ความต้องการใช้
1. ความต้องการใช้ภายในประเทศ มีปริมาณรวมทั้งสิ้น 2,946 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 98.2 ล้านลิตร หรือ 617,573 บาร์เรล/วัน โดยน้ำมันดีเซลหมุนเร็วมีความต้องการใช้สูงสุด วันละ 40.5 ล้านลิตร หรือคิดเป็นร้อยละ 41.2 น้ำมันเบนซิน วันละ 19.2 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 19.6 น้ำมันเตา วันละ 19.0 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 19.3 ก๊าซแอลพีจี วันละ 9.8 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 10.0 เจพี1 วันละ 9.1 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 9.2 และน้ำมันอื่น ๆ วันละ 0.6 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 0.7
เปรียบเทียบความต้องการใช้โดยรวม
- เพิ่มขึ้นจากเดือน ต.ค. ที่ผ่านมาวันละ 3.6 ล้านลิตร หรือคิดเป็นร้อยละ 0.4
- เพิ่มขึ้นจากเดือน พ.ย. ปีก่อนวันละ 2.8 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 2.9
ส่วนแบ่งการตลาดของผู้ค้าน้ำมันประจำเดือนพฤศจิกายน 2542 ปตท. มีส่วนแบ่งการตลาดมากที่สุดเป็นอันดับ 1 รองลงมา คือ เชลล์, และเอสโซ่ มีส่วนแบ่งการตลาดใกล้เคียงกันมาก บางจาก, คาลเท็กซ์ และอื่น ๆ ตามลำดับ มีรายละเอียดดังนี้
ปตท. วันละ 31.9 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 32.5
เชลล์ วันละ 12.6 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 12.8
เอสโซ่ วันละ 12.6 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 12.8
บางจาก วันละ 7.7 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 7.8
คาลเท็กซ์ วันละ 7.3 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 7.4
และเป็นของผู้ค้ารายอื่น ๆ รวมกัน วันละ 26.1 ล้านลิตร หรือร้อยละ 26.6
2. การส่งออกไปต่างประเทศ มีการส่งออกน้ำมันสำเร็จรูป, น้ำมันองค์ประกอบและน้ำมันดิบไปต่างประเทศ รวมปริมาณ 769 ล้านลิตร โดยจำแนกเป็น
- น้ำมันสำเร็จรูป 625 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 20.8 ล้านลิตร หรือ 131,016 บาร์เรล/วัน ส่วนใหญ่ส่งออกไปแถบภูมิภาคเอเชีย ยกเว้นน้ำมันดีเซลหมุนเร็ว มีบางส่วนส่งไปยังซาอุดิอารเบีย เมื่อเปรียบเทียบกับเดือน ต.ค. ที่ผ่านมามีการส่งออกเพิ่มขึ้น วันละ 0.5 ล้านลิตร หรือ 31,532 บาร์เรล/วัน คิดเป็น ร้อยละ 27.4 เพิ่มขึ้นจากเดือน พ.ย. ปีก่อน วันละ 13.1 ล้านลิตร หรือ 82,493 บาร์เรล/วัน คิดเป็น ร้อยละ 170.0
- น้ำมันองค์ประกอบ 88 ล้านลิตร ส่งไปยังประเทศสิงคโปร์, ไต้หวัน และเกาหลี
- น้ำมันดิบ (NGL และคอนเดนเสท) 56 ล้านลิตร ส่งไปยังประเทศสิงคโปร์
การจัดหา
1. การผลิต ปริมาณ 3,404 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 113.5 ล้านลิตร หรือ 713,714 บาร์เรล/วัน โดยน้ำมันดีเซลหมุนเร็ว มีสัดส่วนการผลิตมากที่สุดร้อยละ 36.0 รองลงมาได้แก่ น้ำมันเบนซิน, น้ำมันเตา, เจพี1, ก๊าซแอลพีจีและน้ำมันอื่น ๆ คิดเป็น ร้อยละ 20, 17.8, 12.1, 12 และ 2.1 ตามลำดับ
1.1 จากโรงกลั่น ปริมาณ 3,170 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 105.7 ล้านลิตร หรือ 664,667 บาร์เรล/วัน ลดลงจากเดือน ต.ค. ที่ผ่านมา 75.0 ล้านลิตร เพิ่มขึ้นจากเดือน พ.ย. ปีก่อน 671.0 ล้านลิตร
