แท็ก
ส.ส.
นางอัชลี วานิช เทพบุตร ได้แสดงความคิดเห็นในกรณีที่มีเหตุการณ์เด็กใน สถานพินิจ และคุ้มครองเด็ก และเยาวชน ได้พยายามหลบหนีออกจาสถานพินิจฯ ว่า "ตนมีความคิดว่าโดยรวมของสังคมแล้วค่อนข้างเป็นห่วงเป็นใยมาก เนื่อง จากเป็นที่ทราบกันดีว่าสถานพินิจ และคุ้มครองเด็กและเยาวชนนั้น ส่วนใหญ ่จะ คุ้นเคยอยู่ 4 บ้านด้วยกัน คือ บ้านเมตตา บ้านกรุณา บ้านมุทิตา และบ้านอุเบกขา สำหรับบ้านเมตตาจะใช้เป็นสถานที่กักกังเด็กและเยาวชนชาย ที่มีความผิดแต่ ว่ารอขึ้นศาลเพื่อพิจารณาคดี เมื่อศาลพิจารณาคดีเสร็จแล้ว ถ้าหากมีความผิด แล้วจะต้องถูกลงโทษ เด็ก และเยาวชนเหล่านั้นจะต้องถูกส่งไปตามบ้านต่าง ๆ อีก 3 บ้านที่เหลือนั้นก็คือถ้าเด็กอายุ 7 ขวบ แต่ไม่เกิน 14 ขวบ ก็จะถูกส่งไป ที่บ้านมุทิตา เด็กอายุ 15-18 ปีจะถูกส่งไปยังบ้านกรุณา และสุดท้ายบ้านอุเบกขา จะเป็นสถานที่บำบัดเด็กและเยาวชนชายที่ติดยาเสพติด
รองโฆษกฯกล่าวต่อไปว่าถ้าจะถามความรู้สึกกันของตน ว่ารู้สึกอย่างไรต่อเ หตุ การณ์ที่เกิดขึ้น จะบอกว่าตนไม่พอใจผู้คุมและครูฝึกที่ลงโทษใช้ความรุนแรง เกินเหตุสำหรับการลงโทษเด็กจนเด็กเกิดความกดดัน นั้นก็คงไม่ใช่ เพราะ การดูแลเด็กซึ่งล้วนที่มีปัญ หากันทั้งสิ้นตนคิดว่าเจ้าหน้าที่ หรือผู้คุมก็คงต้องใช้ ความพยายามเป็นอย่างมากและต้องมีความเข้าใจเด็กเป็นฐาน ดังนั้นตนคิดว่า เจ้าหน้าที่ที่จะมาดูแลนั้นจะต้องเป็น ผู้ที่มีความรู้ ในเรื่องอารมณ์ของเด็ก ความ รู้สึกของเด็ก และจำนวนของเจ้าหน้าที่มีเพียงพอกับการดูแลหรือไม่ และตนคิด ว่าสำคัที่สุดสำหรับสถานพินิจฯคือ นักสังคมสงเคราะห์ หรือว่าอาสาสมัครต่างๆ ที่อาสาสมัครเข้าไปเพื่อจะช่วยดูแล และองค์การเอกชนต่างๆซึ่งจะเป็นประโยชน์ ในการป้องกันเหตุไม่ให้เกิดขึ้นมาได้และตนคิดว่าหน่วยงานที่รัฐขอความร่วม มือ ไปอาจจะไม่ต้องเสียงบประมาณมากนักคือผู้พิพากษาสมทบซึ่งจะมีตามเกือบทุก จังหวัดที่มีศาลคดีเด็กและเยาวชนอยู่ ผู้พิพากษาสมทบมีสิทธิที่จะไปเป็นพ่อบุญ ธรรม แม่บุธรรม อัตรา 1 ต่อ 8 หรือ 1 ต่อ10อย่างไรก็ตาม ตนคิดว่าผู้พิพากษา สมทบน่าจะเป็นกลุ่มคนอีกกลุ่มหนึ่งที่จะไปช่วยเด็กได้ เจ้าหน้าที่ทีมาดูเรื่องของ สถานที่ ต้องยอมรับเหมือนกันว่าสถานที่นั้นค่อนข้างคับแคบมาก บ้านกรุณามีเด็ก ถึง 1,500 คน ซึ่งจริงแล้วบ้านกรุณารับได้เพียง 600 อย่างนี้เป็นต้น ซึ่งนางอัชลี กล่าวต่อไปว่าสถานที่คับแคบอย่างเดียวยังไม่พอ เด็กเหล่านี้เป็นเด็กวัยรุ่น ต้อง เข้าใจความรู้สึกของวัยรุ่นกับเด็กตรงนี้ว่า สิ่งที่จะมาให้เขาปลดปล่อยความกดดัน ทางอารมณ์ ได้ จะมีแต่เรื่องของกีฬา เรื่องของธรรมะ เรื่องของการสนทนาการ ต่าง ๆ แต่สถานที่เหล่านี้ไม่มีสิ่งเหล่านี้ให้เด็กเลย และนางอัญ ชลีได้กล่าวต่อไป ด้วยว่าตนเห็นด้วยว่าเวลาส่งเด็กเข้าไป ควรจะแยกโทษเด็กให้เห็นชัดเจน เวลา ไปอยู่รวมกันมาก ๆ ด้วยการที่จะต้องพบปะกันทุกวัน ด้วยการที่มีอารมณ์ที่ต่อสู้ เด็กที่มีโทษเล็กน้อย ๆ และหัวอ่อนจะถูกชักจูงก็จะถูกให้เป็นอาชญ ากรต่อไปใน อนาคตได้ ดังนั้นสิ่งเหล่านี้จะแยกแยะให้ค่อนข้างชัดเจน
รองโฆษกฯกล่าวต่อไปว่าปัหาตรงนี้เป็นการสะท้อนปัหาของสังคมที่เกิดขึ้นใน บ้านเมืองขณะนี้ ต้องยอมรับว่าสถาบันสังคมของเรามันอ่อนแอลงมากโดยเฉพาะ อย่างยิ่งสถาบันครอบครัว โรงเรียนขาดขั้นตอนรายละเอียดในสิ่งเหล่านี้หรือเปล่า ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของหลักสูตร ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของวิธีการสอน ไม่สามารถโทษ ใครได้ ทุกคนทั้งหมดที่อยู่ในสังคมต้องร่วมกันรับผิดชอบ สามารถจะดูได้ว่าเมื่อ สถาบันครอบครัวคอนแคลน คนที่เป็นพ่อเป็นแม่ ต้องกลับมาทบทวนบทบาทของ ตัวเอง ว่าได้ให้ความอบอุ่นต่อลูกได้มากน้อยแค่ไหน ในขณะเดียวกันครูที่อยู่ โรงเรียนที่ต้องดูแลเด็ก แล้วอีกอย่างหนึ่งคือเรื่องของการศึกษา ต้องดูว่าต้อง ลงทุนทางการศึกษามากกว่านี้ดูแลให้เด็กรับรู้ข้อมูลข่าวสาร รู้จักวิเคราะ ห์ปัหา เป็น แล้วในสุดเขาจะแก้ปัหาของเขาได้ อันนี้ก็เป็นทางแก้ระยะยาว อย่างเช่น โครงการยุวประชาธิปัตย์ ที่พยายามอธิบายให้เด็กได้เข้าใจคำว่าวัดความสำคัญ ของเมืองที่ผูกพันกับชีวิตประจำวัน ความสัมพันธ์ของการเมืองกับการพัฒนา ประเทศชาติ มีความสำคัอย่างไร การเลือกตั้งคนที่ดี คนที่บริสุทธิ์คนที่ซื่อสัตย์ สุจริตเขาไปทำงานโดยไม่หวังผลตอบแทน ส่วนตัวจะเป็นประโยชน์อย่างไรกับ ประเทศชาติ การเลือกคนที่มีความสามารถเข้าไปแล้วนั้น