สุกร
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ ภาวะการซื้อขายยังไม่เปลี่ยนแปลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา ผลผลิตยังเข้าสู่ตลาดอย่างต่อเนื่อง แต่ก็มีแนวโน้มลดลงเพราะสภาพอากาศที่ร้อนขึ้น ทำให้ราคามีโอกาสปรับตัวสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไปราคาที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 31.37 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 31.36 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.03 โดยแยกเป็นรายภาค ดังนี้ คือ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 32.35 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 29.98 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 30.12 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 35.13 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้มีราคาอยู่ที่ตัวละ 650 บาท ลดลงจากตัวละ 780 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 13.33
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 31.00 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.61 ส่วนราคาขายส่งสุกรชำแหละ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.75 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 40.25 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.24 ไก่เนื้อ สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ สถานการณ์โดยรวมยังทรงตัวอยู่ แม้ว่าราคาจะปรับตัวลดลงเพราะเริ่มเข้าสู่ช่วงปิดภาคเรียนขอสถานศึกษาต่าง ๆ ที่ความต้องการบริโภคลดน้อยลง แต่จากสภาพอากาศที่ร้อนขึ้นในขณะนี้ ทำให้ผลผลิตมีแนวโน้มลดลง คาดว่าราคาไก่เนื้อจะทรงตัวไปจนถึงอ่อนตัวลงเล็กน้อยราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่
เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 26.94 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 27.58 บาทของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.32 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้คือภาคเหนือ กิโลกรัมละ 28.91 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 26.19 บาทภาคกลางกิโลกรัมละ 25.40 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 29.90 บาท ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี มีราคาอยู่ที่ตัวละ 10.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 24.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 25.75 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.85 ส่วนราคาขายส่งไก่สด เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 36.50 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.48 ไข่ไก่ สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ ตลาดไข่ไก่ยังปรับตัวสูงขึ้นอีก เพราะผลผลิตที่ลดน้อยลง ประกอบกับสามารถส่งออกไปตลาดฮ่องกงได้มากขึ้น เพราะสภาพอากาศที่หนาวจัดในเนเธอร์แลนด์ทำให้ผลผลิตไข่ไก่มีไม่เพียงพอที่จะส่งออกไปฮ่องกง จึงเป็นโอกาสของผู้ส่งออกไทยและส่งผลให้ตลาดไข่ไก่ในประเทศคล่องตัว ราคาเริ่มปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นอีก
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่
ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 156 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 151 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.31 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ คือภาคเหนือร้อยฟองละ 150 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 171 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 153 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 156 บาท ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี.อยู่ที่ตัวละ 11 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 185 บาทสูงขึ้นจากร้อยฟองละ 176 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.11 ไข่เป็ด ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 176 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 170 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.53 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ คือภาคเหนือร้อยฟองละ 173 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 175 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 182 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 161 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 255 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 244 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.08 โค ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ ราคาโค (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 39.36 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 38.80 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.44 กระบือ ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 27.42 บาท
ลดลงจากกิโลกรัมละ 27.45 ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.11
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 8 ประจำวันที่ 26 ก.พ.- 4 มี.ค. 2544--
-สส-
สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ ภาวะการซื้อขายยังไม่เปลี่ยนแปลงจากสัปดาห์ที่ผ่านมา ผลผลิตยังเข้าสู่ตลาดอย่างต่อเนื่อง แต่ก็มีแนวโน้มลดลงเพราะสภาพอากาศที่ร้อนขึ้น ทำให้ราคามีโอกาสปรับตัวสูงขึ้น
