สินค้าเกษตร : ผลผลิตเพิ่มขึ้นเล็กน้อย
ราคาเพิ่มขึ้นต่อเนื่องจากเดือนก่อน
การผลิตพืชผล ผลผลิตพืชผลในเดือนกรกฎาคม 2544 ซึ่งเป็นช่วงปลายฤดูเก็บเกี่ยว เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.5 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน
ปีก่อนตามผลผลิตยางพารา ปาล์มน้ำมัน ผักและ ผลไม้ สำหรับราคาพืชผลในเดือนนี้ เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.0 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อนตาม
ภาวะการส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง โดยเฉพาะแป้งมัน ที่อยู่ในเกณฑ์ดี รวมทั้งราคาผักและผลไม้
ในช่วง 7 เดือนแรกของปี 2544 ผลผลิตพืชผลเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีก่อนร้อยละ 1.4 ผลผลิตที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ ข้าว ยางพารา
ปาล์มน้ำมัน ผักและผลไม้ เช่นเดียวกับราคาพืชผล ที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.5 ราคาพืชผลที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ ยางพารา มันสำปะหลัง และอ้อย
รายได้จากการขายพืชผลที่สำคัญของเกษตรกร ในเดือนกรกฎาคม 2544 เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีก่อนร้อยละ 9.5 ซึ่งเป็นผลจากการเพิ่ม
ขึ้นของราคาพืชผลเป็นสำคัญ เช่นเดียวกับในช่วง 7 เดือนแรกของปี 2544 รายได้จากการขายพืชผสำคัญของเกษตรกรเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.9
จากการเพิ่มขึ้นของผลผลิต พืชผล และราคาพืชผลที่เกษตรกรขายได้ ร้อยละ 1.4 และ 2.5 ตามลำดับ
การผลิตสัตว์น้ำ ปริมาณสัตว์น้ำขึ้นท่าในเดือนมิถุนายนและในช่วงครึ่งแรกของปี 2544 ลดลงจากช่วงเดียวกันปีก่อน ถึงร้อยละ
11.6 และ 9.5 ตามลำดับ เนื่องจากราคาน้ำมันดีเซล ที่เป็นต้นทุนสำคัญในการทำประมงยังคงอยู่ในระดับสูง ส่งผลให้ เรือเล็กจำนวน
มากหยุดทำการประมง กอปรกับประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งเป็นแหล่งทำประมงที่สำคัญของไทย ปรับเพิ่มค่าธรรมเนียมการทำประมง ส่งผลให้
ต้นทุนการทำประมงของไทยเพิ่มขึ้นมาก ราคาสินค้าเกษตรที่เกษตรกรขายได้ ในเดือน กรกฎาคม 2544 ดัชนีราคาสินค้าเกษตรรวม เพิ่มขึ้น
ร้อยละ 6 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ตามการเพิ่มขึ้นของราคาพืชผลและปศุสัตว์เกือบทุกชนิด ยกเว้น ข้าวและปาล์มน้ำมันที่ราคา ลดลงจาก
ช่วงเดียวกันปีก่อน ทั้งนี้ สินค้าเกษตรที่การส่งออก อยู่ในเกณฑ์ดี ได้แก่ ไก่เนื้อและมันสำปะหลัง ตามภาวะอุปสงค์ ที่เพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม
ราคากุ้งยังคงลดลงจากช่วงเดียวกัน ปีก่อนถึงร้อยละ 11.2 เนื่องจากการส่งออกกุ้งชะลอตัวลงตามภาวะอุปสงค์ของโลก ขณะที่อุปทานกุ้ง
