บันทึกการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๑
ครั้งที่ ๒๓ (สมัยสามัญทั่วไป)
วันพุธที่ ๓๐ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๔๔
ณ ตึกรัฐสภา
---------------------
เริ่มประชุมเวลา ๑๓.๓๐ นาฬิกา
เมื่อครบองค์ประชุมแล้ว นายอุทัย พิมพ์ใจชน ประธานสภาผู้แทน
ราษฎร และนายบุญชง วีสมหมาย รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่สอง ขึ้นบัลลังก์
จากนั้น ประธานสภาผู้แทนราษฎรกล่าวเปิดประชุมและได้แจ้งให้ที่ประชุม
รับทราบเรื่องต่าง ๆ ตามลำดับ คือ
๑. เรื่อง สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีแจ้งเหตุขัดข้องที่นายกรัฐมนตรี
ไม่สามารถพิจารณาให้คำรับรองร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินได้จำนวน
๗ ฉบับ คือ
(๑) ร่างพระราชบัญญัติการกีฬาและกิจการเยาวชน พ.ศ. ….
ซึ่ง นายเปรมศักดิ์ เพียยุระ และนายรณฤทธิชัย คานเขต เป็นผู้เสนอ
(๒) ร่างพระราชบัญญัติโอนอำนาจหน้าที่และกิจการบริหารบางส่วน
ของสำนักนายกรัฐมนตรีและกระทรวงศึกษาธิการไปเป็นของกระทรวงกีฬาและ
กิจการเยาวชน พ.ศ. …. ซึ่ง นายเปรมศักดิ์ เพียยุระ และนายรณฤทธิชัย คานเขต
เป็นผู้เสนอ
(๓) ร่างพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูการกีฬา พ.ศ. ….
ซึ่ง นายเปรมศักดิ์ เพียยุระ และนายรณฤทธิชัย คานเขต เป็นผู้เสนอ
(๔) ร่างพระราชบัญญัติสวนป่า (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง
นายตรีพล เจาะจิตต์ กับคณะ เป็นผู้เสนอ
(๕) ร่างพระราชบัญญัติสภาเกษตรกรแห่งชาติ พ.ศ. ….
ซึ่ง นายตรีพล เจาะจิตต์ กับคณะ เป็นผู้เสนอ
(๖) ร่างพระราชบัญญัติการกีฬาแห่งประเทศไทย (ฉบับที่ ..)
พ.ศ. …. ซึ่ง นายภิญโญ นิโรจน์ และนายวิทยา คุณปลื้ม เป็นผู้เสนอ
(๗) ร่างพระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ. .... ซึ่ง นายประสิทธิ์
ชัยวิรัตนะ กับคณะ เป็นผู้เสนอ
๒. เรื่อง การนำร่างพระราชบัญญัติของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
ออกจากระเบียบวาระการประชุม ตามข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร
พ.ศ. ๒๕๔๔ ข้อ ๕๗ จำนวน ๒ ฉบับ คือ
(๑) ร่างพระราชบัญญัติสภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
พ.ศ. .... ซึ่ง นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์ และนายชาญชัย ชวลิตนิติธรรม เป็นผู้เสนอ
(๒) ร่างพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหาร
ท้องถิ่น พ.ศ. …. ซึ่ง นายสมชาย สหชัยรุ่งเรือง และนายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์
เป็นผู้เสนอ
ที่ประชุมรับทราบ
ต่อจากนั้น ประธานสภาผู้แทนราษฎรได้เสนอให้ที่ประชุมพิจารณา
ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องที่คณะกรรมาธิการพิจารณาเสร็จแล้ว ตามลำดับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติเชื้อโรคและพิษจากสัตว์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระที่ ๔.๑)
๒. ร่างพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตำบลท่าม่วง
ตำบลทุ่งทอง อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี และตำบลทุ่งบัว ตำบลกำแพงแสน
ตำบลดอนข่อย อำเภอกำแพงแสน ตำบลลำลูกบัว อำเภอดอนตูม ตำบลดอนตูม
ตำบลบางเลน อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม พ.ศ. …. ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญ
พิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระที่ ๔.๒)
๓. ร่างพระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. …. ซึ่ง
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระที่ ๔.๓)
ที่ประชุมได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๓ ฉบับ ในวาระที่ ๒
ทีละฉบับ ตามลำดับ โดยเริ่มต้นด้วยชื่อร่าง คำปรารภ แล้วเรียงตามลำดับมาตรา
จนจบร่าง และได้ลงมติเห็นชอบในวาระที่ ๓ ทั้ง ๓ ฉบับ ทีละฉบับ ตามลำดับ
เพื่อเสนอให้วุฒิสภาพิจารณาต่อไปตามรัฐธรรมนูญฯ ทั้งนี้ ที่ประชุมได้ลงมติเห็นชอบ
กับข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการที่พิจารณาร่างพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์
ในท้องที่ตำบลท่าม่วง ตำบลทุ่งทอง อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี และ
ตำบลทุ่งบัว ตำบลกำแพงแสน ตำบลดอนข่อย อำเภอกำแพงแสน ตำบลลำลูกบัว
อำเภอดอนตูม ตำบลดอนตูม ตำบลบางเลน อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม
พ.ศ. …. เพื่อแจ้งไปยังคณะรัฐมนตรีด้วย
หลังจากนั้น ประธานสภาผู้แทนราษฎรได้เสนอให้ที่ประชุม
พิจารณาระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑ คือ พิจารณาร่างพระราชบัญญัติที่รัฐสภามีมติ
เห็นชอบให้พิจารณาต่อไปตามมาตรา ๑๗๘ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
(ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑)
๑.๑ ร่างพระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. ….
