แท็ก
สหรัฐอเมริกา
สรุปภาวะการเคลื่อนไหว การตลาดและราคาในประเทศ สหรัฐอเมริกามีความต้องการใช้ฝ้ายเพิ่มขึ้นแต่สต็อกก็ยังสูงขึ้น
ในปี 2541 และ 2542 สหรัฐอเมริกานำเข้าฝ้ายทั้งในรูปสิ่งทอ/เครื่องนุ่งห่มและเส้นใยฝ้ายรวมทั้งสิ้น 12.57, 14.60 ล้านเบลส์และส่งออก 11.70, 7.73 ล้านเบลส์ ตามลำดับ ส่งผลให้สหรัฐฯ เป็นผู้นำ เข้าฝ้ายสุทธิ ในปี 2542 นำเข้าสุทธิจำนวน 6.3 ล้านเบลส์ มากกว่าในปี 2541 ซึ่งมีเพียง 0.87 ล้านเบลส์ เนื่องจากวิกฤตเศรษฐกิจในอาเชียทำให้ความต้องการใช้ฝ้ายน้อยลง ประกอบกับความต้องการใช้ฝ้ายของโรงงานในประเทศที่ซบเซา ทำให้คาดว่าจะมีความต้องการใช้เส้นใยฝ้ายไม่เกิน 10.5 ล้านเบลส์ จะเห็นได้ว่าในปี 2542 การนำเข้าที่เพิ่มขึ้น เป็นการนำเข้าในรูปสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม ที่นำเข้าจากประเทศเม็กซิโก ปากีสถาน จีน และอินเดีย ซึ่งประเทศเหล่านี้ ผลิตส่งทอและเครื่องนุ่งห่มโดยใช้ผลผลิตฝ้ายภายในประเทศ
ส่วนสต็อกฝ้ายในปี 2542/43 มีปริมาณ 4.4 ล้านเบลส์ เพิ่มขึ้นจากระยะ 5 ปี ที่ผ่านมาถึงร้อยละ 66 หรือ 1.75 ล้านเบลส์ และคาดว่าในปี 2543/44 สต็อกปลายปีจะสูงขึ้นเป็น 4.5 - 5.5 ล้านเบลส์
ความเคลื่อนไหวของราคาฝ้ายในตลาดโลก ประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาบ่งชี้ตลาดลิเวอร์พูล (Liverpool Cotton Outlook Indices)
ราคาฝ้ายเกรด A" สัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 58.16 เซนต์ หรือกิโลกรัมละ 48.78 บาท ราคาสูงขึ้นจากปอนด์ละ 56.68 เซนต์ หรือกิโลกรัมละ 47.49 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.61
ราคาฝ้ายเกรด B สัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 54.47 เซนต์ หรือกิโลกรัมละ 45.69 บาท ราคาสูงขึ้นจากปอนด์ละ 54.17 เซนต์ หรือกิโลกรัมละ 45.69 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.55
ราคาซื้อ-ขายล่วงหน้าตลาดนิวยอร์ก (New York Cotton Futures)
บัญชีสมดุลฝ้ายโลกและประเทศต่าง ๆ
โลก สหรัฐอเมริกา
2541/42 2542/43 ผลต่างร้อยละ 2541/42 2542/43 ผลต่างร้อยละ
สต๊อกต้นปี 8.877 9.087 2.37 0.846 0.858 1.30
ผลผลิต 18.406 18.915 2.77 3.030 3.691 21.82
นำเข้า 5.477 5 .931 8.29 0.096 0.022 -77.08
ใช้ในประเทศ 18.554 19.369 4.39 2.265 2.199 -2.91
ส่งออก 5.149 5.816 12.95 0.946 1.415 49.58
สต๊อกปลายปี 9.087 8.696 -4.30 0.858 0.958 11.66
จีน อุชเบกีสถาน ออสเตรเลีย
2541/42 2542/43 ผลต่างร้อยละ 2541/42 2542/43 ผลต่างร้อยละ 2541/42 2542/43 ผลต่างร้อยละ
สต๊อกต้นปี 3.670 3.796 3.43 0.138 0.134 -2.90 0.240 0.263 9.58
ผลผลิต 4.507 3.832 -14.98 1.002 1.154 15.17 0.716 0.675 -5.73
นำเข้า 0.078 0.033 -57.69 0.001 0.001 - - - -
ใช้ในประเทศ 4.311 4.463 3.53 0.180 0.185 2.78 0.040 0.044 10.00
ส่งออก 0.148 0.261 76.35 0.827 0.914 10.52 0.653 0.631 -3.37
สต๊อกปลายปี 3.796 2.936 -22.66 0.134 0.189 41.04 0.263 0.263 -
ที่มา : USDA (กระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา)
พยากรณ์เมื่อ เดือนมีนาคม 2542
2541/42 คือ ตัวเลขประมาณการ
2542/43 คือ ตัวเลขพยากรณ์
ราคาซื้อ-ขายล่วงหน้าเพื่อส่งมอบเดือนพฤษภาคม 2543 ทำสัญญาสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 61.53 เซนต์ หรือ กิ โลกรัมละ 51.61 บาท ราคาลดลงจากปอนด์ละ 63.28 เซนต์ หรือกิโลกรัมละ 53.02 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.77