ในตลาดโลกกำลังเพิ่มขึ้น เนื่องจากผู้ผลิตกุ้งในละตินอเมริกา เริ่มกลับเข้าสู่ตลาดอีกครั้ง หลังจากแก้ไขปัญหาโรคระบาดได้
ในช่วง 7 เดือนแรกของปี 2544 ผลจากการอ่อนตัวของ ค่าเงินบาท และการส่งออกที่อยู่ในเกณฑ์ดี เป็นปัจจัยบวกที่ ทำให้
ราคาสินค้าเกษตรที่เกษตรกรขายได้ของไทย เพิ่มขึ้น ร้อยละ 2.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน แม้ว่าราคาสินค้าเกษตรในตลาดโลกจะปรับตัว
ลดลงร้อยละ 1.3 จากเศรษฐกิจโลกถดถอย
ราคาสินค้าเกษตรในตลาดโลก (เฉพาะ 12 ชนิดสินค้า ที่มีผลกระทบต่อราคาสินค้าเกษตรของไทย) ในเดือนกรกฎาคม 2544
เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีก่อน ร้อยละ 2.9 เนื่องจากราคาสินค้าหลายชนิดปรับตัวดีขึ้น ตามอุปทานในตลาดโลกที่ลดลง
ราคาสินค้าเกษตรที่เกษตรกรขายได้ (หน่วย : บาท/ตัน)
2542 2543 2544
ทั้งปี H1 H2 ทั้งปี H1 มิ.ย. ก.ค. ม.ค.-ก.ค.
ดัชนีราคารวม* 111.6 106.4 108.8 107.6 109 112.3 113.1 109.6
(2538 =100)
D % -15.4 -7.5 0.6 -3.5 2.4 5.7 6 2.9
ดัชนีราคาพืชผล* 105.6 98.8 100.4 99.6 100.2 103.8 105.6 101
D % -19.8 -9.6 -1.3 -5.6 1.4 7.8 9 2.5
ข้าวเปลือกหอมมะลิ 6,892 7,073 7,626 7,349 5,992 5,573 5,559 5,930
D % -15.5 9.5 4.1 6.6 -15.3 -26.9 -31.3 -17.8
ข้าวเปลือกเจ้าชั้น 1 5,459 4,794 5,081 4,937 4,447 4,640 4,815 4,499
D % -18.2 -15.7 -2.9 -9.6 -7.2 -4 -5.5 -7
ยางพารา 17,930 21,010 21,960 21,480 22,400 24,340 22,600 22,430
D % -22.6 19.8 19.9 19.8 6.6 16.5 9.9 7.1
ข้าวโพด 4,214 4,740 3,787 4,263 3,912 4,030 3,890 3,908
D % -7.8 14.6 -11.8 1.2 -17.5 -8.2 0 -15.4
มันสำปะหลัง 770 640 610 620 750 990 1,060 800
D % -44.5 -24.6 -12.2 -19 18 41.4 60.6 24.3
ดัชนีราคาปศุสัตว์* 115.2 102.7 103.9 103.3 110.2 120.4 120.3 111.7
D % 2.4 -15.7 -4.4 -10.3 7.4 15.6 14.3 8.4
ดัชนีราคาปลาและ สัตว์น้ำ* 127.1 134.3 140.5 137.4 135.7 130.8 129.8 134.8
D % -16.2 6.4 9.8 8.1 1.1 -6.4 -6.7 -0.1
ดัชนีราคาป่าไม้* 97.1 100.9 104.7 102.8 103.8 103.4 103.4 103.7
D % -6.3 -21.3 -17.4 -19.4 2.9 -2.4 -2.4 2.1
D % อัตราเพิ่มจากระยะเดียวกันปีก่อน
หมายเหตุ : * ปรับปีฐานจากปี 2527 เป็นปี 2538
ที่มา : ดัชนีราคาสินค้าเกษตรที่เกษตรกรขายได้ คำนวณจากข้อมูลราคาสินค้าเกษตรของกระทรวงเกษตรฯ, กรมการค้าภายใน
กระทรวงพาณิชย์ และองค์การสะพานปลา
เครื่องชี้ภาวะสินค้าเกษตรกรรมที่สำคัญ
หน่วย : ล้านเมตริกตัน
2539/40 2540/41 2541/42 2542/43 2543/44 %การเปลี่ยน
แปลงจากปีก่อน
ผลผลิตภาคเกษตรของไทย1/
ข้าวเปลือก 22.07 23.34 23.24 24.17 25.29 4.6
