แท็ก
คมนาคม
ช่วง 9 เดือนแรกของปี 2544 ภาคโทรคมนาคมยังคงขยายตัวอย่างต่อเนื่องตามจำนวนผู้เช่าโทรศัพท์เคลื่อนที่
และโทรศัพท์พื้นฐาน ซึ่งขยายตัวสูงถึงร้อยละ 67.7 และ 9.1 เทียบกับระยะเดียวกันของปีก่อน หรือคิดเป็นผู้ใช้บริการของ
โทรศัพท์ทั้งสองระบบจำนวน 4.6 และ 6.1 ล้านเลขหมาย ตามลำดับ อันเป็นผลจากการที่ผู้ประกอบการเร่งจัดกิจกรรม
ส่งเสริมการขายทั้งการลดราคาตัวเครื่องและอัตราค่าบริการของโทรศัพท์เคลื่อนที่ ตลอดจนถึงการยกเว้นค่าติดตั้งโทรศัพท์พื้นฐาน
การลดอัตราค่าบริการโทรศัพท์พกพาส่วนบุคคล (Personal Communication Telephone : PCT) และการลดค่าบริการ
โทรศัพท์ทางไกลราคาประหยัด (Y-Tel 1234) ขององค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ทศท.)
อย่างไรก็ตาม การขยายตัวของการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่และ PCT ซึ่งสามารถอำนวยความสะดวกในการติดต่อสื่อสาร
ได้สองทางเป็นผลให้การใช้โทรศัพท์ติดตามตัวยังคงหดตัวลงอย่างต่อเนื่อง เหลือเพียง 3 แสนเลขหมาย หรือลดลงถึงร้อยละ
71.9 เมื่อเทียบกับระยะเดียวกันปีก่อน
สำหรับปริมาณการใช้โทรศัพท์ระหว่างประเทศโทรออกมีจำนวน 79.16 ล้านครั้ง เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.8 ขณะที่การโทร
เข้ามีจำนวน 69.30 ล้านครั้ง ลดลงร้อยละ 4.4 โดยความนิยมในการใช้บริการอินเตอร์เน็ตโดยผ่านการ Chat และ E-Mail
เป็นปัจจัยสำคัญต่อการลดลงของการใช้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ
การให้บริการภาคโทรคมนาคม (หน่วย : เลขหมาย)
บริการ 2543 2544
ครึ่งแรกของปี ครึ่งหลังของปี ทั้งปี P ไตรมาส 1P ไตรมาส 2P ไตรมาส 3E ม.ค.-ก.ย. E
ผู้เช่าโทรศัพท์พื้นฐาน* 5,512,571 5,677,756 5,677,756 5,854,110 5,973,493 6,100,000 6,100,000
D% 7.2 9.2 9.2 8.1 8.4 9.1 9.1
ผู้เช่าโทรศัพท์เคลื่อนที่* 2,559,935 3,120,196 3,120,196 3,611,098 4,138,837 4,575,000 4,575,000
D% 21.5 35.8 35.8 48.1 61.7 67.7 67.7
ผู้เช่าโทรศัพท์ติดตามตัว* 1,119,979 1,033,825 1,033,825 486,254 363,328 304,300 304,300
D% 4.2 -7.5 -7.5 -56.8 -67.6 -71.9 -71.9
โทรศัพท์ระหว่างประเทศ (หน่วย : ล้านครั้ง)
- การโทรเข้า 48.32 48.1 96.42 23.84 22.75 22.71 69.3
D% -4.3 -3.3 -3.8 -2.5 -4.7 -6 -4.4
- การโทรออก 48.24 50.01 98.25 26.93 26.53 25.7 79.16
D% 1.4 6.3 3.8 9.4 12.3 4.8 8.8
หมายเหตุ : * เป็นข้อมูล ณ วันสิ้นงวด
% คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับระยะเดียวกันของปีก่อน
ที่มา : องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ทศท.) และ การสื่อสารแห่งประเทศไทย (กสท.)