จะช่วยบริหารประเทศ ชาติแล้วนำพาสิ่งที่ดีงามกลับมาสู่ประเทศ หรือว่าคนในประเทศนั้นได้อย่างไร อธิบายให้เขาเหล่านี้แล้วจะสามารถศึกษาต่อได้ด้วยตัวเขาเอง แล้วเขาจะพิสูจน์ สิ่งเหล่านั้นด้วยตัวเขาเอง เมื่อเด็กคิดเป็นวิเคราะห์เป็นในที่สุดเขาก็จะสามารถ ทำเป็น และก็ทำได้ดี ดิฉันหวังว่าเด็กและเยาวชนของเราในอนาคต ก็จะเป็น คนที่กลับมาสร้างประเทศชาติของเราให้มีความเข้มแข็งมากขึ้น.นางอัญ ชลีกล่าว.--จบ--
รองโฆษกฯกล่าวต่อไปว่าถ้าจะถามความรู้สึกกันของตน ว่ารู้สึกอย่างไรต่อเ หตุ การณ์ที่เกิดขึ้น จะบอกว่าตนไม่พอใจผู้คุมและครูฝึกที่ลงโทษใช้ความรุนแรง เกินเหตุสำหรับการลงโทษเด็กจนเด็กเกิดความกดดัน นั้นก็คงไม่ใช่ เพราะ การดูแลเด็กซึ่งล้วนที่มีปัญ หากันทั้งสิ้นตนคิดว่าเจ้าหน้าที่ หรือผู้คุมก็คงต้องใช้ ความพยายามเป็นอย่างมากและต้องมีความเข้าใจเด็กเป็นฐาน ดังนั้นตนคิดว่า เจ้าหน้าที่ที่จะมาดูแลนั้นจะต้องเป็น ผู้ที่มีความรู้ ในเรื่องอารมณ์ของเด็ก ความ รู้สึกของเด็ก และจำนวนของเจ้าหน้าที่มีเพียงพอกับการดูแลหรือไม่ และตนคิด ว่าสำคัที่สุดสำหรับสถานพินิจฯคือ นักสังคมสงเคราะห์ หรือว่าอาสาสมัครต่างๆ ที่อาสาสมัครเข้าไปเพื่อจะช่วยดูแล และองค์การเอกชนต่างๆซึ่งจะเป็นประโยชน์ ในการป้องกันเหตุไม่ให้เกิดขึ้นมาได้และตนคิดว่าหน่วยงานที่รัฐขอความร่วม มือ ไปอาจจะไม่ต้องเสียงบประมาณมากนักคือผู้พิพากษาสมทบซึ่งจะมีตามเกือบทุก จังหวัดที่มีศาลคดีเด็กและเยาวชนอยู่ ผู้พิพากษาสมทบมีสิทธิที่จะไปเป็นพ่อบุญ ธรรม แม่บุธรรม อัตรา 1 ต่อ 8 หรือ 1 ต่อ10อย่างไรก็ตาม ตนคิดว่าผู้พิพากษา สมทบน่าจะเป็นกลุ่มคนอีกกลุ่มหนึ่งที่จะไปช่วยเด็กได้ เจ้าหน้าที่ทีมาดูเรื่องของ สถานที่ ต้องยอมรับเหมือนกันว่าสถานที่นั้นค่อนข้างคับแคบมาก บ้านกรุณามีเด็ก ถึง 1,500 คน ซึ่งจริงแล้วบ้านกรุณารับได้เพียง 600 อย่างนี้เป็นต้น ซึ่งนางอัชลี กล่าวต่อไปว่าสถานที่คับแคบอย่างเดียวยังไม่พอ เด็กเหล่านี้เป็นเด็กวัยรุ่น ต้อง เข้าใจความรู้สึกของวัยรุ่นกับเด็กตรงนี้ว่า สิ่งที่จะมาให้เขาปลดปล่อยความกดดัน ทางอารมณ์ ได้ จะมีแต่เรื่องของกีฬา เรื่องของธรรมะ เรื่องของการสนทนาการ ต่าง ๆ แต่สถานที่เหล่านี้ไม่มีสิ่งเหล่านี้ให้เด็กเลย และนางอัญ ชลีได้กล่าวต่อไป ด้วยว่าตนเห็นด้วยว่าเวลาส่งเด็กเข้าไป ควรจะแยกโทษเด็กให้เห็นชัดเจน เวลา ไปอยู่รวมกันมาก ๆ ด้วยการที่จะต้องพบปะกันทุกวัน ด้วยการที่มีอารมณ์ที่ต่อสู้ เด็กที่มีโทษเล็กน้อย ๆ และหัวอ่อนจะถูกชักจูงก็จะถูกให้เป็นอาชญ ากรต่อไปใน อนาคตได้ ดังนั้นสิ่งเหล่านี้จะแยกแยะให้ค่อนข้างชัดเจน
รองโฆษกฯกล่าวต่อไปว่าปัหาตรงนี้เป็นการสะท้อนปัหาของสังคมที่เกิดขึ้นใน บ้านเมืองขณะนี้ ต้องยอมรับว่าสถาบันสังคมของเรามันอ่อนแอลงมากโดยเฉพาะ อย่างยิ่งสถาบันครอบครัว โรงเรียนขาดขั้นตอนรายละเอียดในสิ่งเหล่านี้หรือเปล่า ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของหลักสูตร ไม่ว่าจะเป็นเรื่องของวิธีการสอน ไม่สามารถโทษ ใครได้ ทุกคนทั้งหมดที่อยู่ในสังคมต้องร่วมกันรับผิดชอบ สามารถจะดูได้ว่าเมื่อ สถาบันครอบครัวคอนแคลน คนที่เป็นพ่อเป็นแม่ ต้องกลับมาทบทวนบทบาทของ ตัวเอง ว่าได้ให้ความอบอุ่นต่อลูกได้มากน้อยแค่ไหน ในขณะเดียวกันครูที่อยู่ โรงเรียนที่ต้องดูแลเด็ก แล้วอีกอย่างหนึ่งคือเรื่องของการศึกษา ต้องดูว่าต้อง ลงทุนทางการศึกษามากกว่านี้ดูแลให้เด็กรับรู้ข้อมูลข่าวสาร รู้จักวิเคราะ ห์ปัหา เป็น แล้วในสุดเขาจะแก้ปัหาของเขาได้ อันนี้ก็เป็นทางแก้ระยะยาว อย่างเช่น โครงการยุวประชาธิปัตย์ ที่พยายามอธิบายให้เด็กได้เข้าใจคำว่าวัดความสำคัญ ของเมืองที่ผูกพันกับชีวิตประจำวัน ความสัมพันธ์ของการเมืองกับการพัฒนา ประเทศชาติ มีความสำคัอย่างไร การเลือกตั้งคนที่ดี คนที่บริสุทธิ์คนที่ซื่อสัตย์ สุจริตเขาไปทำงานโดยไม่หวังผลตอบแทน ส่วนตัวจะเป็นประโยชน์อย่างไรกับ ประเทศชาติ การเลือกคนที่มีความสามารถเข้าไปแล้วนั้น จะช่วยบริหารประเทศ ชาติแล้วนำพาสิ่งที่ดีงามกลับมาสู่ประเทศ หรือว่าคนในประเทศนั้นได้อย่างไร อธิบายให้เขาเหล่านี้แล้วจะสามารถศึกษาต่อได้ด้วยตัวเขาเอง แล้วเขาจะพิสูจน์ สิ่งเหล่านั้นด้วยตัวเขาเอง เมื่อเด็กคิดเป็นวิเคราะห์เป็นในที่สุดเขาก็จะสามารถ ทำเป็น และก็ทำได้ดี ดิฉันหวังว่าเด็กและเยาวชนของเราในอนาคต ก็จะเป็น คนที่กลับมาสร้างประเทศชาติของเราให้มีความเข้มแข็งมากขึ้น.นางอัญ ชลีกล่าว.--จบ--