(ค้างอยู่ระหว่างการพิจารณาของคณะกรรมาธิการของสภาผู้แทนราษฎรชุดที่แล้ว)
ที่ประชุมได้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญขึ้นใหม่มีจำนวน ๓๕ คน
เพื่อพิจารณา ตามข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๔๔ ข้อ ๑๒๕
วรรคสอง คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
๑. นายชัยวัฒน์ วงศ์วัฒนศานต์ ๒. รองศาสตราจารย์สุธีร์ ศุภนิตย์
๓. นายอนุวัฒน์ ธรมธัช ๔. นายชูชัย ศุภวงศ์
๕. พลตำรวจเอก ประจิต แสงสุบิน ๖. นายปิยะณัฐ วัชราภรณ์
๗. นายสุขุมพงศ์ โง่นคำ ๘. นายวีระชัย วีระเมธีกุล
๙. นายรุ่งเรือง พิทยศิริ ๑๐. นายอริสมันต์ พงศ์เรืองรอง
๑๑. นายปกิต พัฒนกุล ๑๒. นายสุพล ฟองงาม
๑๓. นายบุญลือ ประเสริฐโสภา ๑๔. นายระวัง เนตรโพธิ์แก้ว
๑๕. นายพินิจ จันทร์สมบูรณ์ ๑๖. นายพายัพ ปั้นเกตุ
๑๗. นายนิยม วรปัญญา ๑๘. นายไพโรจน์ โล่ห์สุนทร
๑๙. นางสาวชรินรัตน์ พุทธปวน ๒๐. พันตำรวจโท ไวพจน์ อาภรณ์รัตน์
๒๑. นายสุวรรณ กู้สุจริต ๒๒. นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์
๒๓. นายพรวุฒิ สารสิน ๒๔. นายธนญ ตันติสุนทร
๒๕. นายชัยวุฒิ ธนาคมานุสรณ์ ๒๖. นายเรวัต สิรินุกุล
๒๗. นายปรีชา สุวรรณทัต ๒๘. นายสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล
๒๙. นายสวัสดิ์ หอรุ่งเรือง ๓๐. นายธรรมา ปิ่นสุกาญจนะ
๓๑. นายสุลัยมาลย์ วงษ์พานิช ๓๒. นายทวีวัฒน์ ฤทธิ์ฤาชัย
๓๓. นายสมชัย ฉัตรพัฒนศิริ ๓๔. ร้อยตรีวิชัย จิตรพิทักษ์เลิศ
๓๕. นายไชยา พรหมา
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๑.๒ ร่างพระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ. …. (ค้างอยู่ระหว่าง
การพิจารณาของคณะกรรมาธิการของสภาผู้แทนราษฎรชุดที่แล้ว)
ที่ประชุมได้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญขึ้นใหม่ จำนวน ๓๕ คน
เพื่อพิจารณา แต่เนื่องจากมีร่างพระราชบัญญัติฯ ซึ่งผู้มีสิทธิเลือกตั้งร่วมกันเข้าชื่อเสนอ
กฎหมายรวมพิจารณาอยู่ด้วย (ในสภาผู้แทนราษฎรชุดที่แล้วมีผู้เสนอ จำนวน ๖ ฉบับ
คือ ฉบับของคณะรัฐมนตรี, ฉบับของนายประกิจ พลเดช และนายมนตรี
ด่านไพบูลย์, ฉบับของนายตรีพล เจาะจิตต์ กับคณะ, ฉบับของนายสุรสิทธิ์
นิติวุฒิวรรักษ์ และนายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ, ฉบับของนายบุญช่วย ภู่จีนาพันธุ์
กับคณะ และฉบับของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง จำนวน ๕๒,๖๙๘ คน เป็นผู้เสนอ)
ประธานสภาผู้แทนราษฎรจึงได้กำหนดให้มีตัวแทนของผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายจำนวน
๘ คน ประกอบเป็นคณะกรรมาธิการเพื่อพิจารณาด้วย ตามข้อบังคับการประชุมสภา
ผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๔๔ ข้อ ๑๒๔ และข้อ ๑๒๕ วรรคสอง โดยใช้ร่างพระราช
บัญญัติของคณะรัฐมนตรีชุดที่แล้วเป็นหลักในการพิจารณา คณะกรรมาธิการประกอบ
ด้วย
๑. นายประพัฒน์ ปัญญาชาติรักษ์ ๒. นางสาวพวงเพชร สารคุณ
๓. นายวิสูตร สมนึก ๔. นายชัยพันธุ์ ประภาสะวัต
๕. นางสาวศยามล ไกรยูรวงศ์ ๖. นายไพโรจน์ พลเพชร
๗. นายอานันท์ กาญจนพันธุ์ ๘. นายอนันต์ ดวงแก้วเรือน
๙. นายเพิ่มศักดิ์ มกราภิรมย์ ๑๐. นายสุรพล ดวงแข
๑๑. นายเลื่อน ศรีสุโพธิ์ ๑๒. นายทวีศิลป์ ศรีเรือง
๑๓. นายจันทร์โชติ ภู่ศิลป์ ๑๔. นายสุรพล เกียรติไชยากร
๑๕. นายวุฒิพงศ์ ฉายแสง ๑๖. นายประกิจ พลเดช
๑๗. นายอิทธิรัตน์ จันทรสุรินทร์ ๑๘. นายเมธี ฉัตรจินดารัตน์
๑๙. นางสาวอรุณี ชำนาญยา ๒๐. นายฐานิสร์ เทียนทอง
๒๑. นายกฤษฎา บุญชัย ๒๒. นายภาคภูมิ วิธานติรวัฒน์
๒๓. นางมุกดา พงษ์สมบัติ ๒๔. นายเดโช ไชยทัพ
๒๕. นายนริศ ขำนุรักษ์ ๒๖. นายสืบแสง พรหมบุญ
๒๗. นายตรีพล เจาะจิตต์ ๒๘. คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช
๒๙. นายเจะอามิง โตะตาหยง ๓๐. นายยงยุทธ สุวภาพ
๓๑. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ ๓๒. นายประเทือง วิจารณ์ปรีชา
๓๓. นายนิสิต สินธุไพร ๓๔. นายประสิทธิ์ ชัยวิรัตนะ
๓๕. นายสุรชาติ ชำนาญศิลป์
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
ต่อมา ได้มีสมาชิกเสนอญัตติขอเปลี่ยนระเบียบวาระการประชุม
โดยขอให้นำระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๒, ๓ และ ๔ ขึ้นมาพิจารณาก่อน ตามลำดับ
ซึ่งที่ประชุมเห็นชอบ
ประธานสภาผู้แทนราษฎรจึงได้เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาระเบียบวาระ
เรื่องด่วน ตามที่ที่ประชุมมีมติ ตามลำดับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๒)