1.2 จากโรงแยกก๊าซฯ ปริมาณ 114.4 พันเมตริกตัน เฉลี่ยวันละ 3.8 พันเมตริกตัน หรือ 44,423 บาร์เรล/วัน ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงจากเดือนที่ผ่านมาและช่วงเดียวกันของปีก่อนเล็กน้อย
1.3 อุตสาหกรรมปิโตรเคมี มีปริมาณ 11.9 พันเมตริกตัน เฉลี่ยวันละ 397.0 เมตริกตัน หรือ 4,623 บาร์เรล/วัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเดือน ต.ค. ที่ผ่านมา 2.0 พันเมตริกตัน เพิ่มขึ้นจากเดือน พ.ย. ปีก่อน 2.6 พันเมตริกตัน
2. การนำเข้า มีการนำเข้าน้ำมันดิบและน้ำมันสำเร็จรูปรวมทั้งสิ้นปริมาณ 3,268 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 109.0 ล้านลิตร หรือ 685,158 บาร์เรล/วัน มูลค่าการนำเข้ารวม 19,135 ล้านบาท (ไม่รวม MTBE ที่นำมาผสมเป็นน้ำมันเบนซิน และแนฟธ่า ที่ใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี มูลค่า 578 ล้านบาท)
2.1 น้ำมันดิบ ปริมาณ 3,156 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 105.2 ล้านลิตร หรือ 661,662 บาร์เรล/วัน มูลค่าการนำเข้า 18,397 ล้านบาท โดยแยกรายละเอียดได้ดังนี้
ปริมาณและแหล่งนำเข้าน้ำมันดิบ
แหล่งนำเข้า ปริมาณ/ล้านลิตร ราคาเฉลี่ย (US$/บาเรล) ร้อยละ
ตะวันออกกลาง 2,310 23.57 73.2
ตะวันออกไกล 493 24.34 15.6
อื่น ๆ 353 24.77 11.2
รวม 3,156 23.86 100.0
- ปริมาณเพิ่มขึ้นจากเดือน ต.ค. ที่ผ่านมา วันละ 3.5 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 0.2 มูลค่าการนำเข้าเพิ่มขึ้น 217 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.2
- ปริมาณเพิ่มขึ้นจากเดือน พ.ย. ปีก่อนวันละ 20.7 ล้านลิตร หรือคิดเป็นร้อยละ 24.4 มูลค่าการนำเข้าเพิ่มขึ้น 9,673 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 110.9 แม้ว่าค่าเงินบาทจะปรับตัวแข็งขึ้นเล็กน้อยแต่มูลค่าการนำเข้ายังคงเพิ่มขึ้นเนื่องจาก
1. ราคาน้ำมันดิบปรับตัวสูงขึ้น
2. ปริมาณนำเข้าเพิ่มมากขึ้น
2.2 น้ำมันสำเร็จรูป ปริมาณ 112 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 3.7 ล้านลิตร หรือ 23,536 บาร์เรล/วัน มูลค่าการนำเข้า 738 ล้านบาท โดยน้ำมันดีเซลหมุนเร็วนำเข้าสูงสุด ร้อยละ 95.1 ของปริมาณนำเข้าทั้งหมด น้ำมันเบนซิน ร้อยละ 3.1 น้ำมันอากาศยาน 1.8
- ปริมาณลดลงจากเดือน ต.ค. ที่ผ่านมาวันละ 1.2 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 27.0 มูลค่าการนำเข้าลดลง 189 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 20.4
- ปริมาณลดลงจากเดือน พ.ย. ปีก่อนวันละ 1.8 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 32.2 มูลค่าการนำเข้าเพิ่มขึ้น 219 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 42.3
ปริมาณการจำหน่ายและการจัดหาน้ำมันเชื้อเพลิง
มกราคม - พฤศจิกายน 2542
น้ำมันสำเร็จรูป
1. การจำหน่าย
1.1 จำหน่ายภายในประเทศ มีปริมาณ 33,800 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 101.2 ล้านลิตร หรือ 636,523 บาร์เรล/วัน ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 87.8 ของปริมาณน้ำมันสำเร็จรูปที่ผลิตได้ภายในประเทศ โดยลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อน วันละ 0.3 ล้านลิตร หรือร้อยละ 0.6
