ในเดือนนี้ เศรษฐกิจโดยรวมของภาคใต้ชะลอตัวลง ตามการลดลงของราคาสินค้าเกษตรซึ่งเป็นผลเนื่องมาจากสถานการณ์
ด้านการตลาดไม่เอื้ออำนวย ทั้งในส่วนของยางพารา และสัตว์น้ำแช่แข็ง นอกจากนี้ ภาวะชะลอตัวของภาคการท่องเที่ยว และการลงทุน
ก็เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่มีผลทำให้เศรษฐกิจ อยู่ในเกณฑ์ที่ไม่ดีนัก แม้ว่า ในภาคการค้า ซึ่งพิจารณาจากการจดทะเบียนรถใหม่ และ การจัด
เก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจะยังคงขยายตัว รวมทั้งการเบิกจ่ายเงินงบประมาณที่เบิกจ่ายเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.1 เนื่องจาก มีการเร่งเบิกจ่ายใน
เดือนสุดท้ายของปีงบประมาณ สำหรับอัตราเงินเฟ้อในเดือนนี้ปรับสูงขึ้นเป็นร้อยละ 1.9 ตามการปรับสูงขึ้นของราคา สินค้าในหมวดที่
ไม่ใช่อาหารและเครื่องดื่มเป็นสำคัญ
ภาคการเกษตร
ผลผลิตทางการเกษตรมีจำนวนมาก ประกอบกับแรงกดดันจากภาวะเศรษฐกิจซบเซา ทำให้ราคาสินค้าเกษตรลดลง ทั้งใน
ส่วนของยางพารา ปาล์มน้ำมัน และสัตว์น้ำ
ความต้องการใช้ยางในตลาดต่างประเทศที่อยู่ในระดับต่ำตามสถานการณ์เศรษฐกิจ ของประเทศอุตสาหกรรมชั้นนำของโลก ทำให้ราคา
ยางแผ่นดิบชั้น 3 ลดลงเหลือเฉลี่ยกิโลกรัมละ 21.09 บาท ลดลงจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 12.7 ส่วนราคาน้ำยางเฉลี่ยกิโลกรัมละ
19.27 บาท ลดลงร้อยละ 5.7 ขณะที่ ผลปาล์มสดทั้งทะลายเฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.68 บาท ลดลงจากเดือนเดียวกัน ปีก่อนร้อยละ 6.1
เนื่องจากผลผลิตยังมีมาก ส่วนข้าวเปลือกเจ้า 25% เดือนนี้ เฉลี่ยเมตริกตันละ 3,700.00 บาท ลดลงจากเดือนก่อนร้อยละ 4.1
ในภาคการประมง ปริมาณผลผลิตกุ้งกุลาดำออกสู่ตลาดเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ เป็นการพิจารณาจากปริมาณกุ้งกุลาดำที่ส่งออกผ่านด่าน
ศุลกากรในภาคใต้ซึ่งมีปริมาณรวม 2,562.6 เมตริกตัน เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 15.7 ส่วนราคาที่เกษตรกรขายได้ใน
เดือนนี้ปรับลดลง โดยกุ้งกุลาดำขนาด 30 ตัว/กิโลกรัม เฉลี่ยกิโลกรัมละ 310.00 บาท ลดลงจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 23.2
สำหรับสัตว์น้ำที่นำมาขึ้นที่ท่าเทียบเรือขององค์การสะพานปลาในภาคใต้ในเดือนนี้ มีจำนวน 53,509.0 เมตริกตัน มูลค่า 991.5 ล้านบาท
ลดลงจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 1.9 และ 21.6 ตามลำดับ เนื่องจาก ราคาน้ำมันที่ยังอยู่ในระดับสูงและความเข้มงวดของประเทศ
เพื่อนบ้าน เป็นสำคัญ
ภาคปศุสัตว์และสัตว์ปีก ในเดือนนี้ ความต้องการบริโภคเนื้อสุกรและไก่เนื้อยังอยู่ในระดับสูง ส่งผลให้ภาวะตลาดอยู่ในเกณฑ์ดี ทั้งนี้
ราคาสุกรน้ำหนักมากกว่า 100 กิโลกรัม เฉลี่ยกิโลกรัมละ 40.22 บาท เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 7.7 และในขณะเดียวกันนี้
ไก่เนื้อ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.48 บาท เพิ่มขึ้นจากระยะเดียวกันปีก่อนร้อยละ 8.3
เหมืองแร่
ภาวะโดยทั่วไปชะลอตัว เนื่องจากราคาแร่อ่อนตัวลง โดยราคาสินแร่ดีบุกในเดือนนี้ เฉลี่ยเพียงกิโลกรัมละ 111.47 บาท
ลดลงจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 29.2 ทำให้ไม่จูงใจให้มีการผลิต ผลผลิตสินแร่ดีบุกในภาคใต้ในเดือนนี้มีจำนวน 165.3 เมตริกตัน
ลดลงจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 18.5 และในระยะเดียวกัน การส่งออกแร่ยิปซัมก็อยู่ในภาวะชะลอตัว ทำให้ผลผลิตแร่ยิปซัมจาก
แหล่งผลิตหลักที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีและนครศรีธรรมราช มีจำนวน 276,160.0 เมตริกตัน ลดลงจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 44.7
ในส่วนของก๊าซธรรมชาติจากแหล่งผลิตในอ่าวไทยที่ส่งออกผ่านด่านศุลกากรในภาคใต้เดือนนี้มีจำนวน 5,915.4 เมตริกตัน
