1. ยอด NPL คงค้าง
1.1 ระบบสถาบันการเงินมี NPL คงค้าง ณ สิ้นเดือนกรกฎาคม 2543 ทั้งสิ้น 1,597.4 พันล้านบาท และสินเชื่อรวม 5,107.1 พันล้านบาท NPL ต่อสินเชื่อรวมเท่ากับร้อยละ 31.28
1.2 กลุ่มสถาบันการเงินมี NPL คงค้าง ณ สิ้นเดือนกรกฎาคม 2543 แยกแสดงรายกลุ่มได้ดังนี้
1.2.1 ธนาคารเอกชนมี NPL คงค้างทั้งสิ้น 572.7 พันล้านบาท และสินเชื่อรวม 2,651.8 พันล้านบาท NPL ต่อสินเชื่อรวมเท่ากับร้อยละ 21.59 1.2.2 ธนาคารของรัฐมี NPL คงค้างทั้งสิ้น 918.8 พันล้านบาท และสินเชื่อรวม 1,663.8 พันล้านบาท NPL ต่อสินเชื่อรวมเท่ากับร้อยละ 55.23
1.2.3 สาขาธนาคารต่างประเทศมี NPL คงค้างทั้งสิ้น 47.2 พันล้านบาท และสินเชื่อรวม 634.4 พันล้านบาท NPL ต่อสินเชื่อรวมเท่ากับร้อยละ 7.44
1.2.4 บริษัทเงินทุนมี NPL คงค้างทั้งสิ้น 58.8 พันล้านบาท และสินเชื่อรวม 157.1 พันล้านบาท NPL ต่อสินเชื่อรวมเท่ากับร้อยละ 37.41
1.3 ประเภทธุรกิจที่มี NPL คงค้าง ณ สิ้นเดือนกรกฎาคม 2543 จำนวนสูงแสดงได้ดังนี้
1.3.1 ภาคอุตสาหกรรมมี NPL คงค้าง 396.4 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 24.81 ของ NPL ทั้งสิ้น
1.3.2 ธุรกิจเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์มี NPL คงค้าง 291.6 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 18.25 ของ NPL ทั้งสิ้น
1.3.3 ธุรกิจการค้าส่งและค้าปลีกมี NPL คงค้าง 257.5 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 16.12 ของ NPL ทั้งสิ้น
2. การเปลี่ยนแปลง NPL
2.1 การเปลี่ยนแปลง NPL ของระบบสถาบันการเงินในเดือนกรกฎาคม 2543 แสดงรายละเอียดได้ดังนี้
พันล้านบาท
2.1.1 NPL คงค้าง ณ สิ้นเดือน มิ.ย. 2543 1,615.9
2.1.2 NPL ที่เพิ่มขึ้นในเดือน ก.ค. 2543
- จำนวนใหม่ 23.6
- รายที่เคยปรับปรุงโครงสร้างหนี้ 18.1 41.7
2.1.3 NPL ที่ลดลงในเดือน ก.ค. 2543
- ปรับปรุงโครงสร้างหนี้ (45.6)
- เหตุผลอื่น (แสดงรายละเอียดในหมายเหตุ) (14.6) (60.2)
2.1.4 NPL ลดลงสุทธิในเดือน ก.ค. 2543 (18.5)
2.1.5 NPL คงค้าง ณ สิ้นเดือน ก.ค. 2543 1,597.4
หมายเหตุ เหตุผลอื่น ประกอบด้วย
1) NPL ที่มาชำระหนี้จนค้างไม่ถึง 3 เดือนจำนวน 8.0 พันล้านบาท
2) การตัดหนี้สูญจากสินเชื่อจัดชั้นสูญและสงสัยจะสูญที่สำรองครบร้อยละ 100 แล้วจำนวนประมาณ 1.0 พันล้านบาท
3) อื่น ๆ เช่น จำนวนเงินที่รับชำระหนี้ การตัดหนี้สูญเนื่องจากหมดสิทธิเรียกร้องการขายหนี้ เป็นต้น รวมเป็นจำนวน 5.6 พันล้านบาท2.2 การเปลี่ยนแปลง NPL ในเดือนกรกฎาคม 2543 พิจารณาตามกลุ่มสถาบันการเงินได้ดังนี้
