__นายอาคม เอ่งฉ้วน รัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้กล่าวถึงทิศทางการพัฒนาปศุสัตว์ไทยใน ทศวรรษ หน้า จากงานมหกรรมเกษตร 2000 เมื่อ วันที่ 2 พฤษภาคม 2543 โดยสรุปแนวทางที่สำคัมอบให้ กรมปศุสัตว์เตรียมการใน 10 ปีข้างหน้า ดังนี้
1.ความเป็นประเทศผู้ส่งออกปศุสัตว์รายให่ของโลก ประเทศไทย ในอีก 5 ปี หรือ 10 ปี ข้างหน้า จะต้องเป็นเขต ปลอดโรคปากและเท้าเปื่อยทั้งประเทศ ซึ่งเป็นความพยายามของกรมปศุสัตว์ที่ทำมานานพอสมควร ซึ่งเชื่อมั่นว่า กรมปศุสัตว์มีศักยภาพที่จะทำได้
2.ถึงเวลาที่คนไทยทั้งประเทศ จะต้องได้รับความคุ้มครองจากการบริโภคสินค้าปศุสัตว์ที่ได้คุณภาพมาตรฐานแ ละ ปลอดภัย ซึ่งเรื่องนี้มีความสำคัมาก เพราะเป็นนโยบายของรัฐบาลชุดนี้ที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติ เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2542 เห็นชอบในหลักการโครงการรณรงค์ เพื่อผลิตสินค้าเกษตรที่ได้คุณภาพมาตรฐาน และปลอดภัยต่อ การบริโภคปี 2543 - 2545 และได้สั่งการให้กรมปศุสัตว์เร่งดำเนินการ เรื่อง เนื้อสัตว์ไร้สารปนเปื้อน เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2543
3.ปัหาการขาดแคลนโค - กระบือเป็นสาเหตุสำคัที่มีการลักลอบนำโค-กระบือ
จากประเทศ เพื่อน บ้าน ปีละ 300,000 -400,000ตัวขณะเดียวกันมีการลักลอบนำเข้าขนเนื้อสัตว์จากประเทศอินเดียออส เตรเลียทำกันเป็นขบวน การ ซึ่งทำให้ประเทศชาติเสียหาย ดังนั้นการแก้ไขปัญ หากรมปศุสัตว์จะต้องเร่งส่งเสริมการเลี้ยง โค-กระบือ ในเชิง ธุรกิจเพื่อทดแทนการลักลอบนำเข้ามา โดยความร่วมมือกับธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ หรือจัดทำเป็นโครง การพิเศษโดยความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี ทั้งนี้เพื่อสร้างประชากรโค-กระบือ เพิ่มขึ้นอีก 5-10 ล้านตัว ในเวลา อีก 10 ปีข้างหน้า
4.การผลิตปศุสัตว์ภายในครัวเรือนเป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญ ของเศรษฐกิจแบบพอเพียง เป็นนโยบายสำคัที่กรม ปศุสัตว์ จะต้องดำเนินการอย่างยั่งยืน เพื่อการบริโภคอาหารอย่างเพียงพอ และกระจายทั้งครัวเรือน และโรงเรียน ทั่ว ประเทศ
5.การผลิตปศุสัตว์เพื่อการส่งออกในอีก 10 ปีข้างหน้า รายได้จากกรมปศุสัตว์อาจจะเพิ่มถึง 100,000 ล้านบาท แต่ทั้งนี้ต้องอยู่บนพื้นฐานการผลิตที่มีประสิทธิภาพ ต้นทุนต่ำ มีมาตรฐานปฎิบัติตาม Animal walfare ที่ EU กำหนดบังคับใช้ ทั้งนี้กรมปศุสัตว์ควรจะเร่งรัดอนุกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ทั้ง 9 แผนให้แล้วเสร็จและนำเสนอ ยุทธศาสตร์การผลิตปศุสัตว์เพื่อการส่งออก โดยร่วมมือกับกระทรวงอุตสาหกรรม เพื่อจัดทำวาระแห่งชาติ โดย ความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี ต่อไป.--จบ--