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 10 ประจำวันที่ 20 - 26 มี.ค.2543--
ในปี 2541 และ 2542 สหรัฐอเมริกานำเข้าฝ้ายทั้งในรูปสิ่งทอ/เครื่องนุ่งห่มและเส้นใยฝ้ายรวมทั้งสิ้น 12.57, 14.60 ล้านเบลส์และส่งออก 11.70, 7.73 ล้านเบลส์ ตามลำดับ ส่งผลให้สหรัฐฯ เป็นผู้นำ เข้าฝ้ายสุทธิ ในปี 2542 นำเข้าสุทธิจำนวน 6.3 ล้านเบลส์ มากกว่าในปี 2541 ซึ่งมีเพียง 0.87 ล้านเบลส์ เนื่องจากวิกฤตเศรษฐกิจในอาเชียทำให้ความต้องการใช้ฝ้ายน้อยลง ประกอบกับความต้องการใช้ฝ้ายของโรงงานในประเทศที่ซบเซา ทำให้คาดว่าจะมีความต้องการใช้เส้นใยฝ้ายไม่เกิน 10.5 ล้านเบลส์ จะเห็นได้ว่าในปี 2542 การนำเข้าที่เพิ่มขึ้น เป็นการนำเข้าในรูปสิ่งทอและเครื่องนุ่งห่ม ที่นำเข้าจากประเทศเม็กซิโก ปากีสถาน จีน และอินเดีย ซึ่งประเทศเหล่านี้ ผลิตส่งทอและเครื่องนุ่งห่มโดยใช้ผลผลิตฝ้ายภายในประเทศ
ส่วนสต็อกฝ้ายในปี 2542/43 มีปริมาณ 4.4 ล้านเบลส์ เพิ่มขึ้นจากระยะ 5 ปี ที่ผ่านมาถึงร้อยละ 66 หรือ 1.75 ล้านเบลส์ และคาดว่าในปี 2543/44 สต็อกปลายปีจะสูงขึ้นเป็น 4.5 - 5.5 ล้านเบลส์
ความเคลื่อนไหวของราคาฝ้ายในตลาดโลก ประจำสัปดาห์ สรุปได้ดังนี้
ราคาบ่งชี้ตลาดลิเวอร์พูล (Liverpool Cotton Outlook Indices)
ราคาฝ้ายเกรด A" สัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 58.16 เซนต์ หรือกิโลกรัมละ 48.78 บาท ราคาสูงขึ้นจากปอนด์ละ 56.68 เซนต์ หรือกิโลกรัมละ 47.49 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.61
ราคาฝ้ายเกรด B สัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 54.47 เซนต์ หรือกิโลกรัมละ 45.69 บาท ราคาสูงขึ้นจากปอนด์ละ 54.17 เซนต์ หรือกิโลกรัมละ 45.69 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.55
ราคาซื้อ-ขายล่วงหน้าตลาดนิวยอร์ก (New York Cotton Futures)
บัญชีสมดุลฝ้ายโลกและประเทศต่าง ๆ
โลก สหรัฐอเมริกา
2541/42 2542/43 ผลต่างร้อยละ 2541/42 2542/43 ผลต่างร้อยละ
สต๊อกต้นปี 8.877 9.087 2.37 0.846 0.858 1.30
ผลผลิต 18.406 18.915 2.77 3.030 3.691 21.82
นำเข้า 5.477 5 .931 8.29 0.096 0.022 -77.08
ใช้ในประเทศ 18.554 19.369 4.39 2.265 2.199 -2.91
ส่งออก 5.149 5.816 12.95 0.946 1.415 49.58
สต๊อกปลายปี 9.087 8.696 -4.30 0.858 0.958 11.66
จีน อุชเบกีสถาน ออสเตรเลีย
2541/42 2542/43 ผลต่างร้อยละ 2541/42 2542/43 ผลต่างร้อยละ 2541/42 2542/43 ผลต่างร้อยละ
สต๊อกต้นปี 3.670 3.796 3.43 0.138 0.134 -2.90 0.240 0.263 9.58
ผลผลิต 4.507 3.832 -14.98 1.002 1.154 15.17 0.716 0.675 -5.73
นำเข้า 0.078 0.033 -57.69 0.001 0.001 - - - -
ใช้ในประเทศ 4.311 4.463 3.53 0.180 0.185 2.78 0.040 0.044 10.00
ส่งออก 0.148 0.261 76.35 0.827 0.914 10.52 0.653 0.631 -3.37
สต๊อกปลายปี 3.796 2.936 -22.66 0.134 0.189 41.04 0.263 0.263 -
ที่มา : USDA (กระทรวงเกษตรสหรัฐอเมริกา)
พยากรณ์เมื่อ เดือนมีนาคม 2542
2541/42 คือ ตัวเลขประมาณการ
2542/43 คือ ตัวเลขพยากรณ์
ราคาซื้อ-ขายล่วงหน้าเพื่อส่งมอบเดือนพฤษภาคม 2543 ทำสัญญาสัปดาห์นี้เฉลี่ยปอนด์ละ 61.53 เซนต์ หรือ กิ โลกรัมละ 51.61 บาท ราคาลดลงจากปอนด์ละ 63.28 เซนต์ หรือกิโลกรัมละ 53.02 บาท ในสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.77
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 10 ประจำวันที่ 20 - 26 มี.ค.2543--