2.2.1 ธนาคารเอกชนมี NPL เพิ่มขึ้นสุทธิ 1.8 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.31 ของ NPL ณ สิ้นเดือนก่อนซึ่งมีจำนวน 570.9 พันล้านบาท
2.2.2 ธนาคารของรัฐมี NPL ลดลงสุทธิ 22.3 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 2.37 ของ NPL ณ สิ้นเดือนก่อนซึ่งมีจำนวน 941.1 พันล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นผลจากการปรับปรุงโครงสร้างหนี้
2.2.3 สาขาธนาคารต่างประเทศมี NPL เพิ่มขึ้นสุทธิ 4.0 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 9.17 ของ NPL ณ สิ้นเดือนก่อนซึ่งมีจำนวน 43.2 พันล้านบาท
2.2.4 บริษัทเงินทุนมี NPL ลดลงสุทธิ 1.9 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3.08 ของ NPL ณ สิ้นเดือนก่อนซึ่งมีจำนวน 60.6 พันล้านบาท
2.3 การเปลี่ยนแปลง NPL ในเดือนกรกฎาคม 2543 พิจารณาตามประเภทธุรกิจ แสดงได้ดังนี้
2.3.1 NPL ที่เพิ่มขึ้นรายใหม่จำนวน 23.6 พันล้านบาท อยู่ในภาคอุตสาหกรรม 12.2 พันล้านบาท ธุรกิจการค้าส่งและค้าปลีก 2.5 พันล้านบาท และ การอุปโภคบริโภคส่วนบุคคล 2.4 พันล้านบาท
2.3.2 NPL ที่เพิ่มขึ้นจากรายที่เคยปรับปรุงโครงสร้างหนี้จำนวน 18.1 พันล้านบาท อยู่ในภาคอุตสาหกรรม 5.9 พันล้านบาท ธุรกิจการค้าส่งและค้าปลีก 2.8 พันล้านบาท และการอุปโภคบริโภคส่วนบุคคล 2.1 พันล้านบาท
3. การปรับปรุงโครงสร้างหนี้
การปรับปรุงโครงสร้างหนี้สำเร็จของระบบสถาบันการเงินที่เกิดขึ้นในเดือนกรกฎาคม 2543 มีจำนวนทั้งสิ้น 67.4 พันล้านบาท เป็นการปรับปรุงโครงสร้างหนี้จากหนี้ NPL จำนวน 45.6 พันล้านบาท ส่วนที่เหลือเป็นการปรับปรุงโครงสร้างหนี้จากหนี้ที่มีการค้างชำระเงินต้นหรือดอกเบี้ยไม่เกิน 3 เดือน
4. NPL ของสำนักงานวิเทศธนกิจของธนาคารต่างประเทศและบริษัทเครดิตฟองซิเอร์
ข้อมูล NPL และสินเชื่อรวมของระบบสถาบันการเงินที่ได้รายงานไว้ข้างต้นและที่ได้เคยรายงานในเดือนก่อนๆ มาโดยตลอดนั้น เป็นข้อมูล NPL และสินเชื่อรวมของธนาคารพาณิชย์ไทย สาขาธนาคารต่างประเทศและบริษัทเงินทุนเท่านั้น แต่เริ่มจากข้อมูลสิ้นเดือนกรกฎาคม 2543 เป็นต้นไป สำนักงานวิเทศธนกิจของธนาคารต่างประเทศและบริษัทเครดิตฟองซิเอร์ได้เริ่มมีการเปิดเผยข้อมูลยอดคงค้าง NPL ซึ่งรายละเอียดแสดงได้ดังนี้
4.1 สำนักงานวิเทศธนกิจของธนาคารต่างประเทศมี NPL คงค้างทั้งสิ้น 4.6 พันล้านบาท และ สินเชื่อรวม 72.1 พันล้านบาท NPL ต่อสินเชื่อรวมเท่ากับร้อยละ 6.41