1.2 การส่งออก มีปริมาณ 6,138 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 18.4 ล้านลิตร หรือ 115,586 บาร์เรล/วัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนวันละ 3.3 ล้านลิตร หรือร้อยละ 22.2
2. การจัดหา
การจัดหาปริมาณรวมทั้งสิ้น 40,283 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 120.6 ล้านลิตร หรือ 758,612 บาร์เรล/วัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนวันละ 5.4 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 4.6
2.1 การผลิตภายในประเทศ มีปริมาณรวม 38,487 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 115.2 ล้านลิตร หรือ 724,784 บาร์เรล/วัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนวันละ 4.0 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 3.6
2.2 การนำเข้าจากต่างประเทศ มีปริมาณรวมทั้งสิ้น 1,796 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 5.4 ล้านลิตร หรือ 33,828 บาร์เรล/วัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน วันละ 1.4 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 34.7
น้ำมันดิบ
มีปริมาณการนำเข้ารวม 37,150 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 111.2 ล้านลิตร หรือ 699,622 บาร์เรล/วัน มาจากแหล่งตะวันออกกลาง ร้อยละ 80.4 ตะวันออกไกลร้อยละ 14.6 และแหล่งอื่น ๆ ร้อยละ 5.0 มูลค่าการนำเข้ารวม 149,114 ล้านบาท โดยปริมาณเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนวันละ 4.0 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 3.7 มูลค่าเพิ่มขึ้น 10,917 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 14.6
--กองน้ำมันเชื้อเพลิง กรมทะเบียนการค้า--
1. ความต้องการใช้ภายในประเทศ มีปริมาณรวมทั้งสิ้น 2,946 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 98.2 ล้านลิตร หรือ 617,573 บาร์เรล/วัน โดยน้ำมันดีเซลหมุนเร็วมีความต้องการใช้สูงสุด วันละ 40.5 ล้านลิตร หรือคิดเป็นร้อยละ 41.2 น้ำมันเบนซิน วันละ 19.2 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 19.6 น้ำมันเตา วันละ 19.0 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 19.3 ก๊าซแอลพีจี วันละ 9.8 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 10.0 เจพี1 วันละ 9.1 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 9.2 และน้ำมันอื่น ๆ วันละ 0.6 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 0.7
เปรียบเทียบความต้องการใช้โดยรวม
- เพิ่มขึ้นจากเดือน ต.ค. ที่ผ่านมาวันละ 3.6 ล้านลิตร หรือคิดเป็นร้อยละ 0.4
- เพิ่มขึ้นจากเดือน พ.ย. ปีก่อนวันละ 2.8 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 2.9
ส่วนแบ่งการตลาดของผู้ค้าน้ำมันประจำเดือนพฤศจิกายน 2542 ปตท. มีส่วนแบ่งการตลาดมากที่สุดเป็นอันดับ 1 รองลงมา คือ เชลล์, และเอสโซ่ มีส่วนแบ่งการตลาดใกล้เคียงกันมาก บางจาก, คาลเท็กซ์ และอื่น ๆ ตามลำดับ มีรายละเอียดดังนี้
ปตท. วันละ 31.9 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 32.5
เชลล์ วันละ 12.6 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 12.8
เอสโซ่ วันละ 12.6 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 12.8