1.ความเป็นประเทศผู้ส่งออกปศุสัตว์รายให่ของโลก ประเทศไทย ในอีก 5 ปี หรือ 10 ปี ข้างหน้า จะต้องเป็นเขต ปลอดโรคปากและเท้าเปื่อยทั้งประเทศ ซึ่งเป็นความพยายามของกรมปศุสัตว์ที่ทำมานานพอสมควร ซึ่งเชื่อมั่นว่า กรมปศุสัตว์มีศักยภาพที่จะทำได้
2.ถึงเวลาที่คนไทยทั้งประเทศ จะต้องได้รับความคุ้มครองจากการบริโภคสินค้าปศุสัตว์ที่ได้คุณภาพมาตรฐานแ ละ ปลอดภัย ซึ่งเรื่องนี้มีความสำคัมาก เพราะเป็นนโยบายของรัฐบาลชุดนี้ที่คณะรัฐมนตรีได้มีมติ เมื่อวันที่ 14 ธันวาคม 2542 เห็นชอบในหลักการโครงการรณรงค์ เพื่อผลิตสินค้าเกษตรที่ได้คุณภาพมาตรฐาน และปลอดภัยต่อ การบริโภคปี 2543 - 2545 และได้สั่งการให้กรมปศุสัตว์เร่งดำเนินการ เรื่อง เนื้อสัตว์ไร้สารปนเปื้อน เมื่อวันที่ 17 กุมภาพันธ์ 2543
3.ปัหาการขาดแคลนโค - กระบือเป็นสาเหตุสำคัที่มีการลักลอบนำโค-กระบือ
จากประเทศ เพื่อน บ้าน ปีละ 300,000 -400,000ตัวขณะเดียวกันมีการลักลอบนำเข้าขนเนื้อสัตว์จากประเทศอินเดียออส เตรเลียทำกันเป็นขบวน การ ซึ่งทำให้ประเทศชาติเสียหาย ดังนั้นการแก้ไขปัญ หากรมปศุสัตว์จะต้องเร่งส่งเสริมการเลี้ยง โค-กระบือ ในเชิง ธุรกิจเพื่อทดแทนการลักลอบนำเข้ามา โดยความร่วมมือกับธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ หรือจัดทำเป็นโครง การพิเศษโดยความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี ทั้งนี้เพื่อสร้างประชากรโค-กระบือ เพิ่มขึ้นอีก 5-10 ล้านตัว ในเวลา อีก 10 ปีข้างหน้า
4.การผลิตปศุสัตว์ภายในครัวเรือนเป็นส่วนหนึ่งที่สำคัญ ของเศรษฐกิจแบบพอเพียง เป็นนโยบายสำคัที่กรม ปศุสัตว์ จะต้องดำเนินการอย่างยั่งยืน เพื่อการบริโภคอาหารอย่างเพียงพอ และกระจายทั้งครัวเรือน และโรงเรียน ทั่ว ประเทศ
5.การผลิตปศุสัตว์เพื่อการส่งออกในอีก 10 ปีข้างหน้า รายได้จากกรมปศุสัตว์อาจจะเพิ่มถึง 100,000 ล้านบาท แต่ทั้งนี้ต้องอยู่บนพื้นฐานการผลิตที่มีประสิทธิภาพ ต้นทุนต่ำ มีมาตรฐานปฎิบัติตาม Animal walfare ที่ EU กำหนดบังคับใช้ ทั้งนี้กรมปศุสัตว์ควรจะเร่งรัดอนุกรรมการจัดทำยุทธศาสตร์ทั้ง 9 แผนให้แล้วเสร็จและนำเสนอ ยุทธศาสตร์การผลิตปศุสัตว์เพื่อการส่งออก โดยร่วมมือกับกระทรวงอุตสาหกรรม เพื่อจัดทำวาระแห่งชาติ โดย ความเห็นชอบจากคณะรัฐมนตรี ต่อไป.--จบ--