มูลค่า 59.0 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 116.4 และ 85.0 ตามลำดับ ขณะที่ น้ำมันดิบจากแหล่งผลิตในอ่าวไทย
ส่งออกผ่านด่านศุลกากรในภาคใต้ มีจำนวน 133,509.5 เมตริกตัน มูลค่า 1,105.4 ล้านบาท เทียบกับเดือนก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.3
และ 16.1 ตามลำดับ
ภาคอุตสาหกรรม
สถานการณ์ด้านการค้าชะลอตัว ในส่วนของการส่งออกยางพาราและไม้ยางพาราแปรรูป ขณะที่ การผลิตน้ำมันปาล์มดิบ และ
การผลิตอาหารทะเลแปรรูปยังขยายตัว
อุตสาหกรรมยาง การที่เศรษฐกิจของประเทศอุตสาหกรรมชั้นนำของโลก โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น ยังไม่มีสัญญาณ
การฟื้นตัว ทำให้เศรษฐกิจในภูมิภาคอื่น ๆ ซบเซา และมีผลทำให้อุตสาหกรรมยานยนต์ชะลอตัวตาม การส่งออกยางจึงลดลง โดยในเดือนนี้
มีการส่งออกรวม 163,279.5 เมตริกตัน มูลค่า 3,518.1 ล้านบาท ลดลงจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 14.1 และ 12.1 ตามลำดับ
ทั้งนี้ เป็นการส่งออกยางแผ่นรมควัน 58,585.9 เมตริกตัน มูลค่า 1,517.9 ล้านบาท ลดลงจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 21.0 และ
10.9 ตามลำดับ สำหรับราคายางแผ่นรมควัน ชั้น 3 เดือนนี้ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 24.17 บาท ลดลงจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 10.4
ขณะที่ ยางแท่ง มีการส่งออกรวม 46,745.3 เมตริกตัน มูลค่า 1,109.7 ล้านบาท ลดลงจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 20.8 และ
24.6 ตามลำดับ ทั้งนี้ ราคายางแท่ง STR20 ในเดือนนี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.80 บาท ลดลงจากเดือนเดียวกัน ปีก่อนร้อยละ 13.5
สำหรับน้ำยาง มีการส่งออกรวม 55,495.1 เมตริกตัน มูลค่า 855.5 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 6.6
และ 0.4 ตามลำดับ
ด้านการส่งออกผลิตภัณฑ์ยาง การส่งออกถุงมือยางของภาคใต้ขยายตัวในเกณฑ์ดี มีการส่งออกรวม 7,107.2 เมตริกตัน มูลค่า
672.8 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 69.3 และ 40.1 ตามลำดับ ส่วนไม้ยางพาราแปรรูปส่งออกได้ 23,447.0
เมตริกตัน มูลค่า 257.1 ล้านบาท ลดลงจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 21.0 และ 28.2 ตามลำดับ
อุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มดิบ สถานการณ์ในอัฟกานิสสถานไม่น่าไว้วางใจ มาเลเซียจึงส่งออกน้ำมันปาล์มไปยังอินเดียและปากีสถาน
ได้ลดลง สต็อกภายในประเทศเพิ่มขึ้น ทำให้ราคาในตลาดโลกลดต่ำลง ราคาน้ำมันปาล์มดิบ ณ ตลาดกรุงเทพมหานคร ในเดือนนี้จึงปรับลดลง
เหลือเฉลี่ยกิโลกรัมละ 10.73 บาท ลดลงจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 10.3 และในเดือนนี้ผลิตน้ำมันปาล์มดิบได้ 66,738.8 เมตริกตัน
เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 2.9
อุตสาหกรรมอาหารทะเล ภาวะการผลิตและการตลาดในเดือนนี้ยังอยู่ในเกณฑ์ดี เนื่องจาก สถานการณ์โรควัวบ้าสร้างความกังวลให้กับผู้บริโภค
ทำให้การบริโภคอาหารทะเลขยายตัว โดยในเดือนนี้มีการส่งออกอาหารทะเลแช่แข็งจำนวน 21,943.2 เมตริกตัน เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกัน
ปีก่อนร้อยละ 12.2 ขณะที่ มูลค่าที่ส่งออกได้ 2,034.5 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 6.4 เนื่องจาก ราคากุ้งปรับลดลงเป็นสำคัญ ทั้งนี้ หากพิจารณา
เฉพาะการส่งออกกุ้งกุลาดำแช่แข็ง ในเดือนนี้มีการส่งออกรวม 2,562.6 เมตริกตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.7 ในขณะที่มีมูลค่าส่งออก 1,045.9
ล้านบาท ลดลงร้อยละ 11.2 ขณะเดียวกัน มีการส่งออกอาหารทะเลกระป๋อง 11,112.3 เมตริกตัน มูลค่า 1,015.4 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก
เดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 2.2 และ 16.2 ตามลำดับ ทั้งนี้ การเพิ่มขึ้นของมูลค่าเป็นผลจาก การเปลี่ยนแปลงของค่าเงินบาท
