บันทึกการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ ๒๑ ปีที่ ๑
ครั้งที่ ๑๑ (สมัยสามัญทั่วไป)
วันพุธที่ ๔ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๔๔
ณ ตึกรัฐสภา
---------------------
เริ่มประชุมเวลา ๑๓.๓๕ นาฬิกา
เมื่อครบองค์ประชุมแล้ว นายอุทัย พิมพ์ใจชน ประธานสภาผู้แทนราษฎร
นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่ง และนายบุญชง
วีสมหมาย รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่สอง ขึ้นบัลลังก์
ประธานสภาผู้แทนราษฎรกล่าวเปิดประชุมและได้เสนอให้ที่ประชุม
พิจารณาระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องที่คณะกรรมาธิการพิจารณาเสร็จแล้ว คือ
ร่างข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. …. ซึ่ง คณะกรรมาธิการวิสามัญ
ยกร่างเสร็จแล้วโดยเป็นการพิจารณาต่อจากการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ ๒๑
ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๙ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๔๔ โดยประธาน
สภาผู้แทนราษฎรได้ปรึกษาที่ประชุมว่าจะพิจารณาร่างข้อบังคับฯ โดยกรรมาธิการ
เต็มสภาต่อไปหรือตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญขึ้นมาพิจารณา ปรากฏว่าที่ประชุม
ได้มีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญจำนวน ๓๐ คน เพื่อพิจารณาโดยถือเอาร่าง
ของคณะกรรมาธิการยกร่างฯ เป็นหลักในการพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ
ประกอบด้วย
๑. นายพินิจ จันทรสุรินทร์ ๒. นายสุขุมพงศ์ โง่นคำ
๓. นายปกิต พัฒนกุล ๔. นายประกิจ พลเดช
๕. นายทรงศักดิ์ ทองศรี ๖. นายประมวล รุจนเสรี
๗. นายทศพล สังขทรัพย์ ๘. นายปิยะณัฐ วัชราภรณ์
๙. นายดนัยฤทธิ์ วัชราภรณ์ ๑๐. นายประศาสตร์ ทองปากน้ำ
๑๑. นายโสภณ เพชรสว่าง ๑๒. นายสมชาย สุนทรวัฒน์
๑๓. นายธวัชชัย สัจจกุล ๑๔. นายตรีพล เจาะจิตต์
๑๕. ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน ๑๖. นายวิฑูรย์ นามบุตร
๑๗. นายอลงกรณ์ พลบุตร ๑๘. นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
๑๙. นางอัญชลี วานิช เทพบุตร ๒๐. นายวิทยา แก้วภราดัย
๒๑. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์ ๒๒. นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์
๒๓. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง ๒๔. นายชิงชัย มงคลธรรม
๒๕. นายวรรณรัตน์ ชาญนุกูล ๒๖. นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล
๒๗. นายสมศักดิ์ คุณเงิน ๒๘. นายชัยวัฒน์ กุลศักดิ์วิมล
๒๙. นายณรงค์เลิศ สุรพล ๓๐. นายประเสริฐ ลิ่มประเสริฐ
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๕ วัน
ต่อมา รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่งได้ปฏิบัติหน้าที่ต่อ
และได้เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาระเบียบวาระเรื่องด่วน คือ ร่างพระราชบัญญัติ
จัดหางานและคุ้มครองคนหางาน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี
เป็นผู้เสนอ โดยที่ประชุมเห็นชอบให้นำร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก
๑ ฉบับ ขึ้นมาพิจารณารวมกันไป คือ ร่างพระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครอง
คนหางาน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง นายทนุศักดิ์ เล็กอุทัย กับคณะ เป็นผู้เสนอ
(ซึ่งยังมิได้บรรจุระเบียบวาระ)
เมื่อรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (พลเอก
ชวลิต ยงใจยุทธ) และผู้เสนอได้แถลงหลักการและเหตุผลตามลำดับ มีสมาชิกฯ
อภิปราย รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม
(ศาสตราจารย์เดช บุญ-หลง) ตอบชี้แจงจนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติ
ในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๒ ฉบับพร้อมกันไป และมี
มติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา โดยถือเอา
ร่างของคณะรัฐมนตรีเป็นหลักในการพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. ศาสตราจารย์เดช บุญ-หลง ๒. นายวันชัย ผดุงศุภไลย
๓. นายภูศักดิ์ ธรรมศาล ๔. นายจีรศักดิ์ สุคนธชาติ
๕. นายสุพจน์ เอี่ยมมงคลสกุล ๖. นายจักรพันธุ์ ยมจินดา
๗. นายสามารถ แก้วมีชัย ๘. นางบุญรื่น ศรีธเรศ
๙. นายทนุศักดิ์ เล็กอุทัย ๑๐. นายวิสุทธิ์ ไชยณรุณ
๑๑. นายวัฒนา เซ่งไพเราะ ๑๒. นางมุกดา พงษ์สมบัติ
๑๓. นายวรวุฒิ ภุมมะกาญจนะ ๑๔. นายวัชรา ณ วังขนาย
๑๕. นายบุญทรง เตริยาภิรมย์ ๑๖. นายลิขิต หมู่ดี
๑๗. นายสันทัด จีนาภักดิ์ ๑๘. นายศุภรักษ์ ควรหา
๑๙. นายสมบูรณ์ วันไชยธนวงศ์ ๒๐. นายอรรถพล สนิทวงศ์ชัย
๒๑. นายไพศาล จันทวารา ๒๒. นายองอาจ คล้ามไพบูลย์
๒๓. นายมนตรี ปาน้อยนนท์ ๒๔. นายวินัย เสนเนียม
๒๕. นายนคร มาฉิม ๒๖. นายสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์
๒๗. นายนริศ ขำนุรักษ์ ๒๘. นายอภิชาติ สุภาแพ่ง
๒๙. นางสาวจณิสตา ลิ่วเฉลิมวงศ์ ๓๐. นายวิชัย โถสุวรรณจินดา
๓๑. นายเอกพร รักความสุข ๓๒. นายธีระชัย ศิริขันธ์
๓๓. นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล ๓๔. นายศราวุธ เพชรพนมพร
๓๕. นายสุวิชญ์ โยทองยศ
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
ต่อจากนั้น รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่งได้เสนอให้ที่ประชุม
พิจารณาระเบียบวาระเรื่องที่ค้างพิจารณา คือ ร่างพระราชบัญญัติเลื่อยโซ่ยนต์
พ.ศ. …. ซึ่ง นายอำนวย คลังผา เป็นผู้เสนอ โดยที่ประชุมเห็นชอบให้นำ
ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก ๒ ฉบับ ขึ้นมาพิจารณารวมกันไป คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติเลื่อยยนต์ พ.ศ. …. ซึ่ง พลตำรวจโท วิโรจน์
เปาอินทร์ และนายศักดิ์สยาม ชิดชอบ เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๖.๔)
๒. ร่างพระราชบัญญัติเลื่อยโซ่ยนต์ พ.ศ. …. ซึ่ง นายสุพัฒน์
ธรรมเพชร กับคณะ เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๖.๕)
เมื่อผู้เสนอได้แถลงหลักการและเหตุผลตามลำดับ โดยมีรองประธาน
สภาผู้แทนราษฎรคนที่สองปฏิบัติหน้าที่ต่อ มีสมาชิกฯ อภิปราย จนได้เวลา
พอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ
ทั้ง ๓ ฉบับพร้อมกันไป และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน
เพื่อพิจารณา โดยถือเอาร่างของพลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ เป็นหลักในการ
พิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายประพัฒน์ ปัญญาชาติรักษ์ ๒. นายสมชัย เพียรสถาพร
๓. นายสวัสดิ์ ดุลยพัชร์ ๔. นายนิมิตร ศรีภักดี
๕. นายวิสูตร สมนึก ๖. นายอำนวย คลังผา
๗. นายสงวน พงษ์มณี ๘. นายสมบูรณ์ ไพรวัลย์
๙. นายชลน่าน ศรีแก้ว ๑๐. นายวุฒิพงศ์ ฉายแสง
๑๑. นายนพคุณ รัฐผไท ๑๒. นายตี๋ใหญ่ พูนศรีธนากูล
๑๓. นายกิตติ สมทรัพย์ ๑๔. นายเกรียงไกร ไชยมงคล
๑๕. นางลาวัณย์ ตันติกุลพงศ์ ๑๖. นายชวลิต มหาจันทร์
๑๗. นายพงษ์ศักดิ์ บุญศล ๑๘. พลเรือโท โรช วิภัติภูมิประเทศ
๑๙. นายวัลลภ สุปริยศิลป์ ๒๐. นายวิวัฒน์ นิติกาญจนา
๒๑. นายสุพัฒน์ ธรรมเพชร ๒๒. นายประวิช นิลวัชรมณี
๒๓. นายสมชาย โล่สถาพรพิพิธ ๒๔. นายสมบูรณ์ อุทัยเวียนกุล
๒๕. นายสมมารถ เจ๊ะนา ๒๖. นายเชน เทือกสุบรรณ
๒๗. นายประกอบ รัตนพันธ์ ๒๘. ร้อยตำรวจเอก พเยาว์ พูลธรัตน์
๒๙. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ ๓๐. นายศักดิ์สยาม ชิดชอบ
๓๑. นายสุลัยมาลย์ วงษ์พานิช ๓๒. นายประภาส วีระเสถียร
๓๓. นายสมศักดิ์ โสมกลาง ๓๔. นายศิริชัย ฉัตรชัยพลรัตน์
๓๕. นายสุรชาติ ชำนาญศิลป์
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
เลิกประชุมเวลา ๑๘.๑๐ นาฬิกา
(นายพิทูร พุ่มหิรัญ)
รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ปฏิบัติราชการแทน
เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
ฝ่ายรายงานการประชุม
กองการประชุม
โทร. ๒๔๔๑๑๑๕-๖
โทรสาร ๒๔๔๑๑๑๕-๖
สรุปผลการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ จำนวน ๒ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
(รวมผู้เสนอ ๒ ฉบับ)
๒. ร่างพระราชบัญญัติเลื่อยยนต์ พ.ศ. …. (รวมผู้เสนอ ๓ ฉบับ)
**************************
ครั้งที่ ๑๑ (สมัยสามัญทั่วไป)
วันพุธที่ ๔ เมษายน พุทธศักราช ๒๕๔๔
ณ ตึกรัฐสภา
---------------------
เริ่มประชุมเวลา ๑๓.๓๕ นาฬิกา
เมื่อครบองค์ประชุมแล้ว นายอุทัย พิมพ์ใจชน ประธานสภาผู้แทนราษฎร
นายสมศักดิ์ ปริศนานันทกุล รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่ง และนายบุญชง
วีสมหมาย รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่สอง ขึ้นบัลลังก์
ประธานสภาผู้แทนราษฎรกล่าวเปิดประชุมและได้เสนอให้ที่ประชุม
พิจารณาระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องที่คณะกรรมาธิการพิจารณาเสร็จแล้ว คือ
ร่างข้อบังคับการประชุมสภาผู้แทนราษฎร พ.ศ. …. ซึ่ง คณะกรรมาธิการวิสามัญ
ยกร่างเสร็จแล้วโดยเป็นการพิจารณาต่อจากการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ ๒๑
ปีที่ ๑ ครั้งที่ ๙ (สมัยสามัญทั่วไป) วันพุธที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๔๔ โดยประธาน
สภาผู้แทนราษฎรได้ปรึกษาที่ประชุมว่าจะพิจารณาร่างข้อบังคับฯ โดยกรรมาธิการ
เต็มสภาต่อไปหรือตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญขึ้นมาพิจารณา ปรากฏว่าที่ประชุม
ได้มีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญจำนวน ๓๐ คน เพื่อพิจารณาโดยถือเอาร่าง
ของคณะกรรมาธิการยกร่างฯ เป็นหลักในการพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ
ประกอบด้วย
๑. นายพินิจ จันทรสุรินทร์ ๒. นายสุขุมพงศ์ โง่นคำ
๓. นายปกิต พัฒนกุล ๔. นายประกิจ พลเดช
