แท็ก
สุกร
สุกร
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ในสัปดาห์นี้ราคาสุกรมีชีวิตปรับตัวสูงขึ้นเล็กน้อย จากสัปดาห์ที่ผ่านมา ผลผลิตสุกรยังคงเข้าสู่ตลาดอย่างต่อเนื่อง ความต้องการบริโภคสุกร ยังไม่ เปลี่ยนแปลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา สำหรับราคาลูกสุกรยังทรงตัวอยู่ในระดับสูง แสดงว่าความต้องการเลี้ยงสุกรยังมีอยู่มาก แนวโน้มคาดว่าราคาจะทรงตัว หรือปรับตัวสูงขึ้นอีก
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไปราคาที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ย ทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 36.52 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 36.20 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.88 โดยแยกเป็นรายภาค ดังนี้ คือ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 36.83 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 35.62 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 36.58 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 37.59 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้มีราคาอยู่ที่ตัวละ 950 บาท (บวกลบ 38) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 37.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ส่วนราคาขายส่งสุกรชำแหละ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 44.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 44.00 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.14
ไก่เนื้อ
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ในสัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อปรับตัวสูงขึ้นอีก จากสภาพอากาศที่ค่อนข้างเย็นสบายในช่วงนี้ ทำให้ไก่เนื้อมีการเติบโตดี แต่เนื่องจากช่วงที่ผ่านมา ผู้เลี้ยงนำไก่เข้าเลี้ยงปริมาณน้อย ปริมาณไก่เนื้อที่ออกสู่ตลาดจึงมีไม่มากนัก ภาวะการซื้อขายเริ่มดีขึ้นทั้งตลาดในประเทศและตลาดต่างประเทศ แนวโน้มคาดว่าราคาไก่เนื้อจะปรับตัวเพิ่มขึ้นอีก
ทั้งนี้ รายงานข่าวจากสมาคมผู้ผลิตไก่เพื่อส่งออกไทย เปิดเผยว่าตั้งแต่ต้นสัปดาห์ที่ผ่านมาทางการญี่ปุ่นได้ระงับการนำเข้าเนื้อไก่จากสหรัฐอเมริกาเป็นการชั่วคราว เนื่องจากกระทรวงเกษตรของญี่ปุ่นได้รับรายงานจากสถานฑูตสหรัฐอเมริกาในกรุงโตเกียว ว่า พบเชื้อโรคไข้หวัดนก ที่เกิดขึ้นกับสัตว์ปีก ที่ฟาร์มเลี้ยงไก่แห่งหนึ่งในรัฐคอนเน็คติกัท จึงนับเป็นโอกาสที่ดีต่อการส่งออกของผู้ประกอบการไทย ซึ่งคาดว่าญี่ปุ่นจะสั่งนำเข้าเนื้อไก่เพิ่มขึ้น เพื่อทดแทนส่วนที่หายไป โดยสหรัฐฯ มีส่วนแบ่งตลาดในญี่ปุ่นประมาณร้อยละ 16 สำหรับการส่งออกเนื้อไก่ไทยโดยรวมในปี 2544 นี้ คาดว่าจะมีปริมาณรวม 400,000 ตัน มูลค่าประมาณ 34,600 ล้านบาท
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 28.59 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 27.89 บาทของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.12 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้คือ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 29.01 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 28.63 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 28.71 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 27.34 บาท ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี มีราคาอยู่ที่ตัวละ 12.50 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 10.50 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 19.05
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 29.50 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.39 ส่วนราคาขายส่งไก่สดเฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.00 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 37.00 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.41
ไข่ไก่
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ในสัปดาห์นี้ราคาไข่ไก่ปรับตัวขึ้นอีกเล็กน้อย แต่สถานการณ์โดยรวมยังทรงตัวอยู่ โดยผลผลิตออกสู่ตลาดมีปริมาณมากขึ้น ความต้องการบริโภคไข่ไก่เริ่มดีขึ้น เพราะจากการรณรงค์ให้มีการบริโภคไข่ไก่เพิ่มขึ้น ช่วงนี้ปริมาณไข่ไก่ในท้องตลาดส่วนใหญ่จะเป็นไข่ขนาดเล็ก แนวโน้มคาดว่าราคาไข่ไก่จะปรับตัวขึ้นอีกเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 178 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 176 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.00 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ คือภาคเหนือร้อยฟองละ 176 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 193 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 174 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 178 บาท ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี.อยู่ที่ตัวละ 18 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 183 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 175 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.57
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 200 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ คือภาคเหนือร้อยฟองละ 177 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 196 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 219 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 194 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 285 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
โค
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ. ราคาโค (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 39.80 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 39.51 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.73 โดยแยกเป็นรายภาคได้ดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 39.80 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 44.15 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 37.76 บาท ภาคใต้กิโลกรัมละ 31.83 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 27.67 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 27.62 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.18 โดยแยกเป็นรายภาคได้ดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 29.86 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 27.76 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 23.20 บาท ส่วนภาคใต้ไม่มีรายงานราคา
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 45 ประจำวันที่ 19-25 พ.ย. 2544--