บางจาก วันละ 7.7 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 7.8
คาลเท็กซ์ วันละ 7.3 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 7.4
และเป็นของผู้ค้ารายอื่น ๆ รวมกัน วันละ 26.1 ล้านลิตร หรือร้อยละ 26.6
2. การส่งออกไปต่างประเทศ มีการส่งออกน้ำมันสำเร็จรูป, น้ำมันองค์ประกอบและน้ำมันดิบไปต่างประเทศ รวมปริมาณ 769 ล้านลิตร โดยจำแนกเป็น
- น้ำมันสำเร็จรูป 625 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 20.8 ล้านลิตร หรือ 131,016 บาร์เรล/วัน ส่วนใหญ่ส่งออกไปแถบภูมิภาคเอเชีย ยกเว้นน้ำมันดีเซลหมุนเร็ว มีบางส่วนส่งไปยังซาอุดิอารเบีย เมื่อเปรียบเทียบกับเดือน ต.ค. ที่ผ่านมามีการส่งออกเพิ่มขึ้น วันละ 0.5 ล้านลิตร หรือ 31,532 บาร์เรล/วัน คิดเป็น ร้อยละ 27.4 เพิ่มขึ้นจากเดือน พ.ย. ปีก่อน วันละ 13.1 ล้านลิตร หรือ 82,493 บาร์เรล/วัน คิดเป็น ร้อยละ 170.0
- น้ำมันองค์ประกอบ 88 ล้านลิตร ส่งไปยังประเทศสิงคโปร์, ไต้หวัน และเกาหลี
- น้ำมันดิบ (NGL และคอนเดนเสท) 56 ล้านลิตร ส่งไปยังประเทศสิงคโปร์
การจัดหา
1. การผลิต ปริมาณ 3,404 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 113.5 ล้านลิตร หรือ 713,714 บาร์เรล/วัน โดยน้ำมันดีเซลหมุนเร็ว มีสัดส่วนการผลิตมากที่สุดร้อยละ 36.0 รองลงมาได้แก่ น้ำมันเบนซิน, น้ำมันเตา, เจพี1, ก๊าซแอลพีจีและน้ำมันอื่น ๆ คิดเป็น ร้อยละ 20, 17.8, 12.1, 12 และ 2.1 ตามลำดับ
1.1 จากโรงกลั่น ปริมาณ 3,170 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 105.7 ล้านลิตร หรือ 664,667 บาร์เรล/วัน ลดลงจากเดือน ต.ค. ที่ผ่านมา 75.0 ล้านลิตร เพิ่มขึ้นจากเดือน พ.ย. ปีก่อน 671.0 ล้านลิตร
1.2 จากโรงแยกก๊าซฯ ปริมาณ 114.4 พันเมตริกตัน เฉลี่ยวันละ 3.8 พันเมตริกตัน หรือ 44,423 บาร์เรล/วัน ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงจากเดือนที่ผ่านมาและช่วงเดียวกันของปีก่อนเล็กน้อย
1.3 อุตสาหกรรมปิโตรเคมี มีปริมาณ 11.9 พันเมตริกตัน เฉลี่ยวันละ 397.0 เมตริกตัน หรือ 4,623 บาร์เรล/วัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเดือน ต.ค. ที่ผ่านมา 2.0 พันเมตริกตัน เพิ่มขึ้นจากเดือน พ.ย. ปีก่อน 2.6 พันเมตริกตัน
2. การนำเข้า มีการนำเข้าน้ำมันดิบและน้ำมันสำเร็จรูปรวมทั้งสิ้นปริมาณ 3,268 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 109.0 ล้านลิตร หรือ 685,158 บาร์เรล/วัน มูลค่าการนำเข้ารวม 19,135 ล้านบาท (ไม่รวม MTBE ที่นำมาผสมเป็นน้ำมันเบนซิน และแนฟธ่า ที่ใช้เป็นวัตถุดิบในอุตสาหกรรมปิโตรเคมี มูลค่า 578 ล้านบาท)
2.1 น้ำมันดิบ ปริมาณ 3,156 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 105.2 ล้านลิตร หรือ 661,662 บาร์เรล/วัน มูลค่าการนำเข้า 18,397 ล้านบาท โดยแยกรายละเอียดได้ดังนี้
ปริมาณและแหล่งนำเข้าน้ำมันดิบ
แหล่งนำเข้า ปริมาณ/ล้านลิตร ราคาเฉลี่ย (US$/บาเรล) ร้อยละ
ตะวันออกกลาง 2,310 23.57 73.2
ตะวันออกไกล 493 24.34 15.6
อื่น ๆ 353 24.77 11.2
รวม 3,156 23.86 100.0
- ปริมาณเพิ่มขึ้นจากเดือน ต.ค. ที่ผ่านมา วันละ 3.5 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 0.2 มูลค่าการนำเข้าเพิ่มขึ้น 217 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 1.2
