ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) รายงานผลการดำเนินงานของกิจการวิเทศธนกิจในปี 2543ธนาคารแห่งประเทศไทย รายงานว่า
การให้กู้ยืมของกิจการวิเทศธนกิจยังคงลดลงอย่างต่อเนื่อง ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2543 มียอดคงค้างเงินให้กู้ยืมลดลงจากสิ้นปี 2542 จำนวน 119.7
พันล้านบาท เป็น 431.1 พันล้านบาท(หรือลดลงร้อยละ 21.7) โดยเป็นการให้กู้ยืมแก่ลูกค้าในประเทศ (Out-In) 387 พันล้านบาท (ลดลงร้อยละ
20.6) และเป็นการให้กู้ยืมแก่ลูกค้าในต่างประเทศ (Out-Out) 44.1 พันล้านบาท (ลดลงร้อยละ 30.7) ทั้งนี้เมื่อเปรียบเทียบสิ้นปีก่อน กิจการ
วิเทศธนกิจของกลุ่มธนาคารพาณิชย์ไทยมียอดคงค้างเงินให้กู้ยืมลดลงมากที่สุดถึงร้อยละ 35.7 (42.9 พันล้านบาท)
สาเหตุหลักของการลดลงเนื่องจากลูกหนี้ชำระคืนหนี้ที่ครบกำหนด ประกอบกับสภาพคล่องเงินบาทในประเทศมีสูงและอัตราดอกเบี้ยใน
ประเทศอยู่ในระดับต่ำทำให้ลูกหนี้บางส่วนชำระคืนหนี้และหันไปกู้ยืมเงินบาทแทนณ สิ้นเดือนธันวาคม 2543 ภาคธุรกิจที่กู้ยืมเงินผ่านกิจการวิเทศธนกิจ
มากที่สุด คืออุตสาหกรรมการผลิต โดยมียอดคงค้าง 228.2 พันล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 52.9 ของเงินให้กู้ยืมกิจการวิเทศธนกิจทั้งหมด
รองลงมาคือ ภาคสาธารณูปโภค และภาคการธนาคารและธุรกิจการเงิน มีมูลค่า 65.4 และ 46.3 พันล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 15.2 และ
10.7 ตามลำดับ
เพียงวันที่ 31 ธันวาคม 2543 มี BIBF เปิดดำเนินการอยู่ทั้งสิ้น 40 แห่ง (ลดลงจาก ปีก่อน 4 แห่ง) ในจำนวนนี้เป็นของธนาคาร
พาณิชย์ไทย 11 แห่ง สาขาธนาคารต่างประเทศ 18 แห่ง และธนาคารต่างประเทศที่ได้รับอนุญาตให้ทำธุรกิจ BIBF อย่างเดียว 11 แห่ง สำหรับ
PIBF นั้นมีจำนวนทั้งสิ้น 8 แห่ง โดยอยู่ในจังหวัดชลบุรี 4 แห่ง จังหวัดเชียงใหม่ 2 แห่ง และจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2 แห่ง
สรุปเงินให้กู้ของกิจการวิเทศธนกิจทั้งระบบ แยกตามประเภทธุรกิจ
ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2543
ประเภทธุรกิจ OUT-IN OUT-OUT รวม
ยอดคงค้าง ร้อยละ ยอดคงค้าง ร้อยละ ยอดคงค้าง ร้อยละ
พันล้านบาท ต่อยอดรวม พันล้านบาท ต่อยอดรวม พันล้านบาท ต่อยอดรวม
1. การเกษตรและการป่าไม้ 1.3 0.3 0.7 1.6 2.0 0.5
2. การเหมืองแร่และย่อยหิน 5.6 1.4 0.2 0.4 5.8 1.3
3. การอุตสาหกรรม 220.5 57.0 7.7 17.4 228.2 52.9
4. การก่อสร้าง 8.5 2.2 0.0 0.0 8.5 2.0
5. การพาณิชย์ 41.5 10.7 1.1 2.4 42.5 9.9
6. การธนาคารและธุรกิจการเงิน 26.2 6.8 20.0 45.4 46.3 10.7
7. ธุรกิจเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ 8.3 2.1 4.0 9.0 12.2 2.8
8. การสาธารณูปโภค 61.5 15.9 3.8 8.7 65.4 15.2
9. การบริการ 12.5 3.2 6.7 15.1 19.1 4.4
10. การอุปโภคบริโภคส่วนบุคคล 1.2 0.3 0.0 0.0 1.2 0.3
รวม 387.0 100.0 44.1 100.0 431.1 100.0
จัดทำโดย ทีมสถิติสถาบันการเงิน สายฐานข้อมูล ธนาคารแห่งประเทศไทย (วธ 4)
