1. สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาภายในประเทศไม่มีรายงาน
สำหรับราคาที่เกษตรกรขายได้สัปดาห์นี้ มีดังนี้
1. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 24.35 บาท สูงขึ้นจาก 24.08 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.27 บาท หรือร้อยละ 1.12
2. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 2 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.89 บาท สูงขึ้นจาก 23.62 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.27 บาท หรือร้อยละ 1.14
3. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.24 บาท สูงขึ้นจาก 23.04 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.20 บาท หรือร้อยละ 0.87
4. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 4 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.85 บาท สูงขึ้นจาก 22.63 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.22 บาท หรือร้อยละ 0.97
5. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 5 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.52 บาท สูงขึ้นจาก 22.32 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.20 บาท หรือร้อยละ 0.90
6. ยางแผ่นดิบคละราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.34 บาท สูงขึ้นจาก 23.06 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.28 บาท หรือร้อยละ 1.21
7. ยางก้อนคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 11.48 บาท สูงขึ้นจาก 11.10 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.38 บาท หรือร้อยละ 3.42
8. เศษยางคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.14 บาท สูงขึ้นจาก 8.90 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.24 บาท หรือร้อยละ 2.709. น้ำยางข้นคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 20.94 บาท สูงขึ้นจาก 20.59 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.35 บาท หรือร้อยละ 1.70
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ซื้อขายล่วงหน้าส่งมอบเดือนพฤศจิกายน 2543
ณ ท่าเรือกรุงเทพ 1. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท สูงขึ้นจาก 29.75 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.25 บาท หรือร้อยละ 0.84 2. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.85 บาท สูงขึ้นจาก 28.60 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.25 บาท หรือร้อยละ 0.87
3. น้ำยางข้นราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.45 บาท สูงขึ้นจาก 23.26 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.19 บาท หรือร้อยละ 0.82
ณ ท่าเรือสงขลา
1. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.75 บาท สูงขึ้นจาก 29.50 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.25 บาท หรือร้อยละ 0.85
2. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.60 บาท สูงขึ้นจาก 28.33 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.25 บาท หรือร้อยละ 0.88
3. น้ำยางข้นราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.20 บาท สูงขึ้นจาก 23.01 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.19 บาท หรือร้อยละ 0.83
2. สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาในตลาดโลก การกำหนดราคาขายยาง ยังไม่มีข้อยุติ