ปลาป่น สถานการณ์โดยทั่วไปของการใช้ปลาป่น ปริมาณการผลิตยังคงไม่เพียงพอต่อความต้องการของตลาดทั้งในและต่างประเทศ โดยเฉพาะ
โรงงานผลิตอาหารกุ้ง มีความต้องการปลาป่นโปรตีนสูงเป็นจำนวนมาก เนื่องจากมีการผลิตอาหารกุ้งส่งออกและใช้ภายในประเทศเพิ่มขึ้น
ส่งผลให้ราคาปลาป่นทรงตัวในระดับสูง
โลหะดีบุก ในเดือนนี้การส่งออกโลหะดีบุกผ่านด่านศุลกากรในภาคใต้ 1,517.0 เมตริกตัน เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 10.8
ส่วนมูลค่าที่ส่งออกได้ 259.3 ล้านบาท ลดลงจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 13.7
การท่องเที่ยว
ภาวะการท่องเที่ยวชะลอตัว มีนักท่องเที่ยวเดินทางผ่านตรวจคนเข้าเมืองในภาคใต้ 165,775 คน ลดลงจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 1.3
เนื่องจากเป็นช่วงนอกฤดูการท่องเที่ยวของ ภาคใต้ตอนบน ขณะที่ ภาคใต้ตอนล่าง ภาวะการท่องเที่ยวขยายตัวเล็กน้อย เนื่องจากมีการจัด
กิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว
ภาคใต้ฝั่งตะวันตก ภาวะการท่องเที่ยวชะลอตัว เนื่องจาก นักท่องเที่ยวชาติอื่น ๆ ที่มิใช่มาเลเซียและสิงคโปร์เดินทางเข้ามาลดลง ทั้งนี้
นักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศที่เดินทางผ่านตรวจคนเข้าเมืองระนองและท่าอากาศยานภูเก็ตจำนวน 61,427 คน ลดลงจากเดือนเดียวกัน
ปีก่อนร้อยละ 8.1
สำหรับภาวะการท่องเที่ยวในจังหวัดชายแดนภาคใต้ขยายตัว เนื่องจากในเดือนนี้ มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวที่อำเภอหาดใหญ่
จังหวัดสงขลา (สุดปลายทางที่หาดใหญ่ และเทศกาลอาหารสะอาด รสชาติอร่อย) ทำให้มีนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศเดินทางผ่านตรวจ
คนเข้าเมืองมากขึ้น โดยมีจำนวน 104,348 คน เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันปีก่อน ร้อยละ 3.2
การลงทุน
การส่งเสริมการลงทุน มีการอนุมัติส่งเสริมการลงทุนให้กับนักลงทุนชาวต่างประเทศเพื่อประกอบกิจการโรงงานแปรรูปไม้ยางพาราในจังหวัด
สงขลาเพียง 1 โครงการ
รายการ 2543 2544
ก.ย.. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1. ราคาสินค้าเกษตรที่สำคัญ
ยางแผ่นดิบชั้น 3 (บาท/กก.) 24.15 23.91 22.73 21.09
-23.4 -7 (-4.4) (-12.7)
ปาล์มน้ำมันทั้งทะลาย (บาท/กก.) 1.79 1.59 2.05 1.68
(-9.1) (-15.9) -9.6 (-6.1)
ข้าวเปลือกเจ้า 25% (บาท/เมตริกตัน) n.a. 3,656.40 3,860.00 3,700.00
กาแฟ (บาท/กก.) n.a. n.a n.a. n.a.
กุ้งกุลาดำ (บาท/กก.) 403.67 304 302.5 310
-1.6 (-17.4) (-23.2)
2. ผลผลิตสินค้าเกษตรกรรม
ปาล์มน้ำมัน (เมตริกตัน) 358546.7 381120.8 420,567.20 391,614.50
(-11.1) -103.9 -36.6 -9.2
3. สัตว์น้ำนำขึ้นที่ท่าเทียบเรือประมง
ปริมาณ (เมตริกตัน) 54,545 43,777 45,474 53,509
(-11.9) (-7.8) (-12.1) (-1.9)
มูลค่า (ล้านบาท) 1,263.90 1,174.90 1,178.90 991.5
-4.5 -16 (-7.2) (-21.6)
4. ผลผลิตแร่ (เมตริกตัน)
ดีบุก 202.9 186.9 205.5 165.3
(-35.6) (-38.5) -8.6 (-18.5)
ยิปซัม 499009.7 387771 329,098.00 276,160.00
-82.5 -31.2 (-29.6) (-44.7)
5. ผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (เมตริกตัน)
น้ำมันปาล์มดิบ 64,861.20 65,653.50 73,273.30 66,738.80
(-12.1) -93.8 -29.8 -2.9
ยางแท่ง 65,392.20 66,550.40 55,492.30 55,574.20
-44.8 -7.1 -6.5 (-15.0)
6. จำนวนชาวต่างประเทศที่เดินทางผ่าน
ชาติ (คน)
ตรวจคนเข้าเมือง (คน) 167,955 161,925 184,406 165,775
-22.3 (-7.3) -5.6 (-1.3)
มาเลเซีย 70,830 63,431 79,214 83,807
-16.9 (-5.2) -17.4 -18.3
สิงคโปร์ 16,920 11,933 11,432 10,000
-12 (-18.4) (-16.5) (-40.9)
อื่น ๆ 80,205 86,561 93,760 71,968
-30.2 (-7.0) -0.4 (-10.3)
7. การลงทุนของภาคเอกชน
ได้รับอนุมัติการส่งเสริมการลงทุน
- ราย 21 - 8 1
-162.5 (-20.0) (-95.2)