4.2 บริษัทเครดิตฟองซิเอร์มี NPL คงค้างทั้งสิ้น 1.9 พันล้านบาท และสินเชื่อรวม 3.5 พันล้านบาท NPL ต่อสินเชื่อรวมเท่ากับร้อยละ 54.78
4.3 ระบบสถาบันการเงินรวมสำนักงานวิเทศธนกิจของธนาคารต่างประเทศและบริษัทเครดิตฟองซิเอร์มี NPL คงค้างทั้งสิ้น 1,604.0 พันล้านบาท และสินเชื่อรวม 5,182.8 พันล้านบาท NPL ต่อสินเชื่อรวมเท่ากับร้อยละ 30.95
5. ยอด NPL คงค้างหลังหักเงินสำรอง
5.1 ระบบสถาบันการเงิน (ไม่รวมสำนักงานวิเทศธนกิจของธนาคารต่างประเทศและบริษัทเครดิตฟองซิเอร์) ได้กันเงินสำรองสำหรับ NPL ส่วนที่ไม่มีหลักประกันรองรับจำนวน 603.0 พันล้านบาท ดังนั้น NPL หลังหักเงินสำรองจึงเท่ากับ 994.4 พันล้านบาท และสินเชื่อทั้งสิ้นหลังหักเงินสำรองเท่ากับ 4,504.1 พันล้านบาท NPL ลังหักเงินสำรองต่อสินเชื่อทั้งสิ้นหลังหักเงินสำรองเท่ากับร้อยละ 22.08
5.2 ระบบสถาบันการเงิน (รวมสำนักงานวิเทศธนกิจของธนาคารต่างประเทศและบริษัทเครดิตฟองซิเอร์) ได้กันเงินสำรองสำหรับ NPL ส่วนที่ไม่มีหลักประกันรองรับจำนวน 607.0 พันล้านบาท ดังนั้น NPL หลังหักเงินสำรองจึงเท่ากับ 997.0 พันล้านบาท และสินเชื่อทั้งสิ้นหลังหักเงินสำรองเท่ากับ 4,575.8 พันล้านบาท NPL ลังหักเงินสำรองต่อสินเชื่อทั้งสิ้นหลังหักเงินสำรองเท่ากับร้อยละ 21.79
--ธนาคารแห่งประเทศไทย4 กันยายน 2543--
-ยก-
1.1 ระบบสถาบันการเงินมี NPL คงค้าง ณ สิ้นเดือนกรกฎาคม 2543 ทั้งสิ้น 1,597.4 พันล้านบาท และสินเชื่อรวม 5,107.1 พันล้านบาท NPL ต่อสินเชื่อรวมเท่ากับร้อยละ 31.28
1.2 กลุ่มสถาบันการเงินมี NPL คงค้าง ณ สิ้นเดือนกรกฎาคม 2543 แยกแสดงรายกลุ่มได้ดังนี้
1.2.1 ธนาคารเอกชนมี NPL คงค้างทั้งสิ้น 572.7 พันล้านบาท และสินเชื่อรวม 2,651.8 พันล้านบาท NPL ต่อสินเชื่อรวมเท่ากับร้อยละ 21.59 1.2.2 ธนาคารของรัฐมี NPL คงค้างทั้งสิ้น 918.8 พันล้านบาท และสินเชื่อรวม 1,663.8 พันล้านบาท NPL ต่อสินเชื่อรวมเท่ากับร้อยละ 55.23
1.2.3 สาขาธนาคารต่างประเทศมี NPL คงค้างทั้งสิ้น 47.2 พันล้านบาท และสินเชื่อรวม 634.4 พันล้านบาท NPL ต่อสินเชื่อรวมเท่ากับร้อยละ 7.44
1.2.4 บริษัทเงินทุนมี NPL คงค้างทั้งสิ้น 58.8 พันล้านบาท และสินเชื่อรวม 157.1 พันล้านบาท NPL ต่อสินเชื่อรวมเท่ากับร้อยละ 37.41
1.3 ประเภทธุรกิจที่มี NPL คงค้าง ณ สิ้นเดือนกรกฎาคม 2543 จำนวนสูงแสดงได้ดังนี้
1.3.1 ภาคอุตสาหกรรมมี NPL คงค้าง 396.4 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 24.81 ของ NPL ทั้งสิ้น
