แท็ก
เหงา
ราคายางแผ่นดิบชั้น 3 ตลาดหาดใหญ่เท่ากับ 24.27 บาท/กก.
1. สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาภายในประเทศ
การค้ายางของไทยค่อนข้างเงียบเหงา เนื่องจากผู้ซื้อยางจากต่างประเทศไม่เข้าตลาดเพื่อซื้อยางตั้งแต่ที่องค์การยางระหว่างประเทศ : INRO เร่งรัดให้มีการระบายยางออกจากมูลภัณฑ์กันชน จำนวนอย่างน้อย 55,000 ตันต่อหนึ่งไตรมาส และระบายยางให้หมดภายในวันที่ 30 มิถุนายน 2544 จึงส่งผลให้ราคายางของไทยโน้มลดลง และคาดว่าจะโน้มลดลงอีกเมื่อ INRO จะดำเนินการขายยางในวันที่ 14 พฤศจิกายนศกนี้ ในช่วงสัปดาห์นี้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จึงได้ประกาศปรับเพิ่มราคาแทรกแซงยางพารา ณ ตลาดกลางยางพารา อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา เพื่อกระตุ้นตลาดดังนี้ ยางแผ่นดิบ คุณภาพ 1,2,3 และ 4 ราคากิโลกรัมละ 24.65, 24.35 , 24.00 และ 23.00 บาท ตามลำดับ
สำหรับราคาที่เกษตรกรขายได้สัปดาห์นี้ มีดังนี้
1. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.86 บาท ลดลงจาก 24.37 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.51 บาท หรือร้อยละ 2.09
2. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 2 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.42 บาท ลดลงจาก 23.91 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.49 บาท หรือร้อยละ 2.05
3. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.78 บาท ลดลงจาก 23.24 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.46 บาท หรือร้อยละ 1.98
4. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 4 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.40 บาท ลดลงจาก 22.79 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.39 บาท หรือร้อยละ 1.71
5. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 5 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 21.92 บาท ลดลงจาก 22.49 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.57 บาท หรือร้อยละ 2.53
6. ยางแผ่นดิบคละราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.76 บาท ลดลงจาก 23.25 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.49 บาท หรือร้อยละ 2.11
7. ยางก้อนคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 11.17 บาท ลดลงจาก 11.56 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.39 บาท หรือร้อยละ 3.37
8. เศษยางคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.16 บาท สูงขึ้นจาก 9.04 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.12 บาท หรือร้อยละ 1.33
9. น้ำยางข้นคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 21.31 บาท ลดลงจาก 21.42 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.11 บาท หรือร้อยละ 0.51
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ซื้อขายล่วงหน้าส่งมอบเดือนพฤศจิกายน 2543 ณ ท่าเรือกรุงเทพ
1. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.28 บาท ลดลงจาก 29.85 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.57 บาท หรือร้อยละ 1.91
2. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.13 บาท ลดลงจาก 28.70 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.57 บาท หรือร้อยละ 1.99
3. น้ำยางข้นราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.94 บาท ลดลงจาก 23.18 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.24 บาท หรือร้อยละ 1.04
ณ ท่าเรือสงขลา
1. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.03 บาท ลดลงจาก 29.60 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.57 บาท หรือร้อยละ 1.93
2. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.88 บาท ลดลงจาก 28.45 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.57 บาท หรือร้อยละ 2.00