- เงินลงทุน (ล้านบาท) 1,966.80 - 2,737.00 30
-154.5 -51.6 (-98.5)
การจดทะเบียนธุรกิจ
- ราย 226 228 243 249
(-0.9) -8.6 -5.7 -10.2
- ทุนจดทะเบียน (ล้านบาท) 653.9 574.7 412.4 491.4
-55.6 -72.1 (-15.8) (-24.9)
พื้นที่ได้รับอนุญาตก่อสร้าง (ตารางเมตร) 108630 98,699.00 100,342.00 85,953
-73.6 -28.5 -18.6 (-20.9)
- ที่อยู่อาศัย 51,333.00 64,420 73,294 53,973
-18 -24.6 -23.4 -5.1
- พาณิชยกรรม 15,607.00 16,736 17,050 22,993
-131.2 -76.9 -78.6 -47.3
- บริการขนส่ง 37,495.00 5,456 2,879 38
-278.4 (-59.4) (-77.8) (-99.9)
8. การค้า
การจดทะเบียนรถจักรยานยนต์ (คัน) 10,359 13,610 15,274 13,290
-24.7 -27.3 -42.8 -28.3
การจดทะเบียนรถยนต์นั่งส่วนบุคคลไม่เกิน 7 คน (คัน) 631 913 1,004 791
-20.9 -70.3 -52.8 -25.4
การจดทะเบียนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล (คัน) 1,392 1,393 1,453 1,119
(-1.8 ) -12.7 -13.3 (-19.6)
9. ดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไป (ร้อยละ) 2.9 2.8 1.4 1.9
10. การค้าระหว่างประเทศ
การส่งออก (ล้านบาท) 12,827.30 13,677.40 15,896.80 12,719.10
-14.1 -26 (-6.3) ((-0.8)
- ยางรวม 4,001.10 4,361.90 4,540.60 3,518.10
-53.6 -23.9 -2.6 (-12.1)
- ยางแผ่นรมควัน 1,703.70 1,986.30 2,060.10 1,517.90
-36.5 -57.4 -13.4 (-10.9)
- ยางแท่ง 1,472.40 1,411.70 1,527.50 1,109.70
-63.3 (-10.5) (-13.4) (-24.6)
- น้ำยาง 802.5 933.3 921.2 855.5
-141.4 -39.7 -13.5 -6.6
- ไม้ยางพาราแปรรูปและเฟอร์นิเจอร์ 358 201.7 236.6 257.1
-61.1 (-28.5) (-34.8) (-28.2)
- ถุงมือยาง 480.2 621.5 761 672.8
-35.9 -38.8 -45.3 -40.1
- สัตว์น้ำแช่แข็ง 2,173.20 2,139.60 2,270.70 2,034.50
-7.2 10.2 -15 (-6.4)
- อาหารกระป๋อง 874.1 899.3 996.2 1,015.40
(-6.2) -25.3 -18.5 -16.2
- ดีบุก 300.4 404.8 314.6 259.3
-32.2 -83.4 -11.2 (-13.7)
- แร่อื่น ๆ 318.1 238.5 195.6 242.1
-82.8 -20.9 (-5.0) (-23.9)
- ก๊าซธรรมชาติ 31.9 58.1 59.3 59
(-88.5) -120.9 -81.9 -85
- น้ำมันดิบ 1,317.90 1,221.70 1,599.70 1,105.40
(-25.3) (-16.1)
การนำเข้า (ล้านบาท) 4,232.40 4,259.10 4,002.70 6,986.70
-25.9 -12.7 (-8.6) -65.1
- เครื่องจักรอุปกรณ์ 298.7 1,106.50 956.7 3,596.90
-36.3 -1,338.90 -39.1 -1,104.20
- น้ำมันเชื้อเพลิง 17 40.1 19.4
(-44.3) -14.1
- อุปกรณ์ก่อสร้าง 87.4 111.8 101.4 92.3
(-11.9) -24.5 -5.4 -5.6
- สัตว์น้ำ 617.6 622.9 559.5 653.5
-13.6 -67.7 -21.7 -5.8
11. การคลัง
การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ (ล้านบาท) 8,561.70 6,939.60 7,241.30 8,998.10
(-27.8) -3.2 (-3.1) -5.1
การจัดเก็บภาษีอากร (ล้านบาท) 980.5 975.4 1,421.00 1,087.80
(-15.4) -3.1 -13.7 -10.9
- สรรพากร 823.9 784 1,252.60 917.9
(-8.4) -0.1 -16.3 -11.4
- สรรพสามิต 62.7 67.5 76.2 61.5
(-64.5) (-8.0) (-0.5) (-1.9)
- ภาษีศุลกากร 93.9 123.9 92.2 108.4
-12.3 -37.8 (-3.9) -15.4
ภาษีส่งออก 6.5 5.2 5.6 5.9
-18.2 -1.8 (-9.2)
ภาษีนำเข้า 87.4 118.7 86.6 102.5
ป
-8.6 -38.8 (-4.2) -17.3
12. การเงิน
การรับ จ่ายเงินสดหมุนเวียน (ล้านบาท)
- เงินสดรับ 11,734.90 13,548.30 13,863.40 12,598.70
-13 -15.3 -6.4 -7.4
- เงินสดจ่าย 14,543.40 15,432.10 16,411.10 13,926.90
-11.8 -14.1 -15.1 (-4.2)
เช็คหมุนเวียน
จำนวน (ฉบับ) 378,750 445,537 432,191 383,856
(-5.1 ) -14.6 -2.9 -1.3
มูลค่า (ล้านบาท) 33,610.00 36,677.50 37,810.10 33,863.60
-0.2 -14.6 -5.5 -0.8
สัดส่วนมูลค่าเช็คคืน/เช็ครับเข้า (ร้อยละ) 1 1.2 1.2 1.3
ธนาคารพาณิชย์ (สำนักงาน) 411 410 410 410
-1.9
เงินฝากธนาคารพาณิชย์ (ล้านบาท) 245348.5 254,000.0* 253,800.0* 254,000 254,000.0*
-2.9 -5.3 -3.9 -3.5