--ธนาคารแห่งประเทศไทย--
-สส-
และโทรศัพท์พื้นฐาน ซึ่งขยายตัวสูงถึงร้อยละ 67.7 และ 9.1 เทียบกับระยะเดียวกันของปีก่อน หรือคิดเป็นผู้ใช้บริการของ
โทรศัพท์ทั้งสองระบบจำนวน 4.6 และ 6.1 ล้านเลขหมาย ตามลำดับ อันเป็นผลจากการที่ผู้ประกอบการเร่งจัดกิจกรรม
ส่งเสริมการขายทั้งการลดราคาตัวเครื่องและอัตราค่าบริการของโทรศัพท์เคลื่อนที่ ตลอดจนถึงการยกเว้นค่าติดตั้งโทรศัพท์พื้นฐาน
การลดอัตราค่าบริการโทรศัพท์พกพาส่วนบุคคล (Personal Communication Telephone : PCT) และการลดค่าบริการ
โทรศัพท์ทางไกลราคาประหยัด (Y-Tel 1234) ขององค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ทศท.)
อย่างไรก็ตาม การขยายตัวของการใช้โทรศัพท์เคลื่อนที่และ PCT ซึ่งสามารถอำนวยความสะดวกในการติดต่อสื่อสาร
ได้สองทางเป็นผลให้การใช้โทรศัพท์ติดตามตัวยังคงหดตัวลงอย่างต่อเนื่อง เหลือเพียง 3 แสนเลขหมาย หรือลดลงถึงร้อยละ
71.9 เมื่อเทียบกับระยะเดียวกันปีก่อน
สำหรับปริมาณการใช้โทรศัพท์ระหว่างประเทศโทรออกมีจำนวน 79.16 ล้านครั้ง เพิ่มขึ้นร้อยละ 8.8 ขณะที่การโทร
เข้ามีจำนวน 69.30 ล้านครั้ง ลดลงร้อยละ 4.4 โดยความนิยมในการใช้บริการอินเตอร์เน็ตโดยผ่านการ Chat และ E-Mail
เป็นปัจจัยสำคัญต่อการลดลงของการใช้บริการโทรศัพท์ระหว่างประเทศ
การให้บริการภาคโทรคมนาคม (หน่วย : เลขหมาย)
บริการ 2543 2544
ครึ่งแรกของปี ครึ่งหลังของปี ทั้งปี P ไตรมาส 1P ไตรมาส 2P ไตรมาส 3E ม.ค.-ก.ย. E
ผู้เช่าโทรศัพท์พื้นฐาน* 5,512,571 5,677,756 5,677,756 5,854,110 5,973,493 6,100,000 6,100,000
D% 7.2 9.2 9.2 8.1 8.4 9.1 9.1
ผู้เช่าโทรศัพท์เคลื่อนที่* 2,559,935 3,120,196 3,120,196 3,611,098 4,138,837 4,575,000 4,575,000
D% 21.5 35.8 35.8 48.1 61.7 67.7 67.7
ผู้เช่าโทรศัพท์ติดตามตัว* 1,119,979 1,033,825 1,033,825 486,254 363,328 304,300 304,300
D% 4.2 -7.5 -7.5 -56.8 -67.6 -71.9 -71.9
โทรศัพท์ระหว่างประเทศ (หน่วย : ล้านครั้ง)
- การโทรเข้า 48.32 48.1 96.42 23.84 22.75 22.71 69.3
D% -4.3 -3.3 -3.8 -2.5 -4.7 -6 -4.4
- การโทรออก 48.24 50.01 98.25 26.93 26.53 25.7 79.16
D% 1.4 6.3 3.8 9.4 12.3 4.8 8.8
หมายเหตุ : * เป็นข้อมูล ณ วันสิ้นงวด
% คือ อัตราการเปลี่ยนแปลงเมื่อเทียบกับระยะเดียวกันของปีก่อน
ที่มา : องค์การโทรศัพท์แห่งประเทศไทย (ทศท.) และ การสื่อสารแห่งประเทศไทย (กสท.)
--ธนาคารแห่งประเทศไทย--
-สส-