แท็ก
ปลาดุก
1.สถานการณ์การผลิต การตลาดและราคาในประเทศ
การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่าน มา (วันที่ 6-12 มี.ค. 48) สัตว์น้ำทุกชนิดส่งเข้าประมูลจำหน่ายที่องค์การสะพานปลา กรุงเทพฯ มีจำนวนรวมทั้งสิ้น 1,120.47 ตัน แยกเป็นสัตว์น้ำเค็ม 455.69 ตัน สัตว์น้ำจืด 664.78 ตัน ประกอบด้วยสัตว์น้ำที่สำคัญ ได้แก่
1.1 ปลาดุก ส่งเข้าประมูลจำหน่าย 4.42 ตัน
1.2 ปลาช่อน ส่งเข้าประมูลจำหน่าย 4.83 ตัน
1.3 กุ้งทะเล ส่งเข้าประมูลจำหน่าย 85.37 ตัน
1.4 ปลาทู ส่งเข้าประมูลจำหน่าย 10.85 ตัน
1.5 ปลาหมึก ส่งเข้าประมูลจำหน่าย 31.36 ตัน
การตลาด
การตรวจสอบหาสารคลอแรมพฟินิคอล
นายปราการ วีรกุล เอกอัครราชทูตที่ปรึกษาฝ่ายการเกษตร สำนักงานที่ปรึกษาเกษตร ต่างประเทศ ประจำกรุงวอชิงตัน ดี ซี ได้รับรายงานว่ามีการตรวจสอบหาสารคลอแรมฟินิคอล จากผลิตภัณฑ์กุ้งตัวอย่าง 8 ประเทศ ได้แก่ ประเทศเอกวาดอร์ บราซิล อินเดีย เวียดนาม จีน ไทย บังคลาเทศ และสหรัฐอเมริกา เมื่อ 18 มกราคม 2548 โดยผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการตรวจสอบมีกุ้งขาว กุ้งกุลาดำ และกุ้งก้ามกราม ผลการตรวจตามระเบียบข้อกำหนด ปริมาณสารตกค้างคลอแรมฟินิคอล ต้องต่ำกว่า 0.3 ppb. ปรากฏว่า ผลิตภัณฑ์กุ้งที่ส่งเข้าตรวจทั้งหมดจาก 8 ประเทศดังกล่าวอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานและสามารถผ่านการตรวจสอบอย่างครบถ้วน ชนิดผลิตภัณฑ์ที่ส่งเข้าตรวจ มีดังนี้ ประเทศเอกวาดอร์ จีน บังคลาเทศ บราซิล และสหรัฐอเมริกาส่งตรวจกุ้งขาว ประเทศเวียดนามและไทย ส่งตรวจกุ้งกุลาดำ ส่วนประเทศอินเดียส่งตรวจกุ้งก้ามกราม สำนักงานที่ปรึกษาการเกษตรต่างประเทศ รายงานว่า ได้รับแจ้งผลการตรวจสอบตัวอย่างผลิตภัณฑ์กุ้ง เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2548 ยืนยันไม่พบสารคลอแรมฟินิคอลในกุ้งกุลาดำของไทย ทำให้ประเทศคู่ค้ามั่นใจได้ว่าสินค้ากุ้งกุลาดำของไทยที่ส่งออกไปจำหน่ายยังตลาดต่างประเทศเป็นกุ้งคุณภาพดี ถูกสุขอนามัยและปลอดภัย อีกทั้งได้มาตรฐานตามระเบียบข้อกำหนดทุกประการ ประเทศไทยส่งกุ้งกุลาดำออกไปจำหน่ายที่ประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นจำนวนมาก เพราะตลาดสหรัฐอเมริกาต้องการกุ้งกุลาดำ ขณะนี้กุ้งกุลาดำมีราคาจำหน่ายสูงกว่ากุ้งขาว เนื่องจากกุ้งกุลาดำมีรสชาดอร่อยกว่า เลี้ยงยากกว่า จึงทำให้มีราคาแพงกว่า ซึ่งเป็นที่ยอมรับของตลาดต่างประเทศ แต่ปัจจุบันเกษตรกรที่เคยเลี้ยงกุ้งกุลาดำเปลี่ยนมาเลี้ยงกุ้งขาวกันมากขึ้นถึงร้อยละ 90 ของการเลี้ยงกุ้งทั้งหมด เนื่องจากการเลี้ยงกุ้งกุลาดำเกิดปัญหาโรคกุ้ง เลี้ยงไม่โตและแคระแกรน ต้นทุนสูง เป็นต้น
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้ คือ