สินเชื่อธนาคารพาณิชย์ (ล้านบาท) 172907.1 154,300.0* 154,700.0* 155,000.0* 155,000.0*
(-13.7) (-19.0) (-18.4) (-10.4)
- สินเชื่อ/เงินฝาก (ร้อยละ) 70.5 61 60.9 61
สินเชื่อสำนักงานอำนวยสินเชื่อ (ล้านบาท) 3,522.60 5,378.40 5,725.60 5,902.40
-160.7 -73.7 -68 -67.6
เงินฝากธนาคารออมสิน (ล้านบาท) 29,322.90 32,332.20 34,618.10 35,000.0*
-16.6 -13 -19.4 -19.3
--ธนาคารแห่งประเทศไทย--
-สส-
ด้านการตลาดไม่เอื้ออำนวย ทั้งในส่วนของยางพารา และสัตว์น้ำแช่แข็ง นอกจากนี้ ภาวะชะลอตัวของภาคการท่องเที่ยว และการลงทุน
ก็เป็นอีกปัจจัยหนึ่งที่มีผลทำให้เศรษฐกิจ อยู่ในเกณฑ์ที่ไม่ดีนัก แม้ว่า ในภาคการค้า ซึ่งพิจารณาจากการจดทะเบียนรถใหม่ และ การจัด
เก็บภาษีมูลค่าเพิ่มจะยังคงขยายตัว รวมทั้งการเบิกจ่ายเงินงบประมาณที่เบิกจ่ายเพิ่มขึ้นร้อยละ 5.1 เนื่องจาก มีการเร่งเบิกจ่ายใน
เดือนสุดท้ายของปีงบประมาณ สำหรับอัตราเงินเฟ้อในเดือนนี้ปรับสูงขึ้นเป็นร้อยละ 1.9 ตามการปรับสูงขึ้นของราคา สินค้าในหมวดที่
ไม่ใช่อาหารและเครื่องดื่มเป็นสำคัญ
ภาคการเกษตร
ผลผลิตทางการเกษตรมีจำนวนมาก ประกอบกับแรงกดดันจากภาวะเศรษฐกิจซบเซา ทำให้ราคาสินค้าเกษตรลดลง ทั้งใน
ส่วนของยางพารา ปาล์มน้ำมัน และสัตว์น้ำ
ความต้องการใช้ยางในตลาดต่างประเทศที่อยู่ในระดับต่ำตามสถานการณ์เศรษฐกิจ ของประเทศอุตสาหกรรมชั้นนำของโลก ทำให้ราคา
ยางแผ่นดิบชั้น 3 ลดลงเหลือเฉลี่ยกิโลกรัมละ 21.09 บาท ลดลงจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 12.7 ส่วนราคาน้ำยางเฉลี่ยกิโลกรัมละ
19.27 บาท ลดลงร้อยละ 5.7 ขณะที่ ผลปาล์มสดทั้งทะลายเฉลี่ยกิโลกรัมละ 1.68 บาท ลดลงจากเดือนเดียวกัน ปีก่อนร้อยละ 6.1
เนื่องจากผลผลิตยังมีมาก ส่วนข้าวเปลือกเจ้า 25% เดือนนี้ เฉลี่ยเมตริกตันละ 3,700.00 บาท ลดลงจากเดือนก่อนร้อยละ 4.1
ในภาคการประมง ปริมาณผลผลิตกุ้งกุลาดำออกสู่ตลาดเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ เป็นการพิจารณาจากปริมาณกุ้งกุลาดำที่ส่งออกผ่านด่าน
ศุลกากรในภาคใต้ซึ่งมีปริมาณรวม 2,562.6 เมตริกตัน เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 15.7 ส่วนราคาที่เกษตรกรขายได้ใน
เดือนนี้ปรับลดลง โดยกุ้งกุลาดำขนาด 30 ตัว/กิโลกรัม เฉลี่ยกิโลกรัมละ 310.00 บาท ลดลงจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 23.2
สำหรับสัตว์น้ำที่นำมาขึ้นที่ท่าเทียบเรือขององค์การสะพานปลาในภาคใต้ในเดือนนี้ มีจำนวน 53,509.0 เมตริกตัน มูลค่า 991.5 ล้านบาท
ลดลงจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 1.9 และ 21.6 ตามลำดับ เนื่องจาก ราคาน้ำมันที่ยังอยู่ในระดับสูงและความเข้มงวดของประเทศ
เพื่อนบ้าน เป็นสำคัญ
ภาคปศุสัตว์และสัตว์ปีก ในเดือนนี้ ความต้องการบริโภคเนื้อสุกรและไก่เนื้อยังอยู่ในระดับสูง ส่งผลให้ภาวะตลาดอยู่ในเกณฑ์ดี ทั้งนี้
ราคาสุกรน้ำหนักมากกว่า 100 กิโลกรัม เฉลี่ยกิโลกรัมละ 40.22 บาท เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 7.7 และในขณะเดียวกันนี้
ไก่เนื้อ ราคาเฉลี่ยกิโลกรัมละ 31.48 บาท เพิ่มขึ้นจากระยะเดียวกันปีก่อนร้อยละ 8.3
เหมืองแร่
ภาวะโดยทั่วไปชะลอตัว เนื่องจากราคาแร่อ่อนตัวลง โดยราคาสินแร่ดีบุกในเดือนนี้ เฉลี่ยเพียงกิโลกรัมละ 111.47 บาท
ลดลงจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 29.2 ทำให้ไม่จูงใจให้มีการผลิต ผลผลิตสินแร่ดีบุกในภาคใต้ในเดือนนี้มีจำนวน 165.3 เมตริกตัน
ลดลงจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 18.5 และในระยะเดียวกัน การส่งออกแร่ยิปซัมก็อยู่ในภาวะชะลอตัว ทำให้ผลผลิตแร่ยิปซัมจาก
แหล่งผลิตหลักที่จังหวัดสุราษฎร์ธานีและนครศรีธรรมราช มีจำนวน 276,160.0 เมตริกตัน ลดลงจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 44.7
ในส่วนของก๊าซธรรมชาติจากแหล่งผลิตในอ่าวไทยที่ส่งออกผ่านด่านศุลกากรในภาคใต้เดือนนี้มีจำนวน 5,915.4 เมตริกตัน