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
สุกรมีชีวิตพันธุ์ผสมน้ำหนัก 100 กิโลกรัมขึ้นไปราคาที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 31.37 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 31.36 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.03 โดยแยกเป็นรายภาค ดังนี้ คือ ภาคเหนือ กิโลกรัมละ 32.35 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือกิโลกรัมละ 29.98 บาท ภาคกลางกิโลกรัมละ 30.12 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 35.13 บาท ส่วนราคาลูกสุกรตามประกาศของบริษัท ซี.พี ในสัปดาห์นี้มีราคาอยู่ที่ตัวละ 650 บาท ลดลงจากตัวละ 780 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 13.33
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งสุกรมีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯจากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 30.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 31.00 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.61 ส่วนราคาขายส่งสุกรชำแหละ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 39.75 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 40.25 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.24 ไก่เนื้อ สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ สถานการณ์โดยรวมยังทรงตัวอยู่ แม้ว่าราคาจะปรับตัวลดลงเพราะเริ่มเข้าสู่ช่วงปิดภาคเรียนขอสถานศึกษาต่าง ๆ ที่ความต้องการบริโภคลดน้อยลง แต่จากสภาพอากาศที่ร้อนขึ้นในขณะนี้ ทำให้ผลผลิตมีแนวโน้มลดลง คาดว่าราคาไก่เนื้อจะทรงตัวไปจนถึงอ่อนตัวลงเล็กน้อยราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไก่
เนื้อที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 26.94 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 27.58 บาทของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 2.32 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้คือภาคเหนือ กิโลกรัมละ 28.91 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กิโลกรัมละ 26.19 บาทภาคกลางกิโลกรัมละ 25.40 บาท และภาคใต้กิโลกรัมละ 29.90 บาท ส่วนราคาลูกไก่เนื้อตามประกาศของบริษัท ซี.พี มีราคาอยู่ที่ตัวละ 10.50 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งไก่มีชีวิตในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยกิโลกรัมละ 24.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 25.75 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.85 ส่วนราคาขายส่งไก่สด เฉลี่ยกิโลกรัมละ 34.50 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 36.50 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.48 ไข่ไก่ สรุปภาวะการผลิต การตลาดและราคาในประเทศ ตลาดไข่ไก่ยังปรับตัวสูงขึ้นอีก เพราะผลผลิตที่ลดน้อยลง ประกอบกับสามารถส่งออกไปตลาดฮ่องกงได้มากขึ้น เพราะสภาพอากาศที่หนาวจัดในเนเธอร์แลนด์ทำให้ผลผลิตไข่ไก่มีไม่เพียงพอที่จะส่งออกไปฮ่องกง จึงเป็นโอกาสของผู้ส่งออกไทยและส่งผลให้ตลาดไข่ไก่ในประเทศคล่องตัว ราคาเริ่มปรับตัวสูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง และมีแนวโน้มที่จะเพิ่มขึ้นอีก
ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ
ราคาไข่ไก่
ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 156 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 151 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.31 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ คือภาคเหนือร้อยฟองละ 150 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 171 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 153 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 156 บาท ส่วนราคาลูกไก่ไข่ตามประกาศของบริษัท ซี.พี.อยู่ที่ตัวละ 11 บาท ราคาทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 185 บาทสูงขึ้นจากร้อยฟองละ 176 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 5.11 ไข่เป็ด ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ ราคาไข่เป็ดที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศร้อยฟองละ 176 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 170 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 3.53 โดยแยกเป็นรายภาคดังนี้ คือภาคเหนือร้อยฟองละ 173 บาท ภาคตะวันออกเฉียงเหนือร้อยฟองละ 175 บาท ภาคกลางร้อยฟองละ 182 บาท และภาคใต้ร้อยฟองละ 161 บาท
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ จากกรมการค้าภายใน เฉลี่ยร้อยฟองละ 255 บาท สูงขึ้นจากร้อยฟองละ 244 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 4.08 โค ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ ราคาโค (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้ เฉลี่ยทั้งประเทศกิโลกรัมละ 39.36 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 38.80 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.44 กระบือ ราคาที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ ราคากระบือ (ขนาดกลาง) ที่เกษตรกรขายได้เฉลี่ยทั้งประเทศ กิโลกรัมละ 27.42 บาท
ลดลงจากกิโลกรัมละ 27.45 ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.11
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 8 ประจำวันที่ 26 ก.พ.- 4 มี.ค. 2544--
-สส-