3. น้ำยางข้นราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.69 บาท ลดลงจาก 22.93 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.24 บาท หรือร้อยละ 1.05
2. สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาในตลาดโลก
ไทยและมาเลเซียได้ร่วมลงนามเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2543 เพื่อร่วมลงทุนซื้อยางในสต๊อกมลภัณฑ์กันชนของ INRO ซึ่งมีจำนวน 138,000 ตัน โดยแต่ละประเทศร่วมลงทุนประเทศละประมาณ 800 ล้านบาท ซึ่งการร่วมลงทุนดังกล่าวจะช่วยให้ไทยและมาเลเซียสามารถควบคุมราคายางธรรมชาติในประเทศของตนมิให้มีความผันผวนจนเกินไป
เจ้าหน้าที่ศูนย์เทคนิคบริษัทกู๊ดเยียร์ ในลักเซมเบอร์ก เปิดเผยว่า ขณะนี้บริษัทกำลังพิจารณาเพิ่มการใช้ยางธรรมชาติในการผลิตยางรถยนต์ เนื่องจากราคายางสังเคราะห์ในปัจจุบันสูงเป็น 2 เท่า ใน 2 ปีที่ผ่านมา ขณะที่ราคายางธรรมชาติต่ำสุดในรอบ 30 ปี อย่างไรก็ตามการเพิ่มปริมาณการใช้ยางธรรมชาติจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนแปลงสูตรสัดส่วนระหว่างยางธรรมชาติและยางสังเคราะห์ให้เหมาะสมและตามความต้องการของตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคายางประจำสัปดาห์ มีดังนี้ ราคาแจ้งสถานการณ์ตลาดของ INRO
ราคาซื้อขายเฉลี่ยประจำวันของยางแผ่นรมควันชั้น 1 ยางแผ่นรมควันชั้น 3 และยางแท่งชั้น 20 ในตลาดกัวลาลัมเปอร์ ตลาดลอนดอน ตลาดนิวยอร์คและตลาดสิงคโปร์ (DMIP) เฉลี่ยกิโลกรัมละ 108.06 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ (19.52 บาท) ลดลงจาก 110.68 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ (20.00 บาท) ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 2.62 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ หรือร้อยละ 2.37
ราคาซื้อขายเฉลี่ย 5 วัน ของยางแผ่นรมควันชั้น 1 ยางแผ่นรมควันชั้น 3 และยาง แท่งชั้น 20 ในตลาดกัวลาลัมเปอร์ ตลาดลอนดอน ตลาดนิวยอร์คและตลาดสิงคโปร์ (DMIP)เฉลี่ยกิโลกรัมละ 108.96 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ (19.69 บาท) ลดลงจาก 111.49 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ (20.14 บาท) ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 2.53 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ หรือร้อยละ 2.27
ราคาต่างประเทศซื้อขายล่วงหน้า ส่งมอบเดือนธันวาคม 2543 ยางแผ่นรมควันชั้น 1
ตลาดสิงคโปร์เสนอซื้อล่วงหน้า เฉลี่ยโลกรัมละ 109.06 เซนต์สิงคโปร์ (27.11 บาท) ลดลงจาก 112.63 เซนต์สิงคโปร์ (27.89 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 3.57 เซนต์สิงคโปร์ หรือ ร้อยละ 3.17
ตลาดมาเลเซียเสนอซื้อล่วงหน้า เฉลี่ยกิโลกรัมละ 249.88 เซนต์มาเลเซีย (28.18 บาท) ลดลงจาก 250.63 เซนต์มาเลเซีย (28.50 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.75 เซนต์มาเลเซีย หรือร้อยละ 0.30
ตลาดลอนดอนเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 52.00 เพนนี (32.19 บาท) บาท ลดลงจาก 52.81 เพนนี (33.27 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.81 เพนนี หรือร้อยละ 1.53
ยางแผ่นรมควันชั้น 3
ตลาดสิงคโปร์เสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 62.44 เซนต์สหรัฐฯ (27.07 บาท) ลดลงจาก 63.81 เซนต์สหรัฐฯ (27.80 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.37 เซนต์สหรัฐฯ หรือร้อยละ 2.15
ตลาดมาเลเซียเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 240.38 เซนต์มาเลเซีย (27.11 บาท)
ลดลงจาก 240.75 เซนต์มาเลเซีย (27.37 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.37 เซนต์มาเลเซียหรือร้อยละ 0.15
ตลาดลอนดอนเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 50.25 เพนนี (31.10 บาท) ลดลงจาก 51.06 เพนนี (32.17 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.81 เพนนี หรือร้อยละ 1.59
ตลาดโตเกียวเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 85.03 เยน (34.21 บาท) ลดลงจาก 87.23 เยน (34.80 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 2.20 เยน หรือร้อยละ 2.52
