้ให้กับเกษตรกรผู้ปลูกยางที่มีพื้นที่ปลูกยางขนาดเล็กเป็นหลัก
เมื่อปลายเดือนมีนาคมที่ผ่านมานายกรัฐมนตรีมาเลเซียได้อนุมัติเงินกองทุนเพื่อสนับสนุนอุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มและยางธรรมชาติเพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจและปกป้องผลกระทบที่เกิดจากการชะลอตัวของเศรษฐกิจสหรัฐฯ และพิจารณาเห็นว่าเกษตรกรผู้ปลูกยางที่มีพื้นที่ปลูกยางขนาดเล็กควรได้รับความช่วยเหลือเพราะเป็นผู้ที่จะได้รับผลกระทบทำให้ราคายางที่ขายได้ลดต่ำลงอยู่อย่างต่อเนื่อง
จากประมาณการของทางการคาดว่าผลผลิตยางในปีนี้ประมาณ 900,000 ตัน สูงขึ้นจากปีที่ผ่านมาที่มีผลผลิต 608,400 ตัน และพื้นที่เป้าหมายที่จะต้องมีการปลูกยางทดแทนจะมีประมาณ 800,000 เฮกแตร์ (ประมาณ 5 ล้านไร่) ในจำนวนนี้เป็นผู้ปลูกยางที่มีพื้นที่ขนาดเล็ก จำนวน 300,000 ราย
ความเคลื่อนไหวของราคายางประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาแจ้งสถานการณ์ตลาด ของ INRO
ไม่มีรายงานราคา
ราคาต่างประเทศซื้อขายล่วงหน้า ส่งมอบเดือนพฤษภาคม 2544
ยางแผ่นรมควันชั้น 1
ตลาดสิงคโปร์เสนอซื้อล่วงหน้า เฉลี่ยกิโลกรัมละ 105.00 เซนต์สิงคโปร์ ( 26.19 บาท ) สูงขึ้นจาก 104.17 เซนต์สิงคโปร์ (25.78 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.83 เซนต์สิงคโปร์ หรือร้อยละ 0.80
ตลาดมาเลเซียเสนอซื้อล่วงหน้า เฉลี่ยกิโลกรัมละ 235.50 เซนต์มาเลเซีย ( 27.68 บาท)สูงขึ้นจาก 235.00 เซนต์มาเลเซีย (27.35 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.50 เซนต์สิงคโปร์ หรือร้อยละ 0.21
ตลาดลอนดอนเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 49.50 เพนนี (32.22 บาท) สูงขึ้นจาก 49.00 เพนนี (31.29 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.50 เพนนี หรือร้อยละ 1.02
ยางแผ่นรมควันชั้น 3
ตลาดสิงคโปร์เสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 58.25 เซนต์สหรัฐฯ (26.43 บาท) สูงขึ้นจาก 57.75 เซนต์สหรัฐฯ (25.98 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.50 เซนต์สหรัฐฯ หรือร้อยละ 0.87
ตลาดมาเลเซียเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 223.33 เซนต์มาเลเซีย (26.25 บาท) สูงขึ้นจาก 222.67 เซนต์มาเลเซีย (25.91 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.66 เซนต์มาเลเซีย หรือร้อยละ 0.30
ตลาดลอนดอนเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 46.83 เพนนี (30.48 บาท) สูงขึ้นจาก 46.42 เพนนี (29.65 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.41 เพนนี หรือร้อยละ 0.88
ตลาดโตเกียวเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 65.10 เยน (23.62 บาท) สูงขึ้นจาก 64.30เยน (22.86 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.80 เยน หรือร้อยละ 1.24
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 14 ประจำวันที่ 9-15 เม.ย. 2544--
-สส-