1.3.2 ธุรกิจเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์มี NPL คงค้าง 291.6 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 18.25 ของ NPL ทั้งสิ้น
1.3.3 ธุรกิจการค้าส่งและค้าปลีกมี NPL คงค้าง 257.5 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 16.12 ของ NPL ทั้งสิ้น
2. การเปลี่ยนแปลง NPL
2.1 การเปลี่ยนแปลง NPL ของระบบสถาบันการเงินในเดือนกรกฎาคม 2543 แสดงรายละเอียดได้ดังนี้
พันล้านบาท
2.1.1 NPL คงค้าง ณ สิ้นเดือน มิ.ย. 2543 1,615.9
2.1.2 NPL ที่เพิ่มขึ้นในเดือน ก.ค. 2543
- จำนวนใหม่ 23.6
- รายที่เคยปรับปรุงโครงสร้างหนี้ 18.1 41.7
2.1.3 NPL ที่ลดลงในเดือน ก.ค. 2543
- ปรับปรุงโครงสร้างหนี้ (45.6)
- เหตุผลอื่น (แสดงรายละเอียดในหมายเหตุ) (14.6) (60.2)
2.1.4 NPL ลดลงสุทธิในเดือน ก.ค. 2543 (18.5)
2.1.5 NPL คงค้าง ณ สิ้นเดือน ก.ค. 2543 1,597.4
หมายเหตุ เหตุผลอื่น ประกอบด้วย
1) NPL ที่มาชำระหนี้จนค้างไม่ถึง 3 เดือนจำนวน 8.0 พันล้านบาท
2) การตัดหนี้สูญจากสินเชื่อจัดชั้นสูญและสงสัยจะสูญที่สำรองครบร้อยละ 100 แล้วจำนวนประมาณ 1.0 พันล้านบาท
3) อื่น ๆ เช่น จำนวนเงินที่รับชำระหนี้ การตัดหนี้สูญเนื่องจากหมดสิทธิเรียกร้องการขายหนี้ เป็นต้น รวมเป็นจำนวน 5.6 พันล้านบาท2.2 การเปลี่ยนแปลง NPL ในเดือนกรกฎาคม 2543 พิจารณาตามกลุ่มสถาบันการเงินได้ดังนี้
2.2.1 ธนาคารเอกชนมี NPL เพิ่มขึ้นสุทธิ 1.8 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 0.31 ของ NPL ณ สิ้นเดือนก่อนซึ่งมีจำนวน 570.9 พันล้านบาท
2.2.2 ธนาคารของรัฐมี NPL ลดลงสุทธิ 22.3 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 2.37 ของ NPL ณ สิ้นเดือนก่อนซึ่งมีจำนวน 941.1 พันล้านบาท ส่วนใหญ่เป็นผลจากการปรับปรุงโครงสร้างหนี้
2.2.3 สาขาธนาคารต่างประเทศมี NPL เพิ่มขึ้นสุทธิ 4.0 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 9.17 ของ NPL ณ สิ้นเดือนก่อนซึ่งมีจำนวน 43.2 พันล้านบาท
2.2.4 บริษัทเงินทุนมี NPL ลดลงสุทธิ 1.9 พันล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 3.08 ของ NPL ณ สิ้นเดือนก่อนซึ่งมีจำนวน 60.6 พันล้านบาท
2.3 การเปลี่ยนแปลง NPL ในเดือนกรกฎาคม 2543 พิจารณาตามประเภทธุรกิจ แสดงได้ดังนี้
2.3.1 NPL ที่เพิ่มขึ้นรายใหม่จำนวน 23.6 พันล้านบาท อยู่ในภาคอุตสาหกรรม 12.2 พันล้านบาท ธุรกิจการค้าส่งและค้าปลีก 2.5 พันล้านบาท และ การอุปโภคบริโภคส่วนบุคคล 2.4 พันล้านบาท
2.3.2 NPL ที่เพิ่มขึ้นจากรายที่เคยปรับปรุงโครงสร้างหนี้จำนวน 18.1 พันล้านบาท อยู่ในภาคอุตสาหกรรม 5.9 พันล้านบาท ธุรกิจการค้าส่งและค้าปลีก 2.8 พันล้านบาท และการอุปโภคบริโภคส่วนบุคคล 2.1 พันล้านบาท