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 44 ประจำวันที่ 6-12 พ.ย. 2543--
-สส-
1. สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาภายในประเทศ
การค้ายางของไทยค่อนข้างเงียบเหงา เนื่องจากผู้ซื้อยางจากต่างประเทศไม่เข้าตลาดเพื่อซื้อยางตั้งแต่ที่องค์การยางระหว่างประเทศ : INRO เร่งรัดให้มีการระบายยางออกจากมูลภัณฑ์กันชน จำนวนอย่างน้อย 55,000 ตันต่อหนึ่งไตรมาส และระบายยางให้หมดภายในวันที่ 30 มิถุนายน 2544 จึงส่งผลให้ราคายางของไทยโน้มลดลง และคาดว่าจะโน้มลดลงอีกเมื่อ INRO จะดำเนินการขายยางในวันที่ 14 พฤศจิกายนศกนี้ ในช่วงสัปดาห์นี้กระทรวงเกษตรและสหกรณ์จึงได้ประกาศปรับเพิ่มราคาแทรกแซงยางพารา ณ ตลาดกลางยางพารา อ.หาดใหญ่ จ.สงขลา เพื่อกระตุ้นตลาดดังนี้ ยางแผ่นดิบ คุณภาพ 1,2,3 และ 4 ราคากิโลกรัมละ 24.65, 24.35 , 24.00 และ 23.00 บาท ตามลำดับ
สำหรับราคาที่เกษตรกรขายได้สัปดาห์นี้ มีดังนี้
1. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.86 บาท ลดลงจาก 24.37 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.51 บาท หรือร้อยละ 2.09
2. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 2 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 23.42 บาท ลดลงจาก 23.91 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.49 บาท หรือร้อยละ 2.05
3. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.78 บาท ลดลงจาก 23.24 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.46 บาท หรือร้อยละ 1.98
4. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 4 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.40 บาท ลดลงจาก 22.79 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.39 บาท หรือร้อยละ 1.71
5. ยางแผ่นดิบคุณภาพที่ 5 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 21.92 บาท ลดลงจาก 22.49 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.57 บาท หรือร้อยละ 2.53
6. ยางแผ่นดิบคละราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.76 บาท ลดลงจาก 23.25 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.49 บาท หรือร้อยละ 2.11
7. ยางก้อนคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 11.17 บาท ลดลงจาก 11.56 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.39 บาท หรือร้อยละ 3.37
8. เศษยางคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 9.16 บาท สูงขึ้นจาก 9.04 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.12 บาท หรือร้อยละ 1.33
9. น้ำยางข้นคละ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 21.31 บาท ลดลงจาก 21.42 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.11 บาท หรือร้อยละ 0.51
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี. ซื้อขายล่วงหน้าส่งมอบเดือนพฤศจิกายน 2543 ณ ท่าเรือกรุงเทพ
1. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.28 บาท ลดลงจาก 29.85 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.57 บาท หรือร้อยละ 1.91
2. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.13 บาท ลดลงจาก 28.70 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.57 บาท หรือร้อยละ 1.99
3. น้ำยางข้นราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.94 บาท ลดลงจาก 23.18 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.24 บาท หรือร้อยละ 1.04
ณ ท่าเรือสงขลา
1. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 1 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 29.03 บาท ลดลงจาก 29.60 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.57 บาท หรือร้อยละ 1.93
2. ยางแผ่นรมควันคุณภาพที่ 3 ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.88 บาท ลดลงจาก 28.45 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.57 บาท หรือร้อยละ 2.00