เมื่อรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ได้แถลงหลักการและ
เหตุผล มีสมาชิกอภิปราย โดยมีรองประธานสภาผู้แทนราษฎรทั้งสองผลัดเปลี่ยนกัน
ดำเนินการประชุม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข
ตอบชี้แจงจนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑
รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ
จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายกิตติ ลิ้มชัยกิจ ๒. นายชัยวัฒน์ วงศ์วัฒนศานต์
๓. นายวิชัย โชควิวัฒน์ ๔. นางสาวอรวรรณ คุณเงิน
๕. นายวิโรจน์ สุ่มใหญ่ ๖. หม่อมราชวงศ์ดำรงดิศ ดิศกุล
๗. นายสุธา ชันแสง ๘. นาวาอากาศตรี ศิธา ทิวารี
๙. นายภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ ๑๐. นายปกิต พัฒนกุล
๑๑. นายวิชิต ปลั่งศรีสกุล ๑๒. นายสุชาติ บรรดาศักดิ์
๑๓. นายสุวัฒน์ วรรณศิริกุล ๑๔. นายดนัยฤทธิ์ วัชราภรณ์
๑๕. นายศิริ หวังบุญเกิด ๑๖. นายวีระพล อดิเรกสาร
๑๗. พันตำรวจโท บรรยิน ตั้งภาภรณ์ ๑๘. นายวิทยา ทรงคำ
๑๙. นายสงวน พงษ์มณี ๒๐. นายสมบูรณ์ วันไชยธนวงศ์
๒๑. นายสุทัศน์ เงินหมื่น ๒๒. นางนิภา พริ้งศุลกะ
๒๓. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค ๒๔. พลตำรวจโท วรรณรัตน์ คชรักษ์
๒๕. นายนคร มาฉิม ๒๖. นายเจือ ราชสีห์
๒๗. นายมาโนชญ์ วิชัยกุล ๒๘. นายสุรเชษฐ์ แวอาแซ
๒๙. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ ๓๐. นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์
๓๑. ศาสตราจารย์ลิขิต ธีรเวคิน ๓๒. นายสุทธิชัย จันทร์อารักษ์
๓๓. นายธวัชชัย อนามพงษ์ ๓๔. พันตำรวจเอก พณาเจือเพ็ชร์ กฤษณะราช
๓๕. นายปรีชา เร่งสมบูรณ์สุข
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๒. ร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ฉบับที่ ..)
พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๓) โดยผู้ปฏิบัติ
หน้าที่แทนประธานสภาผู้แทนราษฎรได้ปรึกษาที่ประชุมเพื่อขอนำร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก ๒ ฉบับ
ขึ้นมาพิจารณารวมกันไป ซึ่งที่ประชุมเห็นชอบ คือ
(๑) ร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง คุณสามารถ แก้วมีชัย กับคณะ เป็นผู้เสนอ (ยังมิได้บรรจุ
ระเบียบวาระ)
(๒) ร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง คุณวัฒนา เซ่งไพเราะ กับคณะ เป็นผู้เสนอ (ยังมิได้บรรจุ
ระเบียบวาระ)
เมื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และผู้เสนอ ได้แถลงหลักการ
และเหตุผล ตามลำดับ มีสมาชิกฯ อภิปราย โดยมีรองประธานสภาผู้แทนราษฎร
ทั้งสองผลัดเปลี่ยนกันดำเนินการประชุม ภายหลังสมาชิกฯ อภิปราย รัฐมนตรี
ว่าการกระทรวงมหาดไทย ตอบชี้แจงจนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติ
ในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๓ ฉบับพร้อมกันไปและมีมติ
ให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา โดยถือเอาร่างของ
คณะรัฐมนตรีเป็นหลักในการพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายอภัย จันทนจุลกะ ๒. นายกมล บุญวานิช
๓. นายชัยวัฒน์ วงศ์วัฒนศานต์ ๔. นายกิตติ ลิ้มชัยกิจ
๕. พลตำรวจโท เพรียวพันธ์ ดามาพงศ์ ๖. นายวัฒนา เซ่งไพเราะ
๗. นายอนุสรณ์ ปั้นทอง ๘. นายเจริญ จรรย์โกมล
๙. นายอุดมเดช รัตนเสถียร ๑๐. นายยงยศ อดิเรกสาร
๑๑. นายประมวล รุจนเสรี ๑๒. นายอรรถพล มามะ
๑๓. นายณัฐพล เกียรติวินัยสกุล ๑๔. นายเสริมศักดิ์ การุญ
๑๕. นายสุพจน์ ฤชุพันธุ์ ๑๖. นายศุภชัย ใจสมุทร
๑๗. นายจักรพันธุ์ ยมจินดา ๑๘. นายสามารถ แก้วมีชัย
๑๙. นายไพศาล จันทรภักดี ๒๐. นายสนั่น สบายเมือง
๒๑. นายอภิชาต การิกาญจน์ ๒๒. พันตำรวจโท เจ๊ะอิสมาแอ เจ๊ะโมง
๒๓. นายสมมารถ เจ๊ะนา ๒๔. นายสุพัฒน์ ธรรมเพชร
๒๕. นายอาคม เอ่งฉ้วน ๒๖. คุณหญิงจรัสศรี ทีปิรัช
๒๗. พลตำรวจโท วรรณรัตน์ คชรักษ์ ๒๘. นายนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ
๒๙. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ ๓๐. นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์
๓๑. นายรณฤทธิชัย คานเขต ๓๒. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง
๓๓. นายธวัชชัย อนามพงษ์ ๓๔. พันตำรวจเอก พณาเจือเพ็ชร์ กฤษณะราช
๓๕. นายสานิต ว่องสัธนพงษ์
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๓. ร่างพระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. ….
ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๔)
เมื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ได้แถลงหลักการและเหตุผล
มีสมาชิก ฯ อภิปราย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ตอบชี้แจงจนได้เวลา
พอสมควรแล้วที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ
ฉบับนี้ และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา
คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ๒. นายบัณฑิต รชตะนันทน์
๓. นายจรัล บูรณพันธุ์ศรี ๔. นายชัยวัฒน์ วงศ์วัฒนศานต์
๕. นายยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานติ์ ๖. นายพฤฒิชัย ดำรงรัตน์
๗. นายเอนก หุตังคบดี ๘. นายประชา ประสพดี
๙. นายชูวิทย์ พิทักษ์พรพัลลภ ๑๐. นายสิทธิชัย โควสุรัตน์
๑๑. นางกรรณิกา ธรรมเกษร ๑๒. นายทองหล่อ พลโคตร
๑๓. นายพิษณุ พลไวย์ ๑๔. นายอริสมันต์ พงศ์เรืองรอง
๑๕. นายภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ ๑๖. นางพิชญ์สินี มุ่งฝากกลาง
๑๗. นายพรศักดิ์ เปี่ยมคล้า ๑๘. นางสาวกฤษณา สีหลักษณ์
๑๙. นายสุวัฒน์ ม่วงศิริ ๒๐. นายสัญชัย วงษ์สุนทร
๒๑. นางพรพิชญ์ พัฒนกุลเลิศ ๒๒. นายสุทัศน์ เงินหมื่น
๒๓. นายปัญญา จีนาคำ ๒๔. นายวินัย เสนเนียม
๒๕. นายสนั่น สุธากุล ๒๖. นายสมบูรณ์ อุทัยเวียนกุล
๒๗. นายสมเกียรติ ฉันทวานิช ๒๘. นายสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์
๒๙. นายชูวงศ์ ฉายะบุตร ๓๐. นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์
๓๑. นายอารีเพ็ญ อุตรสินธุ์ ๓๒. นายชวลิต วิชยสุทธิ์
๓๓. นายธวัชชัย อนามพงษ์ ๓๔. พันตำรวจเอก พณาเจือเพ็ชร์ กฤษณะราช
๓๕. นายบุญเติม จันทะวัฒน์
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
เลิกประชุมเวลา ๒๒.๔๕ นาฬิกา
(นางศิริลักษณ์ ปั้นบำรุงกิจ)
เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
ฝ่ายรายงานการประชุม
กองการประชุม
โทร. ๒๔๔๑๑๑๕-๖
โทรสาร ๒๔๔๑๑๑๕-๖
สรุปผลการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
เห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติ จำนวน ๓ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติเชื้อโรคและพิษจากสัตว์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
๒. ร่างพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตำบลท่าม่วง ตำบลทุ่งทอง
อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี และตำบลทุ่งบัว ตำบลกำแพงแสน ตำบลดอนข่อย อำเภอกำแพงแสน
ตำบลลำลูกบัว อำเภอดอนตูม ตำบลดอนตูม ตำบลบางเลน อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม พ.ศ. ….
๓. ร่างพระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. ….
ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติที่รัฐสภามีมติเห็นชอบ
จำนวน ๒ ฉบับ คือ
๑ ร่างพระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. ….
๒. ร่างพระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ. …. (รวมผู้เสนอ ๖ ฉบับ)
รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ จำนวน ๕ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
๒. ร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
(รวมผู้เสนอ ๓ ฉบับ)
๓. ร่างพระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. ….
*************************
ครั้งที่ ๒๓ (สมัยสามัญทั่วไป)
วันพุธที่ ๓๐ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๔๔
ณ ตึกรัฐสภา
---------------------
เริ่มประชุมเวลา ๑๓.๓๐ นาฬิกา
เมื่อครบองค์ประชุมแล้ว นายอุทัย พิมพ์ใจชน ประธานสภาผู้แทน
ราษฎร และนายบุญชง วีสมหมาย รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่สอง ขึ้นบัลลังก์
จากนั้น ประธานสภาผู้แทนราษฎรกล่าวเปิดประชุมและได้แจ้งให้ที่ประชุม
รับทราบเรื่องต่าง ๆ ตามลำดับ คือ
๑. เรื่อง สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรีแจ้งเหตุขัดข้องที่นายกรัฐมนตรี
ไม่สามารถพิจารณาให้คำรับรองร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินได้จำนวน
๗ ฉบับ คือ
(๑) ร่างพระราชบัญญัติการกีฬาและกิจการเยาวชน พ.ศ. ….
