การผลิตพืชผล เดือนพฤศจิกายน ลดลงจากช่วงเดียวกัน ของปีก่อนร้อยละ 12.2 ผลผลิตที่ลดลงมากได้แก่ ข้าว อ้อย และข้าวโพด
เนื่องจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้สำรวจผลผลิตพืชผลครั้งล่าสุด (ณ เดือนธันวาคม 2543) และได้ปรับผลผลิตพืชผลในปี 2542/43
เพิ่มขึ้นจากพยากรณ์ครั้งก่อน
ราคาพืชผลในเดือนพฤศจิกายน ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 5.2 ราคาพืชผลที่ลดลงมาก ได้แก่ ข้าว
(-5.3%) ข้าวโพด (-7.3%) มันสำปะหลัง (-13.0%) และผลไม้ (-21.7%) เนื่องจากเป็นช่วงต้นฤดูเก็บเกี่ยว ทำให้ผลผลิต เข้าสู่ตลาดมาก
การผลิตสัตว์น้ำ ปริมาณสัตว์น้ำขึ้นท่าในเดือนตุลาคมลดลงร้อยละ 11.1 ซึ่งเป็นผลจากราคาน้ำมันที่ยังอยู่ในระดับสูง อย่างไรก็ตาม
ในส่วนของผลผลิตกุ้งกุลาดำ ยังคงเพิ่มขึ้นจากการขยายการเพาะเลี้ยง ทั้งในพื้นที่น้ำจืดและ พื้นที่น้ำเค็ม เนื่องจากราคากุ้งกุลาดำอยู่ในเกณฑ์ดี
รวมทั้งตลาดต่างประเทศ โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่น ยังคง มีความต้องการต่อเนื่อง--
ปริมาณน้ำในเขื่อนสำคัญ ปริมาณน้ำในอ่างเก็บน้ำทั่วประเทศ ณ สิ้นเดือนพฤศจิกายน 2543 อยู่ที่ 59,850 ล้านลูกบาศก์เมตร
คิดเป็นร้อยละ 90.3 ของความจุรวม หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 27.3 และ 9.8 เมื่อเทียบกับค่าเฉลี่ย 10 ปี ย้อนหลัง และช่วงเดียวกันปีก่อน
เนื่องจากในช่วงที่ผ่านมา มีฝนตกต่อเนื่องในหลายพื้นที่
รายได้จากการขายพืชผลที่สำคัญของเกษตรกรในเดือนพฤศจิกายน ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 16.8 ซึ่งเป็นผลจากการ
ที่ผลผลิตพืชผลและราคาพืชผลที่เกษตรกรขายได้ลดลงร้อยละ 12.2 และ 5.2 ตามลำดับ
ราคาสินค้าเกษตร ในช่วง 11 เดือนแรกของปี 2543 ดัชนีราคาสินค้าเกษตรรวม ลดลงจากช่วงเดียวกันของ ปีก่อนร้อยละ 8.8
เนื่องจากผลผลิตอยู่ในเกณฑ์สูงตามสภาพภูมิอากาศและปริมาณน้ำฝนที่อยู่ในเกณฑ์ดี ประกอบกับราคาสินค้าเกษตรในตลาดโลก ลดลงต่อเนื่อง
2542 2542 2543
ทั้งปี H1 H2 H1 Q3 ต.ค. พ.ย. ม.ค.-พ.ย.
ดัชนีราคารวม 198.4 207.4 189.5 182.2 181.1 185.6 182 182.2
(2527 =100)
D % -13.9 -10.9 -17 -12.1 -6.2 -0.3 -2.6 -8.8
ดัชนีราคาพืชผล 197.3 208.9 185.8 176.3 171.3 179.7 173.4 175
D % -17.6 -13.4 -21.8 -15.6 -9.7 -2.6 -5.2 -12.1
ข้าวเปลือก 8,459 5,685 5,232 4,794 5,257 5,452 4,790 4,980
D % -18.2 -15.7 -20.6 -15.7 -3.3 2 -5.3 -9.9
ยางพารา 17,930 17,540 18,320 21,010 21,580 23,030 22,090 21,440
D % -22.6 -29.6 -14.3 19.8 33.1 17.3 -0.6 20.5
ข้าวโพด 4,214 4,137 4,291 4,740 3,667 3,860 3,940 4,294
D % -7.8 -18.1 5.1 14.6 -15 -3.3 -7.3 2.7
มันสำปะหลัง 770 850 690 640 590 560 640 620
D % -44.5 -43.6 -45.6 -24.6 -13.3 -5.9 -13 -19.6
ดัชนีราคาปศุสัตว์ 166.6 171.6 161.6 151 157.3 155.2 154.4 153.4
D % 6.3 13.7 -0.5 -12 -6.6 4.1 -0.4 -8.3
ดัชนีราคาสัตว์น้ำ 245.5 244.2 246.9 257.6 270.1 259.1 270.3 261.5
D % -16.2 -23.3 -7.8 5.5 11.5 5.7 6.6 7.2
ดัชนีราคาป่าไม้ 285.7 289.3 282.1 296.3 297.6 297.6 298.4 297
D % -8.2 -7.8 -8.6 2.4 6.3 4.7 5 3.9
D % อัตราเพิ่มจากระยะเดียวกันปีก่อน
ที่มา : ดัชนีราคาสินค้าเกษตรที่เกษตรกรขายได้ คำนวณจากข้อมูลราคาสินค้าเกษตรของกระทรวงเกษตรฯ,
กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ และองค์การสะพานปลา ทีมเกษตรกรรมและบริการ โทร. 283 — 5643, 283 — 5650