ยอดคงค้างเงินให้กู้ยืมของกิจการวิเทศธนกิจ ณ สิ้นเดือน
เดือน OUT-IN (พันล้านบาท) OUT-OUT (พันล้านบาท) รวม (พันล้านบาท) การเปลี่ยนแปลงเทียบกับระยะเดียวกันของปีก่อน (ร้อยละ)
ธพ.ไทย สาขาธพ. ตปท. IBF ใหม่ รวม ธพ.ไทย สาขาธพ. ตปท. IBF ใหม่ รวม ธพ.ไทย สาขาธพ. ตปท. IBF ใหม่ รวม ธพ.ไทย สาขาธพ. ตปท. IBF ใหม่ รวม
มี.ค.43 84.7 294.6 73.4 452.7 18.8 32.8 5.7 57.3 103.5 327.4 79.1 510.0 -50.0 -31.7 -44.3 -38.4
เม.ย.43 82.0 286.8 71.4 440.2 18.6 32.2 5.5 56.3 100.6 319.0 76.9 496.5 -47.1 -29.3 -42.9 -36.0
พ.ค.43 83.2 287.4 73.8 444.4 19.0 35.9 5.3 60.2 102.2 323.4 79.1 504.7 -43.4 -25.4 -39.7 -32.3
มิ.ย.43 78.5 270.2 69.9 418.5 14.9 31.6 2.7 49.2 93.4 301.8 72.5 467.7 -41.2 -27.0 -41.3 -32.8
ก.ค.43 79.8 281.0 69.7 430.5 16.9 33.1 2.5 52.5 96.8 314.1 72.1 483.0 -35.2 -23.2 -39.8 -28.8
ส.ค.43 76.8 277.4 70.8 425.0 15.3 31.0 2.6 48.9 92.0 308.4 73.4 473.9 -37.8 -23.1 -38.3 -29.1
ก.ย.43 70.3 263.7 71.3 405.2 15.2 43.0 2.8 61.0 85.4 306.7 74.1 466.2 -44.0 -24.9 -36.6 -31.2
ต.ค.43 70.9 271.9 72.7 415.5 15.4 43.9 2.9 62.1 86.3 315.8 75.5 477.6 -38.6 -16.5 -29.0 -23.6
พ.ย.43 69.4 268.2 76.3 413.9 15.4 37.6 2.7 55.6 84.8 305.7 79.0 469.5 -34.9 -16.7 -23.4 -21.8
ธ.ค.43 62.2 253.1 71.7 387.0 15.1 23.3 5.8 44.1 77.3 276.3 77.5 431.1 -35.7 -18.2 -16.6 -21.7
ที่มา : สายนโยบายสถาบันการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย
--ธนาคารแห่งประเทศไทย/19 กุมภาพันธ์ 2544--
-ยก-
การให้กู้ยืมของกิจการวิเทศธนกิจยังคงลดลงอย่างต่อเนื่อง ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2543 มียอดคงค้างเงินให้กู้ยืมลดลงจากสิ้นปี 2542 จำนวน 119.7
พันล้านบาท เป็น 431.1 พันล้านบาท(หรือลดลงร้อยละ 21.7) โดยเป็นการให้กู้ยืมแก่ลูกค้าในประเทศ (Out-In) 387 พันล้านบาท (ลดลงร้อยละ
20.6) และเป็นการให้กู้ยืมแก่ลูกค้าในต่างประเทศ (Out-Out) 44.1 พันล้านบาท (ลดลงร้อยละ 30.7) ทั้งนี้เมื่อเปรียบเทียบสิ้นปีก่อน กิจการ
วิเทศธนกิจของกลุ่มธนาคารพาณิชย์ไทยมียอดคงค้างเงินให้กู้ยืมลดลงมากที่สุดถึงร้อยละ 35.7 (42.9 พันล้านบาท)
สาเหตุหลักของการลดลงเนื่องจากลูกหนี้ชำระคืนหนี้ที่ครบกำหนด ประกอบกับสภาพคล่องเงินบาทในประเทศมีสูงและอัตราดอกเบี้ยใน
ประเทศอยู่ในระดับต่ำทำให้ลูกหนี้บางส่วนชำระคืนหนี้และหันไปกู้ยืมเงินบาทแทนณ สิ้นเดือนธันวาคม 2543 ภาคธุรกิจที่กู้ยืมเงินผ่านกิจการวิเทศธนกิจ
มากที่สุด คืออุตสาหกรรมการผลิต โดยมียอดคงค้าง 228.2 พันล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 52.9 ของเงินให้กู้ยืมกิจการวิเทศธนกิจทั้งหมด
รองลงมาคือ ภาคสาธารณูปโภค และภาคการธนาคารและธุรกิจการเงิน มีมูลค่า 65.4 และ 46.3 พันล้านบาท คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 15.2 และ
10.7 ตามลำดับ