ซึ่ง นายเปรมศักดิ์ เพียยุระ และนายรณฤทธิชัย คานเขต เป็นผู้เสนอ
(๒) ร่างพระราชบัญญัติโอนอำนาจหน้าที่และกิจการบริหารบางส่วน
ของสำนักนายกรัฐมนตรีและกระทรวงศึกษาธิการไปเป็นของกระทรวงกีฬาและ
กิจการเยาวชน พ.ศ. …. ซึ่ง นายเปรมศักดิ์ เพียยุระ และนายรณฤทธิชัย คานเขต
เป็นผู้เสนอ
(๓) ร่างพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการครูการกีฬา พ.ศ. ….
ซึ่ง นายเปรมศักดิ์ เพียยุระ และนายรณฤทธิชัย คานเขต เป็นผู้เสนอ
(๔) ร่างพระราชบัญญัติสวนป่า (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง
นายตรีพล เจาะจิตต์ กับคณะ เป็นผู้เสนอ
(๕) ร่างพระราชบัญญัติสภาเกษตรกรแห่งชาติ พ.ศ. ….
ซึ่ง นายตรีพล เจาะจิตต์ กับคณะ เป็นผู้เสนอ
(๖) ร่างพระราชบัญญัติการกีฬาแห่งประเทศไทย (ฉบับที่ ..)
พ.ศ. …. ซึ่ง นายภิญโญ นิโรจน์ และนายวิทยา คุณปลื้ม เป็นผู้เสนอ
(๗) ร่างพระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ. .... ซึ่ง นายประสิทธิ์
ชัยวิรัตนะ กับคณะ เป็นผู้เสนอ
๒. เรื่อง การนำร่างพระราชบัญญัติของสมาชิกสภาผู้แทนราษฎร
ออกจากระเบียบวาระการประชุม ตามข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร
พ.ศ. ๒๕๔๔ ข้อ ๕๗ จำนวน ๒ ฉบับ คือ
(๑) ร่างพระราชบัญญัติสภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
พ.ศ. .... ซึ่ง นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์ และนายชาญชัย ชวลิตนิติธรรม เป็นผู้เสนอ
(๒) ร่างพระราชบัญญัติการเลือกตั้งสมาชิกสภาท้องถิ่นหรือผู้บริหาร
ท้องถิ่น พ.ศ. …. ซึ่ง นายสมชาย สหชัยรุ่งเรือง และนายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์
เป็นผู้เสนอ
ที่ประชุมรับทราบ
ต่อจากนั้น ประธานสภาผู้แทนราษฎรได้เสนอให้ที่ประชุมพิจารณา
ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องที่คณะกรรมาธิการพิจารณาเสร็จแล้ว ตามลำดับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติเชื้อโรคและพิษจากสัตว์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระที่ ๔.๑)
๒. ร่างพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตำบลท่าม่วง
ตำบลทุ่งทอง อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี และตำบลทุ่งบัว ตำบลกำแพงแสน
ตำบลดอนข่อย อำเภอกำแพงแสน ตำบลลำลูกบัว อำเภอดอนตูม ตำบลดอนตูม
ตำบลบางเลน อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม พ.ศ. …. ซึ่งคณะกรรมาธิการวิสามัญ
พิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระที่ ๔.๒)
๓. ร่างพระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. …. ซึ่ง
คณะกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาเสร็จแล้ว (ในระเบียบวาระที่ ๔.๓)
ที่ประชุมได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๓ ฉบับ ในวาระที่ ๒
ทีละฉบับ ตามลำดับ โดยเริ่มต้นด้วยชื่อร่าง คำปรารภ แล้วเรียงตามลำดับมาตรา
จนจบร่าง และได้ลงมติเห็นชอบในวาระที่ ๓ ทั้ง ๓ ฉบับ ทีละฉบับ ตามลำดับ
เพื่อเสนอให้วุฒิสภาพิจารณาต่อไปตามรัฐธรรมนูญฯ ทั้งนี้ ที่ประชุมได้ลงมติเห็นชอบ
กับข้อสังเกตของคณะกรรมาธิการที่พิจารณาร่างพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์
ในท้องที่ตำบลท่าม่วง ตำบลทุ่งทอง อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี และ
ตำบลทุ่งบัว ตำบลกำแพงแสน ตำบลดอนข่อย อำเภอกำแพงแสน ตำบลลำลูกบัว
อำเภอดอนตูม ตำบลดอนตูม ตำบลบางเลน อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม
พ.ศ. …. เพื่อแจ้งไปยังคณะรัฐมนตรีด้วย
หลังจากนั้น ประธานสภาผู้แทนราษฎรได้เสนอให้ที่ประชุม
พิจารณาระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑ คือ พิจารณาร่างพระราชบัญญัติที่รัฐสภามีมติ
เห็นชอบให้พิจารณาต่อไปตามมาตรา ๑๗๘ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
(ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑)
๑.๑ ร่างพระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. ….