--ธนาคารแห่งประเทศไทย--
-สส-
เนื่องจากกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้สำรวจผลผลิตพืชผลครั้งล่าสุด (ณ เดือนธันวาคม 2543) และได้ปรับผลผลิตพืชผลในปี 2542/43
เพิ่มขึ้นจากพยากรณ์ครั้งก่อน
ราคาพืชผลในเดือนพฤศจิกายน ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 5.2 ราคาพืชผลที่ลดลงมาก ได้แก่ ข้าว
(-5.3%) ข้าวโพด (-7.3%) มันสำปะหลัง (-13.0%) และผลไม้ (-21.7%) เนื่องจากเป็นช่วงต้นฤดูเก็บเกี่ยว ทำให้ผลผลิต เข้าสู่ตลาดมาก
การผลิตสัตว์น้ำ ปริมาณสัตว์น้ำขึ้นท่าในเดือนตุลาคมลดลงร้อยละ 11.1 ซึ่งเป็นผลจากราคาน้ำมันที่ยังอยู่ในระดับสูง อย่างไรก็ตาม
ในส่วนของผลผลิตกุ้งกุลาดำ ยังคงเพิ่มขึ้นจากการขยายการเพาะเลี้ยง ทั้งในพื้นที่น้ำจืดและ พื้นที่น้ำเค็ม เนื่องจากราคากุ้งกุลาดำอยู่ในเกณฑ์ดี
รวมทั้งตลาดต่างประเทศ โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกาและญี่ปุ่น ยังคง มีความต้องการต่อเนื่อง--
ปริมาณน้ำในเขื่อนสำคัญ ปริมาณน้ำในอ่างเก็บน้ำทั่วประเทศ ณ สิ้นเดือนพฤศจิกายน 2543 อยู่ที่ 59,850 ล้านลูกบาศก์เมตร
คิดเป็นร้อยละ 90.3 ของความจุรวม หรือเพิ่มขึ้นร้อยละ 27.3 และ 9.8 เมื่อเทียบกับค่าเฉลี่ย 10 ปี ย้อนหลัง และช่วงเดียวกันปีก่อน
เนื่องจากในช่วงที่ผ่านมา มีฝนตกต่อเนื่องในหลายพื้นที่
รายได้จากการขายพืชผลที่สำคัญของเกษตรกรในเดือนพฤศจิกายน ลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อนร้อยละ 16.8 ซึ่งเป็นผลจากการ
ที่ผลผลิตพืชผลและราคาพืชผลที่เกษตรกรขายได้ลดลงร้อยละ 12.2 และ 5.2 ตามลำดับ
ราคาสินค้าเกษตร ในช่วง 11 เดือนแรกของปี 2543 ดัชนีราคาสินค้าเกษตรรวม ลดลงจากช่วงเดียวกันของ ปีก่อนร้อยละ 8.8
เนื่องจากผลผลิตอยู่ในเกณฑ์สูงตามสภาพภูมิอากาศและปริมาณน้ำฝนที่อยู่ในเกณฑ์ดี ประกอบกับราคาสินค้าเกษตรในตลาดโลก ลดลงต่อเนื่อง
2542 2542 2543
ทั้งปี H1 H2 H1 Q3 ต.ค. พ.ย. ม.ค.-พ.ย.
ดัชนีราคารวม 198.4 207.4 189.5 182.2 181.1 185.6 182 182.2
(2527 =100)
D % -13.9 -10.9 -17 -12.1 -6.2 -0.3 -2.6 -8.8
ดัชนีราคาพืชผล 197.3 208.9 185.8 176.3 171.3 179.7 173.4 175
D % -17.6 -13.4 -21.8 -15.6 -9.7 -2.6 -5.2 -12.1
ข้าวเปลือก 8,459 5,685 5,232 4,794 5,257 5,452 4,790 4,980
D % -18.2 -15.7 -20.6 -15.7 -3.3 2 -5.3 -9.9
ยางพารา 17,930 17,540 18,320 21,010 21,580 23,030 22,090 21,440
D % -22.6 -29.6 -14.3 19.8 33.1 17.3 -0.6 20.5
ข้าวโพด 4,214 4,137 4,291 4,740 3,667 3,860 3,940 4,294
D % -7.8 -18.1 5.1 14.6 -15 -3.3 -7.3 2.7
มันสำปะหลัง 770 850 690 640 590 560 640 620
D % -44.5 -43.6 -45.6 -24.6 -13.3 -5.9 -13 -19.6
ดัชนีราคาปศุสัตว์ 166.6 171.6 161.6 151 157.3 155.2 154.4 153.4
D % 6.3 13.7 -0.5 -12 -6.6 4.1 -0.4 -8.3
ดัชนีราคาสัตว์น้ำ 245.5 244.2 246.9 257.6 270.1 259.1 270.3 261.5
D % -16.2 -23.3 -7.8 5.5 11.5 5.7 6.6 7.2
ดัชนีราคาป่าไม้ 285.7 289.3 282.1 296.3 297.6 297.6 298.4 297
D % -8.2 -7.8 -8.6 2.4 6.3 4.7 5 3.9
D % อัตราเพิ่มจากระยะเดียวกันปีก่อน
ที่มา : ดัชนีราคาสินค้าเกษตรที่เกษตรกรขายได้ คำนวณจากข้อมูลราคาสินค้าเกษตรของกระทรวงเกษตรฯ,
กรมการค้าภายใน กระทรวงพาณิชย์ และองค์การสะพานปลา ทีมเกษตรกรรมและบริการ โทร. 283 — 5643, 283 — 5650
--ธนาคารแห่งประเทศไทย--
-สส-