มูลค่า 59.0 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 116.4 และ 85.0 ตามลำดับ ขณะที่ น้ำมันดิบจากแหล่งผลิตในอ่าวไทย
ส่งออกผ่านด่านศุลกากรในภาคใต้ มีจำนวน 133,509.5 เมตริกตัน มูลค่า 1,105.4 ล้านบาท เทียบกับเดือนก่อนเพิ่มขึ้นร้อยละ 6.3
และ 16.1 ตามลำดับ
ภาคอุตสาหกรรม
สถานการณ์ด้านการค้าชะลอตัว ในส่วนของการส่งออกยางพาราและไม้ยางพาราแปรรูป ขณะที่ การผลิตน้ำมันปาล์มดิบ และ
การผลิตอาหารทะเลแปรรูปยังขยายตัว
อุตสาหกรรมยาง การที่เศรษฐกิจของประเทศอุตสาหกรรมชั้นนำของโลก โดยเฉพาะสหรัฐอเมริกา และญี่ปุ่น ยังไม่มีสัญญาณ
การฟื้นตัว ทำให้เศรษฐกิจในภูมิภาคอื่น ๆ ซบเซา และมีผลทำให้อุตสาหกรรมยานยนต์ชะลอตัวตาม การส่งออกยางจึงลดลง โดยในเดือนนี้
มีการส่งออกรวม 163,279.5 เมตริกตัน มูลค่า 3,518.1 ล้านบาท ลดลงจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 14.1 และ 12.1 ตามลำดับ
ทั้งนี้ เป็นการส่งออกยางแผ่นรมควัน 58,585.9 เมตริกตัน มูลค่า 1,517.9 ล้านบาท ลดลงจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 21.0 และ
10.9 ตามลำดับ สำหรับราคายางแผ่นรมควัน ชั้น 3 เดือนนี้ เฉลี่ยกิโลกรัมละ 24.17 บาท ลดลงจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 10.4
ขณะที่ ยางแท่ง มีการส่งออกรวม 46,745.3 เมตริกตัน มูลค่า 1,109.7 ล้านบาท ลดลงจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 20.8 และ
24.6 ตามลำดับ ทั้งนี้ ราคายางแท่ง STR20 ในเดือนนี้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 22.80 บาท ลดลงจากเดือนเดียวกัน ปีก่อนร้อยละ 13.5
สำหรับน้ำยาง มีการส่งออกรวม 55,495.1 เมตริกตัน มูลค่า 855.5 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 6.6
และ 0.4 ตามลำดับ
ด้านการส่งออกผลิตภัณฑ์ยาง การส่งออกถุงมือยางของภาคใต้ขยายตัวในเกณฑ์ดี มีการส่งออกรวม 7,107.2 เมตริกตัน มูลค่า
672.8 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 69.3 และ 40.1 ตามลำดับ ส่วนไม้ยางพาราแปรรูปส่งออกได้ 23,447.0
เมตริกตัน มูลค่า 257.1 ล้านบาท ลดลงจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 21.0 และ 28.2 ตามลำดับ
อุตสาหกรรมน้ำมันปาล์มดิบ สถานการณ์ในอัฟกานิสสถานไม่น่าไว้วางใจ มาเลเซียจึงส่งออกน้ำมันปาล์มไปยังอินเดียและปากีสถาน
ได้ลดลง สต็อกภายในประเทศเพิ่มขึ้น ทำให้ราคาในตลาดโลกลดต่ำลง ราคาน้ำมันปาล์มดิบ ณ ตลาดกรุงเทพมหานคร ในเดือนนี้จึงปรับลดลง
เหลือเฉลี่ยกิโลกรัมละ 10.73 บาท ลดลงจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 10.3 และในเดือนนี้ผลิตน้ำมันปาล์มดิบได้ 66,738.8 เมตริกตัน
เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 2.9
อุตสาหกรรมอาหารทะเล ภาวะการผลิตและการตลาดในเดือนนี้ยังอยู่ในเกณฑ์ดี เนื่องจาก สถานการณ์โรควัวบ้าสร้างความกังวลให้กับผู้บริโภค
ทำให้การบริโภคอาหารทะเลขยายตัว โดยในเดือนนี้มีการส่งออกอาหารทะเลแช่แข็งจำนวน 21,943.2 เมตริกตัน เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกัน
ปีก่อนร้อยละ 12.2 ขณะที่ มูลค่าที่ส่งออกได้ 2,034.5 ล้านบาท ลดลงร้อยละ 6.4 เนื่องจาก ราคากุ้งปรับลดลงเป็นสำคัญ ทั้งนี้ หากพิจารณา
เฉพาะการส่งออกกุ้งกุลาดำแช่แข็ง ในเดือนนี้มีการส่งออกรวม 2,562.6 เมตริกตัน เพิ่มขึ้นร้อยละ 15.7 ในขณะที่มีมูลค่าส่งออก 1,045.9
ล้านบาท ลดลงร้อยละ 11.2 ขณะเดียวกัน มีการส่งออกอาหารทะเลกระป๋อง 11,112.3 เมตริกตัน มูลค่า 1,015.4 ล้านบาท เพิ่มขึ้นจาก
เดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 2.2 และ 16.2 ตามลำดับ ทั้งนี้ การเพิ่มขึ้นของมูลค่าเป็นผลจาก การเปลี่ยนแปลงของค่าเงินบาท
ปลาป่น สถานการณ์โดยทั่วไปของการใช้ปลาป่น ปริมาณการผลิตยังคงไม่เพียงพอต่อความต้องการของตลาดทั้งในและต่างประเทศ โดยเฉพาะ