(ค้างอยู่ระหว่างการพิจารณาของคณะกรรมาธิการของสภาผู้แทนราษฎรชุดที่แล้ว)
ที่ประชุมได้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญขึ้นใหม่มีจำนวน ๓๕ คน
เพื่อพิจารณา ตามข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๔๔ ข้อ ๑๒๕
วรรคสอง คณะกรรมาธิการประกอบด้วย
๑. นายชัยวัฒน์ วงศ์วัฒนศานต์ ๒. รองศาสตราจารย์สุธีร์ ศุภนิตย์
๓. นายอนุวัฒน์ ธรมธัช ๔. นายชูชัย ศุภวงศ์
๕. พลตำรวจเอก ประจิต แสงสุบิน ๖. นายปิยะณัฐ วัชราภรณ์
๗. นายสุขุมพงศ์ โง่นคำ ๘. นายวีระชัย วีระเมธีกุล
๙. นายรุ่งเรือง พิทยศิริ ๑๐. นายอริสมันต์ พงศ์เรืองรอง
๑๑. นายปกิต พัฒนกุล ๑๒. นายสุพล ฟองงาม
๑๓. นายบุญลือ ประเสริฐโสภา ๑๔. นายระวัง เนตรโพธิ์แก้ว
๑๕. นายพินิจ จันทร์สมบูรณ์ ๑๖. นายพายัพ ปั้นเกตุ
๑๗. นายนิยม วรปัญญา ๑๘. นายไพโรจน์ โล่ห์สุนทร
๑๙. นางสาวชรินรัตน์ พุทธปวน ๒๐. พันตำรวจโท ไวพจน์ อาภรณ์รัตน์
๒๑. นายสุวรรณ กู้สุจริต ๒๒. นายพุทธิพงษ์ ปุณณกันต์
๒๓. นายพรวุฒิ สารสิน ๒๔. นายธนญ ตันติสุนทร
๒๕. นายชัยวุฒิ ธนาคมานุสรณ์ ๒๖. นายเรวัต สิรินุกุล
๒๗. นายปรีชา สุวรรณทัต ๒๘. นายสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล
๒๙. นายสวัสดิ์ หอรุ่งเรือง ๓๐. นายธรรมา ปิ่นสุกาญจนะ
๓๑. นายสุลัยมาลย์ วงษ์พานิช ๓๒. นายทวีวัฒน์ ฤทธิ์ฤาชัย
๓๓. นายสมชัย ฉัตรพัฒนศิริ ๓๔. ร้อยตรีวิชัย จิตรพิทักษ์เลิศ
๓๕. นายไชยา พรหมา
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๑.๒ ร่างพระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ. …. (ค้างอยู่ระหว่าง
การพิจารณาของคณะกรรมาธิการของสภาผู้แทนราษฎรชุดที่แล้ว)
ที่ประชุมได้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญขึ้นใหม่ จำนวน ๓๕ คน
เพื่อพิจารณา แต่เนื่องจากมีร่างพระราชบัญญัติฯ ซึ่งผู้มีสิทธิเลือกตั้งร่วมกันเข้าชื่อเสนอ
กฎหมายรวมพิจารณาอยู่ด้วย (ในสภาผู้แทนราษฎรชุดที่แล้วมีผู้เสนอ จำนวน ๖ ฉบับ
คือ ฉบับของคณะรัฐมนตรี, ฉบับของนายประกิจ พลเดช และนายมนตรี
ด่านไพบูลย์, ฉบับของนายตรีพล เจาะจิตต์ กับคณะ, ฉบับของนายสุรสิทธิ์
นิติวุฒิวรรักษ์ และนายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ, ฉบับของนายบุญช่วย ภู่จีนาพันธุ์
กับคณะ และฉบับของผู้มีสิทธิเลือกตั้ง จำนวน ๕๒,๖๙๘ คน เป็นผู้เสนอ)
ประธานสภาผู้แทนราษฎรจึงได้กำหนดให้มีตัวแทนของผู้เข้าชื่อเสนอกฎหมายจำนวน
๘ คน ประกอบเป็นคณะกรรมาธิการเพื่อพิจารณาด้วย ตามข้อบังคับการประชุมสภา
ผู้แทนราษฎร พ.ศ. ๒๕๔๔ ข้อ ๑๒๔ และข้อ ๑๒๕ วรรคสอง โดยใช้ร่างพระราช
บัญญัติของคณะรัฐมนตรีชุดที่แล้วเป็นหลักในการพิจารณา คณะกรรมาธิการประกอบ
ด้วย
๑. นายประพัฒน์ ปัญญาชาติรักษ์ ๒. นางสาวพวงเพชร สารคุณ
๓. นายวิสูตร สมนึก ๔. นายชัยพันธุ์ ประภาสะวัต
๕. นางสาวศยามล ไกรยูรวงศ์ ๖. นายไพโรจน์ พลเพชร
๗. นายอานันท์ กาญจนพันธุ์ ๘. นายอนันต์ ดวงแก้วเรือน
๙. นายเพิ่มศักดิ์ มกราภิรมย์ ๑๐. นายสุรพล ดวงแข
๑๑. นายเลื่อน ศรีสุโพธิ์ ๑๒. นายทวีศิลป์ ศรีเรือง
๑๓. นายจันทร์โชติ ภู่ศิลป์ ๑๔. นายสุรพล เกียรติไชยากร
๑๕. นายวุฒิพงศ์ ฉายแสง ๑๖. นายประกิจ พลเดช
๑๗. นายอิทธิรัตน์ จันทรสุรินทร์ ๑๘. นายเมธี ฉัตรจินดารัตน์
๑๙. นางสาวอรุณี ชำนาญยา ๒๐. นายฐานิสร์ เทียนทอง
๒๑. นายกฤษฎา บุญชัย ๒๒. นายภาคภูมิ วิธานติรวัฒน์
๒๓. นางมุกดา พงษ์สมบัติ ๒๔. นายเดโช ไชยทัพ
๒๕. นายนริศ ขำนุรักษ์ ๒๖. นายสืบแสง พรหมบุญ
๒๗. นายตรีพล เจาะจิตต์ ๒๘. คุณหญิงกัลยา โสภณพนิช
๒๙. นายเจะอามิง โตะตาหยง ๓๐. นายยงยุทธ สุวภาพ
๓๑. นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ ๓๒. นายประเทือง วิจารณ์ปรีชา
๓๓. นายนิสิต สินธุไพร ๓๔. นายประสิทธิ์ ชัยวิรัตนะ
๓๕. นายสุรชาติ ชำนาญศิลป์
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
ต่อมา ได้มีสมาชิกเสนอญัตติขอเปลี่ยนระเบียบวาระการประชุม
โดยขอให้นำระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๒, ๓ และ ๔ ขึ้นมาพิจารณาก่อน ตามลำดับ
ซึ่งที่ประชุมเห็นชอบ
ประธานสภาผู้แทนราษฎรจึงได้เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาระเบียบวาระ
เรื่องด่วน ตามที่ที่ประชุมมีมติ ตามลำดับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๒)
เมื่อรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข ได้แถลงหลักการและ
เหตุผล มีสมาชิกอภิปราย โดยมีรองประธานสภาผู้แทนราษฎรทั้งสองผลัดเปลี่ยนกัน