จากการประชุมร่วมกันระหว่างผู้ส่งออกยางของประเทศไทย อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ซึ่งผลผลิตยางของทั้ง 3 ประเทศดังกล่าว รวมกันประมาณ 4.5 ล้านตัน หรือร้อยละ 80 ของผลผลิตโลก ณ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เพื่อพิจารณากำหนดราคายางขั้นต่ำที่จะปล่อยจากสต๊อก เมื่อวันพุธที่ 18 ตุลาคมที่ผ่านมา ยังไม่สามรถหาข้อสรุปเรื่องราคาเสนอขายยางขั้นต่ำที่จะช่วยยกระดับราคายางในตลาดโลกได้ โดยผู้ส่งออกของไทย เสนอให้กำหนดราคายาง TSR ที่ระดับกิโลกรัมละ 65 เซนต์ ขณะที่อินโดนีเซียเสนอที่ระดับ 62-63 เซนต์ และมาเลเซียเสนอที่ 70 เซนต์ โดยอ้างว่าต้นทุนการผลิตสูง อย่างไรก็ตามท่าทีของรัฐบาลทั้ง 3 ประเทศ ในระยะ 2-3 เดือนที่ผ่านมา เห็นพ้องต้องกันให้มีการขายยางในตลาดโลกเป็นราคาเดียวกัน นอกจากนั้น เพื่อเป็นการยกระดับราคายางในตลาดโลกให้สูงขึ้น ผู้ส่งออกไทยเห็นว่ารัฐบาลควรเข้าแทรกแซงโดยการสนับสนุนเงินทุนแก่ผู้ส่งออก ให้สามารถเก็บสต๊อกยางให้นานเพื่อรอให้ราคาสูง และไม่ปล่อยขายในช่วงราคาต่ำ ผู้ส่งออกอินโดนีเซียมีความเห็นว่า แต่ละประเทศควรกำหนดปริมาณการส่งออกยาง เพื่อลดปริมาณผลผลิตยางในตลาดโลก ในขณะที่มาเลเซียเห็นว่าไม่ควรทำสัญญาซื้อขายล่วงหน้าที่ส่งมอบเกินกว่า 3 เดือน ซึ่งในเรื่องนี้ผู้ส่งออกไทยไม่เห็นด้วย เพราะการซื้อขายส่วนใหญ่จะทำสัญญาส่งมอบล่วงหน้าภายใน 6 เดือน อย่างไรก็ตาม ท่าทีจากการประชุมดังกล่าวจะมีการเสนอเข้าที่ประชุมระดับรัฐมนตรีของทั้ง 3 ประเทศ อีกครั้ง ซึ่งจะมีการประชุมในเดือนถัดไป
ความเคลื่อนไหวของราคายางประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาแจ้งสถานการณ์ตลาดของ INRO
ราคาซื้อขายเฉลี่ยประจำวันของยางแผ่นรมควันชั้น 1 ยางแผ่นรมควันชั้น 3 และยางแท่งชั้น 20 ในตลาดกัวลาลัมเปอร์ ตลาดลอนดอน ตลาดนิวยอร์คและตลาดสิงคโปร์ (DMIP) เฉลี่ยกิโลกรัมละ 113.86 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ (20.40 บาท) ลดลงจาก 114.91 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ (20.32 บาท) ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.05 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ หรือร้อยละ 0.91ราคาซื้อขายเฉลี่ย 5 วัน ของยางแผ่นรมควันชั้น 1 ยางแผ่นรมควันชั้น 3 และยางแท่งชั้น 20 ในตลาดกัวลาลัมเปอร์ ตลาดลอนดอน ตลาดนิวยอร์คและตลาดสิงคโปร์ (DMIP)เฉลี่ยกิโลกรัมละ 114.20 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ (20.46 บาท) ลดลงจาก 114.74 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ (20.29 บาท) ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.54 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ หรือร้อยละ 0.47
ราคาต่างประเทศซื้อขายล่วงหน้า ส่งมอบเดือนพฤศจิกายน 2543
ยางแผ่นรมควันชั้น 1
ตลาดสิงคโปร์เสนอซื้อล่วงหน้า เฉลี่ยโลกรัมละ 116.75 เซนต์สิงคโปร์ (28.66 บาท) ลดลงจาก 117.88 เซนต์สิงคโปร์ (28.61 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.13 เซนต์สิงคโปร์ หรือ ร้อยละ 0.96
ตลาดมาเลเซียเสนอซื้อล่วงหน้า เฉลี่ยกิโลกรัมละ 258.38 เซนต์มาเลเซีย (29.18 บาท) ลดลงจาก 261.75 เซนต์มาเลเซีย (29.06 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 3.37 เซนต์มาเลเซีย หรือร้อยละ 1.29
ตลาดลอนดอนเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 54.50 เพนนี (34.05 บาท) บาท ลดลงจาก 55.06 เพนนี (34.08 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.56 เพนนี หรือร้อยละ 1.02ยางแผ่นรมควันชั้น 3 ตลาดสิงคโปร์เสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 65.88 เซนต์สหรัฐฯ (28.50 บาท) ลดลงจาก 66.88 เซนต์สหรัฐฯ (28.56 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.00 เซนต์สหรัฐฯ หรือร้อยละ 1.50ตลาดมาเลเซียเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 245.88 เซนต์มาเลเซีย (27.77 บาท) ลดลงจาก 249.25 เซนต์มาเลเซีย (27.67 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 3.37 เซนต์มาเลเซียหรือร้อยละ 1.35
ตลาดลอนดอนเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 52.75 เพนนี (32.95 บาท) ลดลงจาก 53.31 เพนนี (32.99 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.56 เพนนี หรือร้อยละ 1.05
ตลาดโตเกียวเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 85.15 เยน (33.99 บาท) สูงขึ้นจาก 85.03 เยน (33.36 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.12 เยน หรือร้อยละ 0.14