โรงงานผลิตอาหารกุ้ง มีความต้องการปลาป่นโปรตีนสูงเป็นจำนวนมาก เนื่องจากมีการผลิตอาหารกุ้งส่งออกและใช้ภายในประเทศเพิ่มขึ้น
ส่งผลให้ราคาปลาป่นทรงตัวในระดับสูง
โลหะดีบุก ในเดือนนี้การส่งออกโลหะดีบุกผ่านด่านศุลกากรในภาคใต้ 1,517.0 เมตริกตัน เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 10.8
ส่วนมูลค่าที่ส่งออกได้ 259.3 ล้านบาท ลดลงจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 13.7
การท่องเที่ยว
ภาวะการท่องเที่ยวชะลอตัว มีนักท่องเที่ยวเดินทางผ่านตรวจคนเข้าเมืองในภาคใต้ 165,775 คน ลดลงจากเดือนเดียวกันปีก่อนร้อยละ 1.3
เนื่องจากเป็นช่วงนอกฤดูการท่องเที่ยวของ ภาคใต้ตอนบน ขณะที่ ภาคใต้ตอนล่าง ภาวะการท่องเที่ยวขยายตัวเล็กน้อย เนื่องจากมีการจัด
กิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยว
ภาคใต้ฝั่งตะวันตก ภาวะการท่องเที่ยวชะลอตัว เนื่องจาก นักท่องเที่ยวชาติอื่น ๆ ที่มิใช่มาเลเซียและสิงคโปร์เดินทางเข้ามาลดลง ทั้งนี้
นักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศที่เดินทางผ่านตรวจคนเข้าเมืองระนองและท่าอากาศยานภูเก็ตจำนวน 61,427 คน ลดลงจากเดือนเดียวกัน
ปีก่อนร้อยละ 8.1
สำหรับภาวะการท่องเที่ยวในจังหวัดชายแดนภาคใต้ขยายตัว เนื่องจากในเดือนนี้ มีการจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวที่อำเภอหาดใหญ่
จังหวัดสงขลา (สุดปลายทางที่หาดใหญ่ และเทศกาลอาหารสะอาด รสชาติอร่อย) ทำให้มีนักท่องเที่ยวชาวต่างประเทศเดินทางผ่านตรวจ
คนเข้าเมืองมากขึ้น โดยมีจำนวน 104,348 คน เพิ่มขึ้นจากเดือนเดียวกันปีก่อน ร้อยละ 3.2
การลงทุน
การส่งเสริมการลงทุน มีการอนุมัติส่งเสริมการลงทุนให้กับนักลงทุนชาวต่างประเทศเพื่อประกอบกิจการโรงงานแปรรูปไม้ยางพาราในจังหวัด
สงขลาเพียง 1 โครงการ
รายการ 2543 2544
ก.ย.. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1. ราคาสินค้าเกษตรที่สำคัญ
ยางแผ่นดิบชั้น 3 (บาท/กก.) 24.15 23.91 22.73 21.09
-23.4 -7 (-4.4) (-12.7)
ปาล์มน้ำมันทั้งทะลาย (บาท/กก.) 1.79 1.59 2.05 1.68
(-9.1) (-15.9) -9.6 (-6.1)
ข้าวเปลือกเจ้า 25% (บาท/เมตริกตัน) n.a. 3,656.40 3,860.00 3,700.00
กาแฟ (บาท/กก.) n.a. n.a n.a. n.a.
กุ้งกุลาดำ (บาท/กก.) 403.67 304 302.5 310
-1.6 (-17.4) (-23.2)
2. ผลผลิตสินค้าเกษตรกรรม
ปาล์มน้ำมัน (เมตริกตัน) 358546.7 381120.8 420,567.20 391,614.50
(-11.1) -103.9 -36.6 -9.2
3. สัตว์น้ำนำขึ้นที่ท่าเทียบเรือประมง
ปริมาณ (เมตริกตัน) 54,545 43,777 45,474 53,509
(-11.9) (-7.8) (-12.1) (-1.9)
มูลค่า (ล้านบาท) 1,263.90 1,174.90 1,178.90 991.5
-4.5 -16 (-7.2) (-21.6)
4. ผลผลิตแร่ (เมตริกตัน)
ดีบุก 202.9 186.9 205.5 165.3
(-35.6) (-38.5) -8.6 (-18.5)
ยิปซัม 499009.7 387771 329,098.00 276,160.00
-82.5 -31.2 (-29.6) (-44.7)
5. ผลผลิตสินค้าอุตสาหกรรม (เมตริกตัน)
น้ำมันปาล์มดิบ 64,861.20 65,653.50 73,273.30 66,738.80
(-12.1) -93.8 -29.8 -2.9
ยางแท่ง 65,392.20 66,550.40 55,492.30 55,574.20
-44.8 -7.1 -6.5 (-15.0)
6. จำนวนชาวต่างประเทศที่เดินทางผ่าน
ชาติ (คน)
ตรวจคนเข้าเมือง (คน) 167,955 161,925 184,406 165,775
-22.3 (-7.3) -5.6 (-1.3)
มาเลเซีย 70,830 63,431 79,214 83,807
-16.9 (-5.2) -17.4 -18.3
สิงคโปร์ 16,920 11,933 11,432 10,000
-12 (-18.4) (-16.5) (-40.9)
อื่น ๆ 80,205 86,561 93,760 71,968
-30.2 (-7.0) -0.4 (-10.3)
7. การลงทุนของภาคเอกชน
ได้รับอนุมัติการส่งเสริมการลงทุน
- ราย 21 - 8 1
-162.5 (-20.0) (-95.2)
- เงินลงทุน (ล้านบาท) 1,966.80 - 2,737.00 30
-154.5 -51.6 (-98.5)
การจดทะเบียนธุรกิจ
- ราย 226 228 243 249
(-0.9) -8.6 -5.7 -10.2
- ทุนจดทะเบียน (ล้านบาท) 653.9 574.7 412.4 491.4
-55.6 -72.1 (-15.8) (-24.9)
พื้นที่ได้รับอนุญาตก่อสร้าง (ตารางเมตร) 108630 98,699.00 100,342.00 85,953