นาปี 17.78 18.79 18.45 19.02 19.55 2.9
นาปรัง 4.29 4.55 4.79 5.16 5.74 11.2
ยางพารา 2.03 2.07 2.16 2.35 2.42 3
ข้าวโพด 3.97 3.83 4.77 4.29 4.4 2.6
มันสำปะหลัง 18.08 15.59 16.51 18.75 18.28 -2.5
อ้อย 58.98 45.85 52.84 53.49 48.65 -9.1
ถั่วเขียว 0.24 0.2 0.23 0.25 0.25 -
ถั่วเหลือง 0.36 0.34 0.32 0.32 0.33 3.1
ปาล์มน้ำมัน 2.69 2.68 2.46 3.51 3.25 -7.4
กาแฟ 0.08 0.08 0.05 0.08 0.09 12.5
ผลผลิตพืชผลสำคัญของโลก2/
ธัญพืชรวม
ผลผลิต 1,871.30 1,881.10 1,872.20 1,872.40 1,830.60 -2.2
การค้า 217.2 217 224.1 239.3 225.6 -5.7
ข้าว
ผลผลิต 380.4 386.6 394 408.2 395.5 -3.1
การค้า 18.8 27.3 25.1 22.9 22.3 -2.6
ข้าวโพด
ผลผลิต 592.2 576.1 605.5 606.5 584.9 -3.6
การค้า 66.4 62.9 68.4 73 71.9 -1.5
ถั่วเหลือง
ผลผลิต 132.2 158.1 159.8 159.9 172.1 7.6
การค้า 37.1 40.5 38.7 46.6 52.4 12.4
ยางพารา
ผลผลิต3/ 6.5 6.8 6.8 6.9 7.2 4.3
การค้า 6.5 6.5 6.7 7.3 7.3 0
หมายเหตุ : 1/ ตัวเลขประมาณการในเดือนมิถุนายน 2544
2/ ตัวเลขประมาณการในเดือนกรกฎาคม 2544
3/ ผลผลิตยางเป็นปีปฏิทิน t+1 เช่นปี 2543/44 คือยางปี 2544 ผลิตช่วงเดือนมกราคม 2544 - ธันวาคม 2544
ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร,สถาบันวิจัยยาง และสำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย
World Agricultural Supply and Demand, USDA. Grain : World Markets and Trade, July 2001
Rubber Statistical Bulletin, July 2001
การบริการท่องเที่ยว ในเดือนกรกฎาคมปี 2544 จำนวน นักท่องเที่ยวจากต่างประเทศเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีก่อน ร้อยละ 6.0
อัตราการเข้าพักเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 59 (เทียบกับร้อยละ 53 ในช่วงเดียวกันปีก่อน) ซึ่งเป็นผลจากการกระตุ้นตลาดเพื่อให้เกิดการเดินทาง
ท่องเที่ยวในช่วงนอกฤดูกาล (Low Season) อย่างไรก็ตาม ในภาพรวมภาวะการท่องเที่ยวโดนรวมยังคงขยายตัวต่ำกว่าปีก่อน โดยจำนวน
นักท่องเที่ยวจากต่างประเทศในช่วง 7 เดือนแรกเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.3 เทียบกับปีก่อนที่เคยขยายตัวร้อยละ 10.8 เนื่องจากการชะลอลงของ
นักท่องเที่ยวหลักในแถบเอเชีย อาทิ มาเลเซีย สาธารณรัฐประชาชนจีน อินโดนีเซีย เป็นต้น อย่างไรก็ดี ทั้งภาครัฐและเอกชนต่างก็ได้จัด
กิจกรรมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างต่อเนื่อง อาทิ การทำโรดโชว์ (Road Show) ในต่างประเทศ รวมถึงการจัดโครงการส่งเสริมการ
ท่องเที่ยวในประเทศ เพื่อกระตุ้นให้คนไทยท่องเที่ยวในประเทศมากขึ้น
2543 2544
ภาคบริการ H1 H2 ทั้งปี Q1 Q2P H1P มิ.ย. P ก.ค. P ม.ค.-ก.ค.
1. จำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติทั่วราชอาณาจักร (พันคน) 4,639 4,870 9,509 2,686 2,302 4,988 765 838 5,826
อัตราเพิ่มเทียบกับระยะเดียวกันปีก่อน 11.2 10.5 10.8 8 7 7.5 12.9 6 7.3
2. อัตราการเข้าพักโรงแรม (ร้อยละ) 60.4 60 60.2 69.4 57.3 63.4 56 59 62.7
ที่มา :
1. จำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติทั่วราชอาณาจักร จากการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
2. อัตราการเข้าพัก จากการสำรวจจากโรงแรมขนาดกลางและขนาดใหญ่ ประมาณ 165 แห่ง (เขตกรุงเทพฯ 45 แห่ง ต่างจังหวัด 120 แห่ง)
ภาคเหมืองแร่ ในเดือนกรกฎาคม การผลิตแร่ยังคงขยายตัว ต่อเนื่องร้อยละ 4.7 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน โดยเป็นการเพิ่มขึ้น
ของก๊าซธรรมชาติเป็นสำคัญ เนื่องจากเพิ่มปริมาณ รับซื้อก๊าซฯ ในอ่าวไทยมากขึ้น รวมทั้งแร่อื่นๆ มีการขยายตัวในระดับสูง เช่น แร่ยิปซั่ม แกรนิต
และทรายแก้ว เป็นต้น
สำหรับในช่วง 7 เดือนแรกของปี 2544 การผลิตแร่เพิ่มขึ้น ร้อยละ 1.1 คาดว่าจะหันมาใช้ก๊าซฯ จากอ่าวไทยมากขึ้น โดย ปตท.
จะรับซื้อก๊าซฯ จากแหล่งบงกช เกินกว่าที่กำหนดไว้ในสัญญาฯ
การผลิต 2543 2544
H1 H2 ทั้งปี Q1 Q2 H1 มิ.ย. ก.ค. E ม.ค.-ก.ค.
ดัชนีผลผลิตเหมืองแร่ 161.2 164.3 162.7 154.1 170 162 168.7 169 163
/\ % 10.7 4.3 7.4 -6 7.3 0.5 3.7 4.7 1.1
ก๊าซธรรมชาติ 11.9 -1.7 4.8 -8.8 1.7 -3.5 1.4 2.1 -2.7
ลิกไนต์ -8.7 3.4 -2.9 -2.1 8.6 3.3 -4.7 -0.9 2.7
หินปูนเพื่ออุตสาหกรรมซีเมนต์ -10.4 -11.4 -10.4 -9.1 16.6 4.2 14.5 -6.6 2.1
น้ำมันดิบ 87.1 63.1 73.3 15.5 5.2 10.2 -4.4 -0.9 8.5
ดีบุก -31.3 -29.8 -30.5 38.5 45.6 41.7 13.5 -6.6 33.2
ที่มา : ดัชนีผลผลิตเหมืองแร่คำนวณจากข้อมูลผลผลิตเหมืองแร่ของกรมทรัพยากรธรณี กระทรวงอุตสาหกรรม
--ธนาคารแห่งประเทศไทย--
-ยก-
ราคาเพิ่มขึ้นต่อเนื่องจากเดือนก่อน
การผลิตพืชผล ผลผลิตพืชผลในเดือนกรกฎาคม 2544 ซึ่งเป็นช่วงปลายฤดูเก็บเกี่ยว เพิ่มขึ้นร้อยละ 0.5 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกัน
ปีก่อนตามผลผลิตยางพารา ปาล์มน้ำมัน ผักและ ผลไม้ สำหรับราคาพืชผลในเดือนนี้ เพิ่มขึ้นร้อยละ 9.0 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อนตาม
ภาวะการส่งออกผลิตภัณฑ์มันสำปะหลัง โดยเฉพาะแป้งมัน ที่อยู่ในเกณฑ์ดี รวมทั้งราคาผักและผลไม้