3. น้ำยางข้นราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.69 บาท ลดลงจาก 22.93 บาท ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.24 บาท หรือร้อยละ 1.05
2. สรุปภาวะการผลิตการตลาดและราคาในตลาดโลก
ไทยและมาเลเซียได้ร่วมลงนามเมื่อวันที่ 7 กรกฎาคม 2543 เพื่อร่วมลงทุนซื้อยางในสต๊อกมลภัณฑ์กันชนของ INRO ซึ่งมีจำนวน 138,000 ตัน โดยแต่ละประเทศร่วมลงทุนประเทศละประมาณ 800 ล้านบาท ซึ่งการร่วมลงทุนดังกล่าวจะช่วยให้ไทยและมาเลเซียสามารถควบคุมราคายางธรรมชาติในประเทศของตนมิให้มีความผันผวนจนเกินไป
เจ้าหน้าที่ศูนย์เทคนิคบริษัทกู๊ดเยียร์ ในลักเซมเบอร์ก เปิดเผยว่า ขณะนี้บริษัทกำลังพิจารณาเพิ่มการใช้ยางธรรมชาติในการผลิตยางรถยนต์ เนื่องจากราคายางสังเคราะห์ในปัจจุบันสูงเป็น 2 เท่า ใน 2 ปีที่ผ่านมา ขณะที่ราคายางธรรมชาติต่ำสุดในรอบ 30 ปี อย่างไรก็ตามการเพิ่มปริมาณการใช้ยางธรรมชาติจะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับการเปลี่ยนแปลงสูตรสัดส่วนระหว่างยางธรรมชาติและยางสังเคราะห์ให้เหมาะสมและตามความต้องการของตลาด
ความเคลื่อนไหวของราคายางประจำสัปดาห์ มีดังนี้ ราคาแจ้งสถานการณ์ตลาดของ INRO
ราคาซื้อขายเฉลี่ยประจำวันของยางแผ่นรมควันชั้น 1 ยางแผ่นรมควันชั้น 3 และยางแท่งชั้น 20 ในตลาดกัวลาลัมเปอร์ ตลาดลอนดอน ตลาดนิวยอร์คและตลาดสิงคโปร์ (DMIP) เฉลี่ยกิโลกรัมละ 108.06 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ (19.52 บาท) ลดลงจาก 110.68 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ (20.00 บาท) ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 2.62 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ หรือร้อยละ 2.37
ราคาซื้อขายเฉลี่ย 5 วัน ของยางแผ่นรมควันชั้น 1 ยางแผ่นรมควันชั้น 3 และยาง แท่งชั้น 20 ในตลาดกัวลาลัมเปอร์ ตลาดลอนดอน ตลาดนิวยอร์คและตลาดสิงคโปร์ (DMIP)เฉลี่ยกิโลกรัมละ 108.96 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ (19.69 บาท) ลดลงจาก 111.49 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ (20.14 บาท) ของสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 2.53 เซนต์มาเลเซีย/สิงคโปร์ หรือร้อยละ 2.27
ราคาต่างประเทศซื้อขายล่วงหน้า ส่งมอบเดือนธันวาคม 2543 ยางแผ่นรมควันชั้น 1
ตลาดสิงคโปร์เสนอซื้อล่วงหน้า เฉลี่ยโลกรัมละ 109.06 เซนต์สิงคโปร์ (27.11 บาท) ลดลงจาก 112.63 เซนต์สิงคโปร์ (27.89 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 3.57 เซนต์สิงคโปร์ หรือ ร้อยละ 3.17
ตลาดมาเลเซียเสนอซื้อล่วงหน้า เฉลี่ยกิโลกรัมละ 249.88 เซนต์มาเลเซีย (28.18 บาท) ลดลงจาก 250.63 เซนต์มาเลเซีย (28.50 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.75 เซนต์มาเลเซีย หรือร้อยละ 0.30
ตลาดลอนดอนเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 52.00 เพนนี (32.19 บาท) บาท ลดลงจาก 52.81 เพนนี (33.27 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.81 เพนนี หรือร้อยละ 1.53
ยางแผ่นรมควันชั้น 3
ตลาดสิงคโปร์เสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 62.44 เซนต์สหรัฐฯ (27.07 บาท) ลดลงจาก 63.81 เซนต์สหรัฐฯ (27.80 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 1.37 เซนต์สหรัฐฯ หรือร้อยละ 2.15
ตลาดมาเลเซียเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 240.38 เซนต์มาเลเซีย (27.11 บาท)
ลดลงจาก 240.75 เซนต์มาเลเซีย (27.37 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.37 เซนต์มาเลเซียหรือร้อยละ 0.15
ตลาดลอนดอนเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 50.25 เพนนี (31.10 บาท) ลดลงจาก 51.06 เพนนี (32.17 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 0.81 เพนนี หรือร้อยละ 1.59
ตลาดโตเกียวเสนอซื้อล่วงหน้าเฉลี่ยกิโลกรัมละ 85.03 เยน (34.21 บาท) ลดลงจาก 87.23 เยน (34.80 บาท) ในสัปดาห์ที่แล้วกิโลกรัมละ 2.20 เยน หรือร้อยละ 2.52
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 44 ประจำวันที่ 6-12 พ.ย. 2543--
-สส-