๕. นายทรงศักดิ์ ทองศรี ๖. นายประมวล รุจนเสรี
๗. นายทศพล สังขทรัพย์ ๘. นายปิยะณัฐ วัชราภรณ์
๙. นายดนัยฤทธิ์ วัชราภรณ์ ๑๐. นายประศาสตร์ ทองปากน้ำ
๑๑. นายโสภณ เพชรสว่าง ๑๒. นายสมชาย สุนทรวัฒน์
๑๓. นายธวัชชัย สัจจกุล ๑๔. นายตรีพล เจาะจิตต์
๑๕. ศาสตราจารย์วิจิตร ศรีสอ้าน ๑๖. นายวิฑูรย์ นามบุตร
๑๗. นายอลงกรณ์ พลบุตร ๑๘. นายอภิสิทธิ์ เวชชาชีวะ
๑๙. นางอัญชลี วานิช เทพบุตร ๒๐. นายวิทยา แก้วภราดัย
๒๑. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์ ๒๒. นายประยุทธ์ ศิริพานิชย์
๒๓. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง ๒๔. นายชิงชัย มงคลธรรม
๒๕. นายวรรณรัตน์ ชาญนุกูล ๒๖. นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล
๒๗. นายสมศักดิ์ คุณเงิน ๒๘. นายชัยวัฒน์ กุลศักดิ์วิมล
๒๙. นายณรงค์เลิศ สุรพล ๓๐. นายประเสริฐ ลิ่มประเสริฐ
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๕ วัน
ต่อมา รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่งได้ปฏิบัติหน้าที่ต่อ
และได้เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาระเบียบวาระเรื่องด่วน คือ ร่างพระราชบัญญัติ
จัดหางานและคุ้มครองคนหางาน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี
เป็นผู้เสนอ โดยที่ประชุมเห็นชอบให้นำร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก
๑ ฉบับ ขึ้นมาพิจารณารวมกันไป คือ ร่างพระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครอง
คนหางาน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง นายทนุศักดิ์ เล็กอุทัย กับคณะ เป็นผู้เสนอ
(ซึ่งยังมิได้บรรจุระเบียบวาระ)
เมื่อรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงกลาโหม (พลเอก
ชวลิต ยงใจยุทธ) และผู้เสนอได้แถลงหลักการและเหตุผลตามลำดับ มีสมาชิกฯ
อภิปราย รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม
(ศาสตราจารย์เดช บุญ-หลง) ตอบชี้แจงจนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติ
ในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๒ ฉบับพร้อมกันไป และมี
มติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา โดยถือเอา
ร่างของคณะรัฐมนตรีเป็นหลักในการพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. ศาสตราจารย์เดช บุญ-หลง ๒. นายวันชัย ผดุงศุภไลย
๓. นายภูศักดิ์ ธรรมศาล ๔. นายจีรศักดิ์ สุคนธชาติ
๕. นายสุพจน์ เอี่ยมมงคลสกุล ๖. นายจักรพันธุ์ ยมจินดา
๗. นายสามารถ แก้วมีชัย ๘. นางบุญรื่น ศรีธเรศ
๙. นายทนุศักดิ์ เล็กอุทัย ๑๐. นายวิสุทธิ์ ไชยณรุณ
๑๑. นายวัฒนา เซ่งไพเราะ ๑๒. นางมุกดา พงษ์สมบัติ
๑๓. นายวรวุฒิ ภุมมะกาญจนะ ๑๔. นายวัชรา ณ วังขนาย
๑๕. นายบุญทรง เตริยาภิรมย์ ๑๖. นายลิขิต หมู่ดี
๑๗. นายสันทัด จีนาภักดิ์ ๑๘. นายศุภรักษ์ ควรหา
๑๙. นายสมบูรณ์ วันไชยธนวงศ์ ๒๐. นายอรรถพล สนิทวงศ์ชัย
๒๑. นายไพศาล จันทวารา ๒๒. นายองอาจ คล้ามไพบูลย์
๒๓. นายมนตรี ปาน้อยนนท์ ๒๔. นายวินัย เสนเนียม
๒๕. นายนคร มาฉิม ๒๖. นายสุรเชษฐ์ มาศดิตถ์
๒๗. นายนริศ ขำนุรักษ์ ๒๘. นายอภิชาติ สุภาแพ่ง
๒๙. นางสาวจณิสตา ลิ่วเฉลิมวงศ์ ๓๐. นายวิชัย โถสุวรรณจินดา
๓๑. นายเอกพร รักความสุข ๓๒. นายธีระชัย ศิริขันธ์