ในช่วง 7 เดือนแรกของปี 2544 ผลผลิตพืชผลเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีก่อนร้อยละ 1.4 ผลผลิตที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ ข้าว ยางพารา
ปาล์มน้ำมัน ผักและผลไม้ เช่นเดียวกับราคาพืชผล ที่ปรับตัวเพิ่มขึ้นร้อยละ 2.5 ราคาพืชผลที่เพิ่มขึ้น ได้แก่ ยางพารา มันสำปะหลัง และอ้อย
รายได้จากการขายพืชผลที่สำคัญของเกษตรกร ในเดือนกรกฎาคม 2544 เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีก่อนร้อยละ 9.5 ซึ่งเป็นผลจากการเพิ่ม
ขึ้นของราคาพืชผลเป็นสำคัญ เช่นเดียวกับในช่วง 7 เดือนแรกของปี 2544 รายได้จากการขายพืชผสำคัญของเกษตรกรเพิ่มขึ้นร้อยละ 3.9
จากการเพิ่มขึ้นของผลผลิต พืชผล และราคาพืชผลที่เกษตรกรขายได้ ร้อยละ 1.4 และ 2.5 ตามลำดับ
การผลิตสัตว์น้ำ ปริมาณสัตว์น้ำขึ้นท่าในเดือนมิถุนายนและในช่วงครึ่งแรกของปี 2544 ลดลงจากช่วงเดียวกันปีก่อน ถึงร้อยละ
11.6 และ 9.5 ตามลำดับ เนื่องจากราคาน้ำมันดีเซล ที่เป็นต้นทุนสำคัญในการทำประมงยังคงอยู่ในระดับสูง ส่งผลให้ เรือเล็กจำนวน
มากหยุดทำการประมง กอปรกับประเทศอินโดนีเซีย ซึ่งเป็นแหล่งทำประมงที่สำคัญของไทย ปรับเพิ่มค่าธรรมเนียมการทำประมง ส่งผลให้
ต้นทุนการทำประมงของไทยเพิ่มขึ้นมาก ราคาสินค้าเกษตรที่เกษตรกรขายได้ ในเดือน กรกฎาคม 2544 ดัชนีราคาสินค้าเกษตรรวม เพิ่มขึ้น
ร้อยละ 6 จากช่วงเดียวกันปีก่อน ตามการเพิ่มขึ้นของราคาพืชผลและปศุสัตว์เกือบทุกชนิด ยกเว้น ข้าวและปาล์มน้ำมันที่ราคา ลดลงจาก
ช่วงเดียวกันปีก่อน ทั้งนี้ สินค้าเกษตรที่การส่งออก อยู่ในเกณฑ์ดี ได้แก่ ไก่เนื้อและมันสำปะหลัง ตามภาวะอุปสงค์ ที่เพิ่มขึ้น อย่างไรก็ตาม
ราคากุ้งยังคงลดลงจากช่วงเดียวกัน ปีก่อนถึงร้อยละ 11.2 เนื่องจากการส่งออกกุ้งชะลอตัวลงตามภาวะอุปสงค์ของโลก ขณะที่อุปทานกุ้ง
ในตลาดโลกกำลังเพิ่มขึ้น เนื่องจากผู้ผลิตกุ้งในละตินอเมริกา เริ่มกลับเข้าสู่ตลาดอีกครั้ง หลังจากแก้ไขปัญหาโรคระบาดได้
ในช่วง 7 เดือนแรกของปี 2544 ผลจากการอ่อนตัวของ ค่าเงินบาท และการส่งออกที่อยู่ในเกณฑ์ดี เป็นปัจจัยบวกที่ ทำให้
ราคาสินค้าเกษตรที่เกษตรกรขายได้ของไทย เพิ่มขึ้น ร้อยละ 2.9 จากช่วงเดียวกันปีก่อน แม้ว่าราคาสินค้าเกษตรในตลาดโลกจะปรับตัว
ลดลงร้อยละ 1.3 จากเศรษฐกิจโลกถดถอย
ราคาสินค้าเกษตรในตลาดโลก (เฉพาะ 12 ชนิดสินค้า ที่มีผลกระทบต่อราคาสินค้าเกษตรของไทย) ในเดือนกรกฎาคม 2544
เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีก่อน ร้อยละ 2.9 เนื่องจากราคาสินค้าหลายชนิดปรับตัวดีขึ้น ตามอุปทานในตลาดโลกที่ลดลง
ราคาสินค้าเกษตรที่เกษตรกรขายได้ (หน่วย : บาท/ตัน)
2542 2543 2544
ทั้งปี H1 H2 ทั้งปี H1 มิ.ย. ก.ค. ม.ค.-ก.ค.
ดัชนีราคารวม* 111.6 106.4 108.8 107.6 109 112.3 113.1 109.6
(2538 =100)
D % -15.4 -7.5 0.6 -3.5 2.4 5.7 6 2.9
ดัชนีราคาพืชผล* 105.6 98.8 100.4 99.6 100.2 103.8 105.6 101
D % -19.8 -9.6 -1.3 -5.6 1.4 7.8 9 2.5
ข้าวเปลือกหอมมะลิ 6,892 7,073 7,626 7,349 5,992 5,573 5,559 5,930
D % -15.5 9.5 4.1 6.6 -15.3 -26.9 -31.3 -17.8
ข้าวเปลือกเจ้าชั้น 1 5,459 4,794 5,081 4,937 4,447 4,640 4,815 4,499
D % -18.2 -15.7 -2.9 -9.6 -7.2 -4 -5.5 -7
ยางพารา 17,930 21,010 21,960 21,480 22,400 24,340 22,600 22,430
D % -22.6 19.8 19.9 19.8 6.6 16.5 9.9 7.1
ข้าวโพด 4,214 4,740 3,787 4,263 3,912 4,030 3,890 3,908
D % -7.8 14.6 -11.8 1.2 -17.5 -8.2 0 -15.4
มันสำปะหลัง 770 640 610 620 750 990 1,060 800
D % -44.5 -24.6 -12.2 -19 18 41.4 60.6 24.3
ดัชนีราคาปศุสัตว์* 115.2 102.7 103.9 103.3 110.2 120.4 120.3 111.7
D % 2.4 -15.7 -4.4 -10.3 7.4 15.6 14.3 8.4
ดัชนีราคาปลาและ สัตว์น้ำ* 127.1 134.3 140.5 137.4 135.7 130.8 129.8 134.8
D % -16.2 6.4 9.8 8.1 1.1 -6.4 -6.7 -0.1
ดัชนีราคาป่าไม้* 97.1 100.9 104.7 102.8 103.8 103.4 103.4 103.7
D % -6.3 -21.3 -17.4 -19.4 2.9 -2.4 -2.4 2.1
D % อัตราเพิ่มจากระยะเดียวกันปีก่อน
หมายเหตุ : * ปรับปีฐานจากปี 2527 เป็นปี 2538
ที่มา : ดัชนีราคาสินค้าเกษตรที่เกษตรกรขายได้ คำนวณจากข้อมูลราคาสินค้าเกษตรของกระทรวงเกษตรฯ, กรมการค้าภายใน
กระทรวงพาณิชย์ และองค์การสะพานปลา
เครื่องชี้ภาวะสินค้าเกษตรกรรมที่สำคัญ
หน่วย : ล้านเมตริกตัน
2539/40 2540/41 2541/42 2542/43 2543/44 %การเปลี่ยน
แปลงจากปีก่อน
ผลผลิตภาคเกษตรของไทย1/
ข้าวเปลือก 22.07 23.34 23.24 24.17 25.29 4.6
นาปี 17.78 18.79 18.45 19.02 19.55 2.9
นาปรัง 4.29 4.55 4.79 5.16 5.74 11.2
ยางพารา 2.03 2.07 2.16 2.35 2.42 3
ข้าวโพด 3.97 3.83 4.77 4.29 4.4 2.6
มันสำปะหลัง 18.08 15.59 16.51 18.75 18.28 -2.5
อ้อย 58.98 45.85 52.84 53.49 48.65 -9.1
ถั่วเขียว 0.24 0.2 0.23 0.25 0.25 -