3. การปรับปรุงโครงสร้างหนี้
การปรับปรุงโครงสร้างหนี้สำเร็จของระบบสถาบันการเงินที่เกิดขึ้นในเดือนกรกฎาคม 2543 มีจำนวนทั้งสิ้น 67.4 พันล้านบาท เป็นการปรับปรุงโครงสร้างหนี้จากหนี้ NPL จำนวน 45.6 พันล้านบาท ส่วนที่เหลือเป็นการปรับปรุงโครงสร้างหนี้จากหนี้ที่มีการค้างชำระเงินต้นหรือดอกเบี้ยไม่เกิน 3 เดือน
4. NPL ของสำนักงานวิเทศธนกิจของธนาคารต่างประเทศและบริษัทเครดิตฟองซิเอร์
ข้อมูล NPL และสินเชื่อรวมของระบบสถาบันการเงินที่ได้รายงานไว้ข้างต้นและที่ได้เคยรายงานในเดือนก่อนๆ มาโดยตลอดนั้น เป็นข้อมูล NPL และสินเชื่อรวมของธนาคารพาณิชย์ไทย สาขาธนาคารต่างประเทศและบริษัทเงินทุนเท่านั้น แต่เริ่มจากข้อมูลสิ้นเดือนกรกฎาคม 2543 เป็นต้นไป สำนักงานวิเทศธนกิจของธนาคารต่างประเทศและบริษัทเครดิตฟองซิเอร์ได้เริ่มมีการเปิดเผยข้อมูลยอดคงค้าง NPL ซึ่งรายละเอียดแสดงได้ดังนี้
4.1 สำนักงานวิเทศธนกิจของธนาคารต่างประเทศมี NPL คงค้างทั้งสิ้น 4.6 พันล้านบาท และ สินเชื่อรวม 72.1 พันล้านบาท NPL ต่อสินเชื่อรวมเท่ากับร้อยละ 6.41
4.2 บริษัทเครดิตฟองซิเอร์มี NPL คงค้างทั้งสิ้น 1.9 พันล้านบาท และสินเชื่อรวม 3.5 พันล้านบาท NPL ต่อสินเชื่อรวมเท่ากับร้อยละ 54.78
4.3 ระบบสถาบันการเงินรวมสำนักงานวิเทศธนกิจของธนาคารต่างประเทศและบริษัทเครดิตฟองซิเอร์มี NPL คงค้างทั้งสิ้น 1,604.0 พันล้านบาท และสินเชื่อรวม 5,182.8 พันล้านบาท NPL ต่อสินเชื่อรวมเท่ากับร้อยละ 30.95
5. ยอด NPL คงค้างหลังหักเงินสำรอง
5.1 ระบบสถาบันการเงิน (ไม่รวมสำนักงานวิเทศธนกิจของธนาคารต่างประเทศและบริษัทเครดิตฟองซิเอร์) ได้กันเงินสำรองสำหรับ NPL ส่วนที่ไม่มีหลักประกันรองรับจำนวน 603.0 พันล้านบาท ดังนั้น NPL หลังหักเงินสำรองจึงเท่ากับ 994.4 พันล้านบาท และสินเชื่อทั้งสิ้นหลังหักเงินสำรองเท่ากับ 4,504.1 พันล้านบาท NPL ลังหักเงินสำรองต่อสินเชื่อทั้งสิ้นหลังหักเงินสำรองเท่ากับร้อยละ 22.08
5.2 ระบบสถาบันการเงิน (รวมสำนักงานวิเทศธนกิจของธนาคารต่างประเทศและบริษัทเครดิตฟองซิเอร์) ได้กันเงินสำรองสำหรับ NPL ส่วนที่ไม่มีหลักประกันรองรับจำนวน 607.0 พันล้านบาท ดังนั้น NPL หลังหักเงินสำรองจึงเท่ากับ 997.0 พันล้านบาท และสินเชื่อทั้งสิ้นหลังหักเงินสำรองเท่ากับ 4,575.8 พันล้านบาท NPL ลังหักเงินสำรองต่อสินเชื่อทั้งสิ้นหลังหักเงินสำรองเท่ากับร้อยละ 21.79
--ธนาคารแห่งประเทศไทย4 กันยายน 2543--
-ยก-