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.58 บาท ลดลงจ กกิโลกรัมละ 34.63 บาท ของสัปดาห์ก่อน 7.05 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯไม่มีรายงานราคาจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2.2 ปลาช่อน ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 63.57 บาท สูงขึ้น จากกิโลกรัมละ 63.11 บาท ของสัปดาห์ก่อน 0.46 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉ ลี่ยกิโลกรัมละ 90.71 บาท สูงขึ้นจ กกิโลกรัมละ 89.17 บาท ของสัปดาห์ก่อน 1.54 บาท
2.3 กุ้งกุลาดำ กุ้งกุลาดำสดขนาดกลาง (51-60 ตัว/กก.) ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 179.00 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 183.00 บาท ของสัปดาห์ก่อน 4.00 บาท
สำหรับราคา ณ ตลาดกลางกุ้งสมุทรสาคร ขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2 3 7.00 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 233.00 บาท ของสัปดาห์ก่อน 4.00 บาท
2.4 ปลาทู ปลาทูสดขนาดกลาง ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.85 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 27.62 บาท ของสัปดาห์ก่อน 1.23 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉ ลี่ยกิโลกรัมละ 50.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
2.5 ปลาหมึก ราคาปลาหมึกกระดองสดที่ชาวประมงขายได้ ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉ ลี่ยกิโลกรัมละ 101.43 บาท ลดลงจ กกิโลกรัมละ 102.50 บาท ของสัปดาห์ก่อน 1.07 บาท
2.6 ปลาเป็ดและปลาป่น ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 4.36 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 4.38 บาท ของสัปดาห์ก่อน 0.02 บาท
สำหรับราคาขายส่งปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% (ระหว่างวัน ที่ 14 - 18 มี.ค. 2548 ) เฉลี่ยกิโลกรัมละ 19.80 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 19.90 บาท ของสัปดาห์ก่อน 0.10 บาท
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 11 ประจำวันที่ 14-20 มีนาคม 2548--
-พห-
การผลิต
ในรอบสัปดาห์ที่ผ่าน มา (วันที่ 6-12 มี.ค. 48) สัตว์น้ำทุกชนิดส่งเข้าประมูลจำหน่ายที่องค์การสะพานปลา กรุงเทพฯ มีจำนวนรวมทั้งสิ้น 1,120.47 ตัน แยกเป็นสัตว์น้ำเค็ม 455.69 ตัน สัตว์น้ำจืด 664.78 ตัน ประกอบด้วยสัตว์น้ำที่สำคัญ ได้แก่
1.1 ปลาดุก ส่งเข้าประมูลจำหน่าย 4.42 ตัน
1.2 ปลาช่อน ส่งเข้าประมูลจำหน่าย 4.83 ตัน
1.3 กุ้งทะเล ส่งเข้าประมูลจำหน่าย 85.37 ตัน
1.4 ปลาทู ส่งเข้าประมูลจำหน่าย 10.85 ตัน
1.5 ปลาหมึก ส่งเข้าประมูลจำหน่าย 31.36 ตัน