ถั่วเหลือง 0.36 0.34 0.32 0.32 0.33 3.1
ปาล์มน้ำมัน 2.69 2.68 2.46 3.51 3.25 -7.4
กาแฟ 0.08 0.08 0.05 0.08 0.09 12.5
ผลผลิตพืชผลสำคัญของโลก2/
ธัญพืชรวม
ผลผลิต 1,871.30 1,881.10 1,872.20 1,872.40 1,830.60 -2.2
การค้า 217.2 217 224.1 239.3 225.6 -5.7
ข้าว
ผลผลิต 380.4 386.6 394 408.2 395.5 -3.1
การค้า 18.8 27.3 25.1 22.9 22.3 -2.6
ข้าวโพด
ผลผลิต 592.2 576.1 605.5 606.5 584.9 -3.6
การค้า 66.4 62.9 68.4 73 71.9 -1.5
ถั่วเหลือง
ผลผลิต 132.2 158.1 159.8 159.9 172.1 7.6
การค้า 37.1 40.5 38.7 46.6 52.4 12.4
ยางพารา
ผลผลิต3/ 6.5 6.8 6.8 6.9 7.2 4.3
การค้า 6.5 6.5 6.7 7.3 7.3 0
หมายเหตุ : 1/ ตัวเลขประมาณการในเดือนมิถุนายน 2544
2/ ตัวเลขประมาณการในเดือนกรกฎาคม 2544
3/ ผลผลิตยางเป็นปีปฏิทิน t+1 เช่นปี 2543/44 คือยางปี 2544 ผลิตช่วงเดือนมกราคม 2544 - ธันวาคม 2544
ที่มา : สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร,สถาบันวิจัยยาง และสำนักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ำตาลทราย
World Agricultural Supply and Demand, USDA. Grain : World Markets and Trade, July 2001
Rubber Statistical Bulletin, July 2001
การบริการท่องเที่ยว ในเดือนกรกฎาคมปี 2544 จำนวน นักท่องเที่ยวจากต่างประเทศเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันปีก่อน ร้อยละ 6.0
อัตราการเข้าพักเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 59 (เทียบกับร้อยละ 53 ในช่วงเดียวกันปีก่อน) ซึ่งเป็นผลจากการกระตุ้นตลาดเพื่อให้เกิดการเดินทาง
ท่องเที่ยวในช่วงนอกฤดูกาล (Low Season) อย่างไรก็ตาม ในภาพรวมภาวะการท่องเที่ยวโดนรวมยังคงขยายตัวต่ำกว่าปีก่อน โดยจำนวน
นักท่องเที่ยวจากต่างประเทศในช่วง 7 เดือนแรกเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.3 เทียบกับปีก่อนที่เคยขยายตัวร้อยละ 10.8 เนื่องจากการชะลอลงของ
นักท่องเที่ยวหลักในแถบเอเชีย อาทิ มาเลเซีย สาธารณรัฐประชาชนจีน อินโดนีเซีย เป็นต้น อย่างไรก็ดี ทั้งภาครัฐและเอกชนต่างก็ได้จัด
กิจกรรมเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวอย่างต่อเนื่อง อาทิ การทำโรดโชว์ (Road Show) ในต่างประเทศ รวมถึงการจัดโครงการส่งเสริมการ
ท่องเที่ยวในประเทศ เพื่อกระตุ้นให้คนไทยท่องเที่ยวในประเทศมากขึ้น
2543 2544
ภาคบริการ H1 H2 ทั้งปี Q1 Q2P H1P มิ.ย. P ก.ค. P ม.ค.-ก.ค.
1. จำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติทั่วราชอาณาจักร (พันคน) 4,639 4,870 9,509 2,686 2,302 4,988 765 838 5,826
อัตราเพิ่มเทียบกับระยะเดียวกันปีก่อน 11.2 10.5 10.8 8 7 7.5 12.9 6 7.3
2. อัตราการเข้าพักโรงแรม (ร้อยละ) 60.4 60 60.2 69.4 57.3 63.4 56 59 62.7
ที่มา :
1. จำนวนนักท่องเที่ยวต่างชาติทั่วราชอาณาจักร จากการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย
2. อัตราการเข้าพัก จากการสำรวจจากโรงแรมขนาดกลางและขนาดใหญ่ ประมาณ 165 แห่ง (เขตกรุงเทพฯ 45 แห่ง ต่างจังหวัด 120 แห่ง)
ภาคเหมืองแร่ ในเดือนกรกฎาคม การผลิตแร่ยังคงขยายตัว ต่อเนื่องร้อยละ 4.7 เมื่อเทียบกับช่วงเดียวกันปีก่อน โดยเป็นการเพิ่มขึ้น
ของก๊าซธรรมชาติเป็นสำคัญ เนื่องจากเพิ่มปริมาณ รับซื้อก๊าซฯ ในอ่าวไทยมากขึ้น รวมทั้งแร่อื่นๆ มีการขยายตัวในระดับสูง เช่น แร่ยิปซั่ม แกรนิต
และทรายแก้ว เป็นต้น
สำหรับในช่วง 7 เดือนแรกของปี 2544 การผลิตแร่เพิ่มขึ้น ร้อยละ 1.1 คาดว่าจะหันมาใช้ก๊าซฯ จากอ่าวไทยมากขึ้น โดย ปตท.
จะรับซื้อก๊าซฯ จากแหล่งบงกช เกินกว่าที่กำหนดไว้ในสัญญาฯ
การผลิต 2543 2544
H1 H2 ทั้งปี Q1 Q2 H1 มิ.ย. ก.ค. E ม.ค.-ก.ค.
ดัชนีผลผลิตเหมืองแร่ 161.2 164.3 162.7 154.1 170 162 168.7 169 163
/\ % 10.7 4.3 7.4 -6 7.3 0.5 3.7 4.7 1.1
ก๊าซธรรมชาติ 11.9 -1.7 4.8 -8.8 1.7 -3.5 1.4 2.1 -2.7
ลิกไนต์ -8.7 3.4 -2.9 -2.1 8.6 3.3 -4.7 -0.9 2.7
หินปูนเพื่ออุตสาหกรรมซีเมนต์ -10.4 -11.4 -10.4 -9.1 16.6 4.2 14.5 -6.6 2.1
น้ำมันดิบ 87.1 63.1 73.3 15.5 5.2 10.2 -4.4 -0.9 8.5
ดีบุก -31.3 -29.8 -30.5 38.5 45.6 41.7 13.5 -6.6 33.2
ที่มา : ดัชนีผลผลิตเหมืองแร่คำนวณจากข้อมูลผลผลิตเหมืองแร่ของกรมทรัพยากรธรณี กระทรวงอุตสาหกรรม
--ธนาคารแห่งประเทศไทย--
-ยก-