-73.6 -28.5 -18.6 (-20.9)
- ที่อยู่อาศัย 51,333.00 64,420 73,294 53,973
-18 -24.6 -23.4 -5.1
- พาณิชยกรรม 15,607.00 16,736 17,050 22,993
-131.2 -76.9 -78.6 -47.3
- บริการขนส่ง 37,495.00 5,456 2,879 38
-278.4 (-59.4) (-77.8) (-99.9)
8. การค้า
การจดทะเบียนรถจักรยานยนต์ (คัน) 10,359 13,610 15,274 13,290
-24.7 -27.3 -42.8 -28.3
การจดทะเบียนรถยนต์นั่งส่วนบุคคลไม่เกิน 7 คน (คัน) 631 913 1,004 791
-20.9 -70.3 -52.8 -25.4
การจดทะเบียนรถยนต์บรรทุกส่วนบุคคล (คัน) 1,392 1,393 1,453 1,119
(-1.8 ) -12.7 -13.3 (-19.6)
9. ดัชนีราคาผู้บริโภคทั่วไป (ร้อยละ) 2.9 2.8 1.4 1.9
10. การค้าระหว่างประเทศ
การส่งออก (ล้านบาท) 12,827.30 13,677.40 15,896.80 12,719.10
-14.1 -26 (-6.3) ((-0.8)
- ยางรวม 4,001.10 4,361.90 4,540.60 3,518.10
-53.6 -23.9 -2.6 (-12.1)
- ยางแผ่นรมควัน 1,703.70 1,986.30 2,060.10 1,517.90
-36.5 -57.4 -13.4 (-10.9)
- ยางแท่ง 1,472.40 1,411.70 1,527.50 1,109.70
-63.3 (-10.5) (-13.4) (-24.6)
- น้ำยาง 802.5 933.3 921.2 855.5
-141.4 -39.7 -13.5 -6.6
- ไม้ยางพาราแปรรูปและเฟอร์นิเจอร์ 358 201.7 236.6 257.1
-61.1 (-28.5) (-34.8) (-28.2)
- ถุงมือยาง 480.2 621.5 761 672.8
-35.9 -38.8 -45.3 -40.1
- สัตว์น้ำแช่แข็ง 2,173.20 2,139.60 2,270.70 2,034.50
-7.2 10.2 -15 (-6.4)
- อาหารกระป๋อง 874.1 899.3 996.2 1,015.40
(-6.2) -25.3 -18.5 -16.2
- ดีบุก 300.4 404.8 314.6 259.3
-32.2 -83.4 -11.2 (-13.7)
- แร่อื่น ๆ 318.1 238.5 195.6 242.1
-82.8 -20.9 (-5.0) (-23.9)
- ก๊าซธรรมชาติ 31.9 58.1 59.3 59
(-88.5) -120.9 -81.9 -85
- น้ำมันดิบ 1,317.90 1,221.70 1,599.70 1,105.40
(-25.3) (-16.1)
การนำเข้า (ล้านบาท) 4,232.40 4,259.10 4,002.70 6,986.70
-25.9 -12.7 (-8.6) -65.1
- เครื่องจักรอุปกรณ์ 298.7 1,106.50 956.7 3,596.90
-36.3 -1,338.90 -39.1 -1,104.20
- น้ำมันเชื้อเพลิง 17 40.1 19.4
(-44.3) -14.1
- อุปกรณ์ก่อสร้าง 87.4 111.8 101.4 92.3
(-11.9) -24.5 -5.4 -5.6
- สัตว์น้ำ 617.6 622.9 559.5 653.5
-13.6 -67.7 -21.7 -5.8
11. การคลัง
การเบิกจ่ายเงินงบประมาณ (ล้านบาท) 8,561.70 6,939.60 7,241.30 8,998.10
(-27.8) -3.2 (-3.1) -5.1
การจัดเก็บภาษีอากร (ล้านบาท) 980.5 975.4 1,421.00 1,087.80
(-15.4) -3.1 -13.7 -10.9
- สรรพากร 823.9 784 1,252.60 917.9
(-8.4) -0.1 -16.3 -11.4
- สรรพสามิต 62.7 67.5 76.2 61.5
(-64.5) (-8.0) (-0.5) (-1.9)
- ภาษีศุลกากร 93.9 123.9 92.2 108.4
-12.3 -37.8 (-3.9) -15.4
ภาษีส่งออก 6.5 5.2 5.6 5.9
-18.2 -1.8 (-9.2)
ภาษีนำเข้า 87.4 118.7 86.6 102.5
ป
-8.6 -38.8 (-4.2) -17.3
12. การเงิน
การรับ จ่ายเงินสดหมุนเวียน (ล้านบาท)
- เงินสดรับ 11,734.90 13,548.30 13,863.40 12,598.70
-13 -15.3 -6.4 -7.4
- เงินสดจ่าย 14,543.40 15,432.10 16,411.10 13,926.90
-11.8 -14.1 -15.1 (-4.2)
เช็คหมุนเวียน
จำนวน (ฉบับ) 378,750 445,537 432,191 383,856
(-5.1 ) -14.6 -2.9 -1.3
มูลค่า (ล้านบาท) 33,610.00 36,677.50 37,810.10 33,863.60
-0.2 -14.6 -5.5 -0.8
สัดส่วนมูลค่าเช็คคืน/เช็ครับเข้า (ร้อยละ) 1 1.2 1.2 1.3
ธนาคารพาณิชย์ (สำนักงาน) 411 410 410 410
-1.9
เงินฝากธนาคารพาณิชย์ (ล้านบาท) 245348.5 254,000.0* 253,800.0* 254,000 254,000.0*
-2.9 -5.3 -3.9 -3.5
สินเชื่อธนาคารพาณิชย์ (ล้านบาท) 172907.1 154,300.0* 154,700.0* 155,000.0* 155,000.0*
(-13.7) (-19.0) (-18.4) (-10.4)
- สินเชื่อ/เงินฝาก (ร้อยละ) 70.5 61 60.9 61
สินเชื่อสำนักงานอำนวยสินเชื่อ (ล้านบาท) 3,522.60 5,378.40 5,725.60 5,902.40
-160.7 -73.7 -68 -67.6
เงินฝากธนาคารออมสิน (ล้านบาท) 29,322.90 32,332.20 34,618.10 35,000.0*
-16.6 -13 -19.4 -19.3
--ธนาคารแห่งประเทศไทย--
-สส-