๓๓. นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล ๓๔. นายศราวุธ เพชรพนมพร
๓๕. นายสุวิชญ์ โยทองยศ
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
ต่อจากนั้น รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่งได้เสนอให้ที่ประชุม
พิจารณาระเบียบวาระเรื่องที่ค้างพิจารณา คือ ร่างพระราชบัญญัติเลื่อยโซ่ยนต์
พ.ศ. …. ซึ่ง นายอำนวย คลังผา เป็นผู้เสนอ โดยที่ประชุมเห็นชอบให้นำ
ร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก ๒ ฉบับ ขึ้นมาพิจารณารวมกันไป คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติเลื่อยยนต์ พ.ศ. …. ซึ่ง พลตำรวจโท วิโรจน์
เปาอินทร์ และนายศักดิ์สยาม ชิดชอบ เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๖.๔)
๒. ร่างพระราชบัญญัติเลื่อยโซ่ยนต์ พ.ศ. …. ซึ่ง นายสุพัฒน์
ธรรมเพชร กับคณะ เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๖.๕)
เมื่อผู้เสนอได้แถลงหลักการและเหตุผลตามลำดับ โดยมีรองประธาน
สภาผู้แทนราษฎรคนที่สองปฏิบัติหน้าที่ต่อ มีสมาชิกฯ อภิปราย จนได้เวลา
พอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ
ทั้ง ๓ ฉบับพร้อมกันไป และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน
เพื่อพิจารณา โดยถือเอาร่างของพลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ เป็นหลักในการ
พิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายประพัฒน์ ปัญญาชาติรักษ์ ๒. นายสมชัย เพียรสถาพร
๓. นายสวัสดิ์ ดุลยพัชร์ ๔. นายนิมิตร ศรีภักดี
๕. นายวิสูตร สมนึก ๖. นายอำนวย คลังผา
๗. นายสงวน พงษ์มณี ๘. นายสมบูรณ์ ไพรวัลย์
๙. นายชลน่าน ศรีแก้ว ๑๐. นายวุฒิพงศ์ ฉายแสง
๑๑. นายนพคุณ รัฐผไท ๑๒. นายตี๋ใหญ่ พูนศรีธนากูล
๑๓. นายกิตติ สมทรัพย์ ๑๔. นายเกรียงไกร ไชยมงคล
๑๕. นางลาวัณย์ ตันติกุลพงศ์ ๑๖. นายชวลิต มหาจันทร์
๑๗. นายพงษ์ศักดิ์ บุญศล ๑๘. พลเรือโท โรช วิภัติภูมิประเทศ
๑๙. นายวัลลภ สุปริยศิลป์ ๒๐. นายวิวัฒน์ นิติกาญจนา
๒๑. นายสุพัฒน์ ธรรมเพชร ๒๒. นายประวิช นิลวัชรมณี
๒๓. นายสมชาย โล่สถาพรพิพิธ ๒๔. นายสมบูรณ์ อุทัยเวียนกุล
๒๕. นายสมมารถ เจ๊ะนา ๒๖. นายเชน เทือกสุบรรณ
๒๗. นายประกอบ รัตนพันธ์ ๒๘. ร้อยตำรวจเอก พเยาว์ พูลธรัตน์
๒๙. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์ ๓๐. นายศักดิ์สยาม ชิดชอบ
๓๑. นายสุลัยมาลย์ วงษ์พานิช ๓๒. นายประภาส วีระเสถียร
๓๓. นายสมศักดิ์ โสมกลาง ๓๔. นายศิริชัย ฉัตรชัยพลรัตน์
๓๕. นายสุรชาติ ชำนาญศิลป์
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
เลิกประชุมเวลา ๑๘.๑๐ นาฬิกา
(นายพิทูร พุ่มหิรัญ)
รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร ปฏิบัติราชการแทน
เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
ฝ่ายรายงานการประชุม
กองการประชุม
โทร. ๒๔๔๑๑๑๕-๖
โทรสาร ๒๔๔๑๑๑๕-๖
สรุปผลการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ จำนวน ๒ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติจัดหางานและคุ้มครองคนหางาน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
(รวมผู้เสนอ ๒ ฉบับ)
๒. ร่างพระราชบัญญัติเลื่อยยนต์ พ.ศ. …. (รวมผู้เสนอ ๓ ฉบับ)
**************************