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 41 ประจำวันที่ 16-22 ต.ค. 2543--
-สส-
สำหรับราคาที่เกษตรกรขายได้สัปดาห์นี้ มีดังนี้
1. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 24.35 บาท สูงขึ้นจาก 24.08 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.27 บาท หรือร้อยละ 1.12
2. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 2 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.89 บาท สูงขึ้นจาก 23.62 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.27 บาท หรือร้อยละ 1.14
3. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.24 บาท สูงขึ้นจาก 23.04 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.20 บาท หรือร้อยละ 0.87
4. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 4 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.85 บาท สูงขึ้นจาก 22.63 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.22 บาท หรือร้อยละ 0.97
5. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 5 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.52 บาท สูงขึ้นจาก 22.32 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.20 บาท หรือร้อยละ 0.90
6. ยางแผ่นดิบคละราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.34 บาท สูงขึ้นจาก 23.06 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.28 บาท หรือร้อยละ 1.21
7. ยางก้อนคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 11.48 บาท สูงขึ้นจาก 11.10 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.38 บาท หรือร้อยละ 3.42
8. เศษยางคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.14 บาท สูงขึ้นจาก 8.90 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.24 บาท หรือร้อยละ 2.709. น้ำยางข้นคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 20.94 บาท สูงขึ้นจาก 20.59 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.35 บาท หรือร้อยละ 1.70
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ซื้อขายล่วงหน้าส่งมอบเดือนพฤศจิกายน 2543
ณ ท่าเรือกรุงเทพ 1. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.00 บาท สูงขึ้นจาก 29.75 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.25 บาท หรือร้อยละ 0.84 2. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.85 บาท สูงขึ้นจาก 28.60 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.25 บาท หรือร้อยละ 0.87
3. น้ำยางข้นราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.45 บาท สูงขึ้นจาก 23.26 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.19 บาท หรือร้อยละ 0.82
ณ ท่าเรือสงขลา
1. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.75 บาท สูงขึ้นจาก 29.50 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.25 บาท หรือร้อยละ 0.85
2. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.60 บาท สูงขึ้นจาก 28.33 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.25 บาท หรือร้อยละ 0.88
3. น้ำยางข้นราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.20 บาท สูงขึ้นจาก 23.01 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.19 บาท หรือร้อยละ 0.83
2. สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาในตลาดโลก การกำหนดราคาขายยาง ยังไม่มีข้อยุติ