ดำเนินการประชุม รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงสาธารณสุข
ตอบชี้แจงจนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑
รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ
จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายกิตติ ลิ้มชัยกิจ ๒. นายชัยวัฒน์ วงศ์วัฒนศานต์
๓. นายวิชัย โชควิวัฒน์ ๔. นางสาวอรวรรณ คุณเงิน
๕. นายวิโรจน์ สุ่มใหญ่ ๖. หม่อมราชวงศ์ดำรงดิศ ดิศกุล
๗. นายสุธา ชันแสง ๘. นาวาอากาศตรี ศิธา ทิวารี
๙. นายภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ ๑๐. นายปกิต พัฒนกุล
๑๑. นายวิชิต ปลั่งศรีสกุล ๑๒. นายสุชาติ บรรดาศักดิ์
๑๓. นายสุวัฒน์ วรรณศิริกุล ๑๔. นายดนัยฤทธิ์ วัชราภรณ์
๑๕. นายศิริ หวังบุญเกิด ๑๖. นายวีระพล อดิเรกสาร
๑๗. พันตำรวจโท บรรยิน ตั้งภาภรณ์ ๑๘. นายวิทยา ทรงคำ
๑๙. นายสงวน พงษ์มณี ๒๐. นายสมบูรณ์ วันไชยธนวงศ์
๒๑. นายสุทัศน์ เงินหมื่น ๒๒. นางนิภา พริ้งศุลกะ
๒๓. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค ๒๔. พลตำรวจโท วรรณรัตน์ คชรักษ์
๒๕. นายนคร มาฉิม ๒๖. นายเจือ ราชสีห์
๒๗. นายมาโนชญ์ วิชัยกุล ๒๘. นายสุรเชษฐ์ แวอาแซ
๒๙. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ ๓๐. นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์
๓๑. ศาสตราจารย์ลิขิต ธีรเวคิน ๓๒. นายสุทธิชัย จันทร์อารักษ์
๓๓. นายธวัชชัย อนามพงษ์ ๓๔. พันตำรวจเอก พณาเจือเพ็ชร์ กฤษณะราช
๓๕. นายปรีชา เร่งสมบูรณ์สุข
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๒. ร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ฉบับที่ ..)
พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๓) โดยผู้ปฏิบัติ
หน้าที่แทนประธานสภาผู้แทนราษฎรได้ปรึกษาที่ประชุมเพื่อขอนำร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก ๒ ฉบับ
ขึ้นมาพิจารณารวมกันไป ซึ่งที่ประชุมเห็นชอบ คือ
(๑) ร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง คุณสามารถ แก้วมีชัย กับคณะ เป็นผู้เสนอ (ยังมิได้บรรจุ
ระเบียบวาระ)
(๒) ร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามยาเสพติด
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง คุณวัฒนา เซ่งไพเราะ กับคณะ เป็นผู้เสนอ (ยังมิได้บรรจุ
ระเบียบวาระ)
เมื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงมหาดไทย และผู้เสนอ ได้แถลงหลักการ
และเหตุผล ตามลำดับ มีสมาชิกฯ อภิปราย โดยมีรองประธานสภาผู้แทนราษฎร
ทั้งสองผลัดเปลี่ยนกันดำเนินการประชุม ภายหลังสมาชิกฯ อภิปราย รัฐมนตรี
ว่าการกระทรวงมหาดไทย ตอบชี้แจงจนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติ
ในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๓ ฉบับพร้อมกันไปและมีมติ
ให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา โดยถือเอาร่างของ
คณะรัฐมนตรีเป็นหลักในการพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายอภัย จันทนจุลกะ ๒. นายกมล บุญวานิช
๓. นายชัยวัฒน์ วงศ์วัฒนศานต์ ๔. นายกิตติ ลิ้มชัยกิจ
๕. พลตำรวจโท เพรียวพันธ์ ดามาพงศ์ ๖. นายวัฒนา เซ่งไพเราะ
๗. นายอนุสรณ์ ปั้นทอง ๘. นายเจริญ จรรย์โกมล
๙. นายอุดมเดช รัตนเสถียร ๑๐. นายยงยศ อดิเรกสาร
๑๑. นายประมวล รุจนเสรี ๑๒. นายอรรถพล มามะ
๑๓. นายณัฐพล เกียรติวินัยสกุล ๑๔. นายเสริมศักดิ์ การุญ
๑๕. นายสุพจน์ ฤชุพันธุ์ ๑๖. นายศุภชัย ใจสมุทร
๑๗. นายจักรพันธุ์ ยมจินดา ๑๘. นายสามารถ แก้วมีชัย
๑๙. นายไพศาล จันทรภักดี ๒๐. นายสนั่น สบายเมือง
๒๑. นายอภิชาต การิกาญจน์ ๒๒. พันตำรวจโท เจ๊ะอิสมาแอ เจ๊ะโมง
๒๓. นายสมมารถ เจ๊ะนา ๒๔. นายสุพัฒน์ ธรรมเพชร
๒๕. นายอาคม เอ่งฉ้วน ๒๖. คุณหญิงจรัสศรี ทีปิรัช
๒๗. พลตำรวจโท วรรณรัตน์ คชรักษ์ ๒๘. นายนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ
๒๙. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ ๓๐. นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์
๓๑. นายรณฤทธิชัย คานเขต ๓๒. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง
๓๓. นายธวัชชัย อนามพงษ์ ๓๔. พันตำรวจเอก พณาเจือเพ็ชร์ กฤษณะราช
๓๕. นายสานิต ว่องสัธนพงษ์
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๓. ร่างพระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. ….
ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๔)
เมื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ได้แถลงหลักการและเหตุผล
มีสมาชิก ฯ อภิปราย รัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม ตอบชี้แจงจนได้เวลา
พอสมควรแล้วที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ
ฉบับนี้ และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา
คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายสมชาย วงศ์สวัสดิ์ ๒. นายบัณฑิต รชตะนันทน์
๓. นายจรัล บูรณพันธุ์ศรี ๔. นายชัยวัฒน์ วงศ์วัฒนศานต์
๕. นายยงยุทธ วงศ์ภิรมย์ศานติ์ ๖. นายพฤฒิชัย ดำรงรัตน์
๗. นายเอนก หุตังคบดี ๘. นายประชา ประสพดี
๙. นายชูวิทย์ พิทักษ์พรพัลลภ ๑๐. นายสิทธิชัย โควสุรัตน์
๑๑. นางกรรณิกา ธรรมเกษร ๑๒. นายทองหล่อ พลโคตร
๑๓. นายพิษณุ พลไวย์ ๑๔. นายอริสมันต์ พงศ์เรืองรอง
๑๕. นายภูมินทร์ ลีธีระประเสริฐ ๑๖. นางพิชญ์สินี มุ่งฝากกลาง
๑๗. นายพรศักดิ์ เปี่ยมคล้า ๑๘. นางสาวกฤษณา สีหลักษณ์
๑๙. นายสุวัฒน์ ม่วงศิริ ๒๐. นายสัญชัย วงษ์สุนทร
๒๑. นางพรพิชญ์ พัฒนกุลเลิศ ๒๒. นายสุทัศน์ เงินหมื่น
๒๓. นายปัญญา จีนาคำ ๒๔. นายวินัย เสนเนียม
๒๕. นายสนั่น สุธากุล ๒๖. นายสมบูรณ์ อุทัยเวียนกุล
๒๗. นายสมเกียรติ ฉันทวานิช ๒๘. นายสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์
๒๙. นายชูวงศ์ ฉายะบุตร ๓๐. นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์
๓๑. นายอารีเพ็ญ อุตรสินธุ์ ๓๒. นายชวลิต วิชยสุทธิ์
๓๓. นายธวัชชัย อนามพงษ์ ๓๔. พันตำรวจเอก พณาเจือเพ็ชร์ กฤษณะราช
๓๕. นายบุญเติม จันทะวัฒน์
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
เลิกประชุมเวลา ๒๒.๔๕ นาฬิกา
(นางศิริลักษณ์ ปั้นบำรุงกิจ)
เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
ฝ่ายรายงานการประชุม
กองการประชุม
โทร. ๒๔๔๑๑๑๕-๖
โทรสาร ๒๔๔๑๑๑๕-๖
สรุปผลการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
เห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติ จำนวน ๓ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติเชื้อโรคและพิษจากสัตว์ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
๒. ร่างพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ในท้องที่ตำบลท่าม่วง ตำบลทุ่งทอง
อำเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี และตำบลทุ่งบัว ตำบลกำแพงแสน ตำบลดอนข่อย อำเภอกำแพงแสน
ตำบลลำลูกบัว อำเภอดอนตูม ตำบลดอนตูม ตำบลบางเลน อำเภอบางเลน จังหวัดนครปฐม พ.ศ. ….
๓. ร่างพระราชบัญญัติการทำงานของคนต่างด้าว พ.ศ. ….
ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติที่รัฐสภามีมติเห็นชอบ
จำนวน ๒ ฉบับ คือ
๑ ร่างพระราชบัญญัติขายตรงและตลาดแบบตรง พ.ศ. ….
๒. ร่างพระราชบัญญัติป่าชุมชน พ.ศ. …. (รวมผู้เสนอ ๖ ฉบับ)
รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ จำนวน ๕ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติยาเสพติดให้โทษ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
๒. ร่างพระราชบัญญัติป้องกันและปราบปรามยาเสพติด (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
(รวมผู้เสนอ ๓ ฉบับ)
๓. ร่างพระราชบัญญัติฟื้นฟูสมรรถภาพผู้ติดยาเสพติด พ.ศ. ….
*************************