- ปริมาณเพิ่มขึ้นจากเดือน พ.ย. ปีก่อนวันละ 20.7 ล้านลิตร หรือคิดเป็นร้อยละ 24.4 มูลค่าการนำเข้าเพิ่มขึ้น 9,673 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 110.9 แม้ว่าค่าเงินบาทจะปรับตัวแข็งขึ้นเล็กน้อยแต่มูลค่าการนำเข้ายังคงเพิ่มขึ้นเนื่องจาก
1. ราคาน้ำมันดิบปรับตัวสูงขึ้น
2. ปริมาณนำเข้าเพิ่มมากขึ้น
2.2 น้ำมันสำเร็จรูป ปริมาณ 112 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 3.7 ล้านลิตร หรือ 23,536 บาร์เรล/วัน มูลค่าการนำเข้า 738 ล้านบาท โดยน้ำมันดีเซลหมุนเร็วนำเข้าสูงสุด ร้อยละ 95.1 ของปริมาณนำเข้าทั้งหมด น้ำมันเบนซิน ร้อยละ 3.1 น้ำมันอากาศยาน 1.8
- ปริมาณลดลงจากเดือน ต.ค. ที่ผ่านมาวันละ 1.2 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 27.0 มูลค่าการนำเข้าลดลง 189 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 20.4
- ปริมาณลดลงจากเดือน พ.ย. ปีก่อนวันละ 1.8 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 32.2 มูลค่าการนำเข้าเพิ่มขึ้น 219 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 42.3
ปริมาณการจำหน่ายและการจัดหาน้ำมันเชื้อเพลิง
มกราคม - พฤศจิกายน 2542
น้ำมันสำเร็จรูป
1. การจำหน่าย
1.1 จำหน่ายภายในประเทศ มีปริมาณ 33,800 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 101.2 ล้านลิตร หรือ 636,523 บาร์เรล/วัน ซึ่งคิดเป็นร้อยละ 87.8 ของปริมาณน้ำมันสำเร็จรูปที่ผลิตได้ภายในประเทศ โดยลดลงจากช่วงเดียวกันของปีก่อน วันละ 0.3 ล้านลิตร หรือร้อยละ 0.6
1.2 การส่งออก มีปริมาณ 6,138 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 18.4 ล้านลิตร หรือ 115,586 บาร์เรล/วัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนวันละ 3.3 ล้านลิตร หรือร้อยละ 22.2
2. การจัดหา
การจัดหาปริมาณรวมทั้งสิ้น 40,283 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 120.6 ล้านลิตร หรือ 758,612 บาร์เรล/วัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนวันละ 5.4 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 4.6
2.1 การผลิตภายในประเทศ มีปริมาณรวม 38,487 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 115.2 ล้านลิตร หรือ 724,784 บาร์เรล/วัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนวันละ 4.0 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 3.6
2.2 การนำเข้าจากต่างประเทศ มีปริมาณรวมทั้งสิ้น 1,796 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 5.4 ล้านลิตร หรือ 33,828 บาร์เรล/วัน เพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อน วันละ 1.4 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 34.7
น้ำมันดิบ
มีปริมาณการนำเข้ารวม 37,150 ล้านลิตร เฉลี่ยวันละ 111.2 ล้านลิตร หรือ 699,622 บาร์เรล/วัน มาจากแหล่งตะวันออกกลาง ร้อยละ 80.4 ตะวันออกไกลร้อยละ 14.6 และแหล่งอื่น ๆ ร้อยละ 5.0 มูลค่าการนำเข้ารวม 149,114 ล้านบาท โดยปริมาณเพิ่มขึ้นจากช่วงเดียวกันของปีก่อนวันละ 4.0 ล้านลิตร คิดเป็นร้อยละ 3.7 มูลค่าเพิ่มขึ้น 10,917 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 14.6
--กองน้ำมันเชื้อเพลิง กรมทะเบียนการค้า--