เพียงวันที่ 31 ธันวาคม 2543 มี BIBF เปิดดำเนินการอยู่ทั้งสิ้น 40 แห่ง (ลดลงจาก ปีก่อน 4 แห่ง) ในจำนวนนี้เป็นของธนาคาร
พาณิชย์ไทย 11 แห่ง สาขาธนาคารต่างประเทศ 18 แห่ง และธนาคารต่างประเทศที่ได้รับอนุญาตให้ทำธุรกิจ BIBF อย่างเดียว 11 แห่ง สำหรับ
PIBF นั้นมีจำนวนทั้งสิ้น 8 แห่ง โดยอยู่ในจังหวัดชลบุรี 4 แห่ง จังหวัดเชียงใหม่ 2 แห่ง และจังหวัดพระนครศรีอยุธยา 2 แห่ง
สรุปเงินให้กู้ของกิจการวิเทศธนกิจทั้งระบบ แยกตามประเภทธุรกิจ
ณ สิ้นเดือนธันวาคม 2543
ประเภทธุรกิจ OUT-IN OUT-OUT รวม
ยอดคงค้าง ร้อยละ ยอดคงค้าง ร้อยละ ยอดคงค้าง ร้อยละ
พันล้านบาท ต่อยอดรวม พันล้านบาท ต่อยอดรวม พันล้านบาท ต่อยอดรวม
1. การเกษตรและการป่าไม้ 1.3 0.3 0.7 1.6 2.0 0.5
2. การเหมืองแร่และย่อยหิน 5.6 1.4 0.2 0.4 5.8 1.3
3. การอุตสาหกรรม 220.5 57.0 7.7 17.4 228.2 52.9
4. การก่อสร้าง 8.5 2.2 0.0 0.0 8.5 2.0
5. การพาณิชย์ 41.5 10.7 1.1 2.4 42.5 9.9
6. การธนาคารและธุรกิจการเงิน 26.2 6.8 20.0 45.4 46.3 10.7
7. ธุรกิจเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์ 8.3 2.1 4.0 9.0 12.2 2.8
8. การสาธารณูปโภค 61.5 15.9 3.8 8.7 65.4 15.2
9. การบริการ 12.5 3.2 6.7 15.1 19.1 4.4
10. การอุปโภคบริโภคส่วนบุคคล 1.2 0.3 0.0 0.0 1.2 0.3
รวม 387.0 100.0 44.1 100.0 431.1 100.0
จัดทำโดย ทีมสถิติสถาบันการเงิน สายฐานข้อมูล ธนาคารแห่งประเทศไทย (วธ 4)
ยอดคงค้างเงินให้กู้ยืมของกิจการวิเทศธนกิจ ณ สิ้นเดือน
เดือน OUT-IN (พันล้านบาท) OUT-OUT (พันล้านบาท) รวม (พันล้านบาท) การเปลี่ยนแปลงเทียบกับระยะเดียวกันของปีก่อน (ร้อยละ)
ธพ.ไทย สาขาธพ. ตปท. IBF ใหม่ รวม ธพ.ไทย สาขาธพ. ตปท. IBF ใหม่ รวม ธพ.ไทย สาขาธพ. ตปท. IBF ใหม่ รวม ธพ.ไทย สาขาธพ. ตปท. IBF ใหม่ รวม
มี.ค.43 84.7 294.6 73.4 452.7 18.8 32.8 5.7 57.3 103.5 327.4 79.1 510.0 -50.0 -31.7 -44.3 -38.4
เม.ย.43 82.0 286.8 71.4 440.2 18.6 32.2 5.5 56.3 100.6 319.0 76.9 496.5 -47.1 -29.3 -42.9 -36.0
พ.ค.43 83.2 287.4 73.8 444.4 19.0 35.9 5.3 60.2 102.2 323.4 79.1 504.7 -43.4 -25.4 -39.7 -32.3
มิ.ย.43 78.5 270.2 69.9 418.5 14.9 31.6 2.7 49.2 93.4 301.8 72.5 467.7 -41.2 -27.0 -41.3 -32.8
ก.ค.43 79.8 281.0 69.7 430.5 16.9 33.1 2.5 52.5 96.8 314.1 72.1 483.0 -35.2 -23.2 -39.8 -28.8
ส.ค.43 76.8 277.4 70.8 425.0 15.3 31.0 2.6 48.9 92.0 308.4 73.4 473.9 -37.8 -23.1 -38.3 -29.1
ก.ย.43 70.3 263.7 71.3 405.2 15.2 43.0 2.8 61.0 85.4 306.7 74.1 466.2 -44.0 -24.9 -36.6 -31.2
ต.ค.43 70.9 271.9 72.7 415.5 15.4 43.9 2.9 62.1 86.3 315.8 75.5 477.6 -38.6 -16.5 -29.0 -23.6
พ.ย.43 69.4 268.2 76.3 413.9 15.4 37.6 2.7 55.6 84.8 305.7 79.0 469.5 -34.9 -16.7 -23.4 -21.8
ธ.ค.43 62.2 253.1 71.7 387.0 15.1 23.3 5.8 44.1 77.3 276.3 77.5 431.1 -35.7 -18.2 -16.6 -21.7
ที่มา : สายนโยบายสถาบันการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย
--ธนาคารแห่งประเทศไทย/19 กุมภาพันธ์ 2544--
-ยก-