จากการประชุมร่วมกันระหว่างผู้ส่งออกยางของประเทศไทย อินโดนีเซีย และมาเลเซีย ซึ่งผลผลิตยางของทั้ง 3 ประเทศดังกล่าว รวมกันประมาณ 4.5 ล้านตัน หรือร้อยละ 80 ของผลผลิตโลก ณ อำเภอหาดใหญ่ จังหวัดสงขลา เพื่อพิจารณากำหนดราคายางขั้นต่ำที่จะปล่อยจากสต๊อก เมื่อวันพุธที่ 18 ตุลาคมที่ผ่านมา ยังไม่สามรถหาข้อสรุปเรื่องราคาเสนอขายยางขั้นต่ำที่จะช่วยยกระดับราคายางในตลาดโลกได้ โดยผู้ส่งออกของไทย เสนอให้กำหนดราคายาง TSR ที่ระดับกิโลกรัมละ 65 เซนต์ ขณะที่อินโดนีเซียเสนอที่ระดับ 62-63 เซนต์ และมาเลเซียเสนอที่ 70 เซนต์ โดยอ้างว่าต้นทุนการผลิตสูง อย่างไรก็ตามท่าทีของรัฐบาลทั้ง 3 ประเทศ ในระยะ 2-3 เดือนที่ผ่านมา เห็นพ้องต้องกันให้มีการขายยางในตลาดโลกเป็นราคาเดียวกัน นอกจากนั้น เพื่อเป็นการยกระดับราคายางในตลาดโลกให้สูงขึ้น ผู้ส่งออกไทยเห็นว่ารัฐบาลควรเข้าแทรกแซงโดยการสนับสนุนเงินทุนแก่ผู้ส่งออก ให้สามารถเก็บสต๊อกยางให้นานเพื่อรอให้ราคาสูง และไม่ปล่อยขายในช่วงราคาต่ำ ผู้ส่งออกอินโดนีเซียมีความเห็นว่า แต่ละประเทศควรกำหนดปริมาณการส่งออกยาง เพื่อลดปริมาณผลผลิตยางในตลาดโลก ในขณะที่มาเลเซียเห็นว่าไม่ควรทำสัญญาซื้อขายล่วงหน้าที่ส่งมอบเกินกว่า 3 เดือน ซึ่งในเรื่องนี้ผู้ส่งออกไทยไม่เห็นด้วย เพราะการซื้อขายส่วนใหญ่จะทำสัญญาส่งมอบล่วงหน้าภายใน 6 เดือน อย่างไรก็ตาม ท่าทีจากการประชุมดังกล่าวจะมีการเสนอเข้าที่ประชุมระดับรัฐมนตรีของทั้ง 3 ประเทศ อีกครั้ง ซึ่งจะมีการประชุมในเดือนถัดไป
ความเคลื่อนไหวของราคายางประจำสัปดาห์ มีดังนี้
ราคาแจ้งสถานการณ์ตลาดของ INRO
ราคาซื้อขายเฉลี่ยประจำวันของยางแผ่นรมควันชั้น 1 ยางแผ่นรมควันชั้น 3 และยางแท่งชั้น 20 ในตลาดกัวลาลัมเปอร์ ตลาดลอนดอน ตลาดนิวยอร์คและตลาดสิงคโปร์ (DMIP) เฉลี่ยกิโลกรัมละ 113.86 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ (20.40 บาท) ลดลงจาก 114.91 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ (20.32 บาท) ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.05 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ หรือร้อยละ 0.91ราคาซื้อขายเฉลี่ย 5 วัน ของยางแผ่นรมควันชั้น 1 ยางแผ่นรมควันชั้น 3 และยางแท่งชั้น 20 ในตลาดกัวลาลัมเปอร์ ตลาดลอนดอน ตลาดนิวยอร์คและตลาดสิงคโปร์ (DMIP)เฉลี่ยกิโลกรัมละ 114.20 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ (20.46 บาท) ลดลงจาก 114.74 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ (20.29 บาท) ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.54 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ หรือร้อยละ 0.47
ราคาต่างประเทศซื้อขายล่วงหน้า ส่งมอบเดือนพฤศจิกายน 2543
ยางแผ่นรมควันชั้น 1
ตลาดสิงคโปร์เสนอซื้อล่วงหน้า เฉลี่ยโลกรัมละ 116.75 เซนต์สิงคโปร์ (28.66 บาท) ลดลงจาก 117.88 เซนต์สิงคโปร์ (28.61 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.13 เซนต์สิงคโปร์ หรือ ร้อยละ 0.96
ตลาดมาเลเซียเสนอซื้อล่วงหน้า เฉลี่ยกิโลกรัมละ 258.38 เซนต์มาเลเซีย (29.18 บาท) ลดลงจาก 261.75 เซนต์มาเลเซีย (29.06 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 3.37 เซนต์มาเลเซีย หรือร้อยละ 1.29
ตลาดลอนดอนเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 54.50 เพนนี (34.05 บาท) บาท ลดลงจาก 55.06 เพนนี (34.08 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.56 เพนนี หรือร้อยละ 1.02ยางแผ่นรมควันชั้น 3 ตลาดสิงคโปร์เสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 65.88 เซนต์สหรัฐฯ (28.50 บาท) ลดลงจาก 66.88 เซนต์สหรัฐฯ (28.56 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.00 เซนต์สหรัฐฯ หรือร้อยละ 1.50ตลาดมาเลเซียเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 245.88 เซนต์มาเลเซีย (27.77 บาท) ลดลงจาก 249.25 เซนต์มาเลเซีย (27.67 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 3.37 เซนต์มาเลเซียหรือร้อยละ 1.35
ตลาดลอนดอนเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 52.75 เพนนี (32.95 บาท) ลดลงจาก 53.31 เพนนี (32.99 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.56 เพนนี หรือร้อยละ 1.05
ตลาดโตเกียวเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 85.15 เยน (33.99 บาท) สูงขึ้นจาก 85.03 เยน (33.36 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.12 เยน หรือร้อยละ 0.14
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 41 ประจำวันที่ 16-22 ต.ค. 2543--
-สส-