-สส-
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ในสัปดาห์นี้ราคาสุกรมีชีวิตปรับตัวสูงขึ้นเล็กน้อย จากสัปดาห์ที่ผ่านมา ผลผลิตสุกรยังคงเข้าสู่ตลาดอย่างต่อเนื่อง ความต้องการบริโภคสุกร ยังไม่ เปลี่ยนแปลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา สำหรับราคาลูกสุกรยังทรงตัวอยู่ในระดับสูง แสดงว่าความต้องการเลี้ยงสุกรยังมีอยู่มาก แนวโน้มคาดว่าราคาจะทรงตัว หรือปรับตัวสูงขึ้นอีก
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไปราคาที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ย ทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 36.52 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 36.20 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.88 โดยแยกเป็นรายภาค ดังนี้ คือ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 36.83 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 35.62 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 36.58 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 37.59 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้มีราคาอยู่ที่ตัวละ 950 บาท (บวกลบ 38) ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 37.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน ส่วนราคาขายส่งสุกรชำแหละ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 44.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 44.00 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.14
ไก่เนื้อ
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ในสัปดาห์นี้ราคาไก่เนื้อปรับตัวสูงขึ้นอีก จากสภาพอากาศที่ค่อนข้างเย็นสบายในช่วงนี้ ทำให้ไก่เนื้อมีการเติบโตดี แต่เนื่องจากช่วงที่ผ่านมา ผู้เลี้ยงนำไก่เข้าเลี้ยงปริมาณน้อย ปริมาณไก่เนื้อที่ออกสู่ตลาดจึงมีไม่มากนัก ภาวะการซื้อขายเริ่มดีขึ้นทั้งตลาดในประเทศและตลาดต่างประเทศ แนวโน้มคาดว่าราคาไก่เนื้อจะปรับตัวเพิ่มขึ้นอีก
ทั้งนี้ รายงานข่าวจากสมาคมผู้ผลิตไก่เพื่อส่งออกไทย เปิดเผยว่าตั้งแต่ต้นสัปดาห์ที่ผ่านมาทางการญี่ปุ่นได้ระงับการนำเข้าเนื้อไก่จากสหรัฐอเมริกาเป็นการชั่วคราว เนื่องจากกระทรวงเกษตรของญี่ปุ่นได้รับรายงานจากสถานฑูตสหรัฐอเมริกาในกรุงโตเกียว ว่า พบเชื้อโรคไข้หวัดนก ที่เกิดขึ้นกับสัตว์ปีก ที่ฟาร์มเลี้ยงไก่แห่งหนึ่งในรัฐคอนเน็คติกัท จึงนับเป็นโอกาสที่ดีต่อการส่งออกของผู้ประกอบการไทย ซึ่งคาดว่าญี่ปุ่นจะสั่งนำเข้าเนื้อไก่เพิ่มขึ้น เพื่อทดแทนส่วนที่หายไป โดยสหรัฐฯ มีส่วนแบ่งตลาดในญี่ปุ่นประมาณร้อยละ 16 สำหรับการส่งออกเนื้อไก่ไทยโดยรวมในปี 2544 นี้ คาดว่าจะมีปริมาณรวม 400,000 ตัน มูลค่าประมาณ 34,600 ล้านบาท
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 28.59 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 27.89 บาทของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.12 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้คือ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 29.01 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 28.63 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 28.71 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 27.34 บาท ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี มีราคาอยู่ที่ตัวละ 12.50 บาท สูงขึ้นจากตัวละ 10.50 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 19.05
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.50 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 29.50 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.39 ส่วนราคาขายส่งไก่สดเฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.00 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 37.00 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.41
ไข่ไก่
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
ในสัปดาห์นี้ราคาไข่ไก่ปรับตัวขึ้นอีกเล็กน้อย แต่สถานการณ์โดยรวมยังทรงตัวอยู่ โดยผลผลิตออกสู่ตลาดมีปริมาณมากขึ้น ความต้องการบริโภคไข่ไก่เริ่มดีขึ้น เพราะจากการรณรงค์ให้มีการบริโภคไข่ไก่เพิ่มขึ้น ช่วงนี้ปริมาณไข่ไก่ในท้องตลาดส่วนใหญ่จะเป็นไข่ขนาดเล็ก แนวโน้มคาดว่าราคาไข่ไก่จะปรับตัวขึ้นอีกเล็กน้อย
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 178 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 176 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.00 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ คือภาคเหนือร้อยฟองละ 176 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 193 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 174 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 178 บาท ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี.อยู่ที่ตัวละ 18 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 183 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 175 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.57
ไข่เป็ด
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 200 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ คือภาคเหนือร้อยฟองละ 177 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 196 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 219 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 194 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 285 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
โค
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ. ราคาโค (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 39.80 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 39.51 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.73 โดยแยกเป็นรายภาคได้ดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 39.80 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 44.15 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 37.76 บาท ภาคใต้กิโลกรัมละ 31.83 บาท
กระบือ
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 27.67 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 27.62 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.18 โดยแยกเป็นรายภาคได้ดังนี้ ภาคเหนือกิโลกรัมละ 29.86 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 27.76 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 23.20 บาท ส่วนภาคใต้ไม่มีรายงานราคา
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 45 ประจำวันที่ 19-25 พ.ย. 2544--
-สส-