การตลาด
การตรวจสอบหาสารคลอแรมพฟินิคอล
นายปราการ วีรกุล เอกอัครราชทูตที่ปรึกษาฝ่ายการเกษตร สำนักงานที่ปรึกษาเกษตร ต่างประเทศ ประจำกรุงวอชิงตัน ดี ซี ได้รับรายงานว่ามีการตรวจสอบหาสารคลอแรมฟินิคอล จากผลิตภัณฑ์กุ้งตัวอย่าง 8 ประเทศ ได้แก่ ประเทศเอกวาดอร์ บราซิล อินเดีย เวียดนาม จีน ไทย บังคลาเทศ และสหรัฐอเมริกา เมื่อ 18 มกราคม 2548 โดยผลิตภัณฑ์ที่ได้รับการตรวจสอบมีกุ้งขาว กุ้งกุลาดำ และกุ้งก้ามกราม ผลการตรวจตามระเบียบข้อกำหนด ปริมาณสารตกค้างคลอแรมฟินิคอล ต้องต่ำกว่า 0.3 ppb. ปรากฏว่า ผลิตภัณฑ์กุ้งที่ส่งเข้าตรวจทั้งหมดจาก 8 ประเทศดังกล่าวอยู่ในเกณฑ์มาตรฐานและสามารถผ่านการตรวจสอบอย่างครบถ้วน ชนิดผลิตภัณฑ์ที่ส่งเข้าตรวจ มีดังนี้ ประเทศเอกวาดอร์ จีน บังคลาเทศ บราซิล และสหรัฐอเมริกาส่งตรวจกุ้งขาว ประเทศเวียดนามและไทย ส่งตรวจกุ้งกุลาดำ ส่วนประเทศอินเดียส่งตรวจกุ้งก้ามกราม สำนักงานที่ปรึกษาการเกษตรต่างประเทศ รายงานว่า ได้รับแจ้งผลการตรวจสอบตัวอย่างผลิตภัณฑ์กุ้ง เมื่อวันที่ 4 กุมภาพันธ์ 2548 ยืนยันไม่พบสารคลอแรมฟินิคอลในกุ้งกุลาดำของไทย ทำให้ประเทศคู่ค้ามั่นใจได้ว่าสินค้ากุ้งกุลาดำของไทยที่ส่งออกไปจำหน่ายยังตลาดต่างประเทศเป็นกุ้งคุณภาพดี ถูกสุขอนามัยและปลอดภัย อีกทั้งได้มาตรฐานตามระเบียบข้อกำหนดทุกประการ ประเทศไทยส่งกุ้งกุลาดำออกไปจำหน่ายที่ประเทศสหรัฐอเมริกาเป็นจำนวนมาก เพราะตลาดสหรัฐอเมริกาต้องการกุ้งกุลาดำ ขณะนี้กุ้งกุลาดำมีราคาจำหน่ายสูงกว่ากุ้งขาว เนื่องจากกุ้งกุลาดำมีรสชาดอร่อยกว่า เลี้ยงยากกว่า จึงทำให้มีราคาแพงกว่า ซึ่งเป็นที่ยอมรับของตลาดต่างประเทศ แต่ปัจจุบันเกษตรกรที่เคยเลี้ยงกุ้งกุลาดำเปลี่ยนมาเลี้ยงกุ้งขาวกันมากขึ้นถึงร้อยละ 90 ของการเลี้ยงกุ้งทั้งหมด เนื่องจากการเลี้ยงกุ้งกุลาดำเกิดปัญหาโรคกุ้ง เลี้ยงไม่โตและแคระแกรน ต้นทุนสูง เป็นต้น
ความเคลื่อนไหวของราคาสัตว์น้ำที่สำคัญประจำสัปดาห์นี้มีดังนี้ คือ
2.1 ปลาดุกบิ๊กอุย ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 27.58 บาท ลดลงจ กกิโลกรัมละ 34.63 บาท ของสัปดาห์ก่อน 7.05 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯไม่มีรายงานราคาจากองค์การสะพานปลากรุงเทพฯ
2.2 ปลาช่อน ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 63.57 บาท สูงขึ้น จากกิโลกรัมละ 63.11 บาท ของสัปดาห์ก่อน 0.46 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉ ลี่ยกิโลกรัมละ 90.71 บาท สูงขึ้นจ กกิโลกรัมละ 89.17 บาท ของสัปดาห์ก่อน 1.54 บาท
2.3 กุ้งกุลาดำ กุ้งกุลาดำสดขนาดกลาง (51-60 ตัว/กก.) ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 179.00 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 183.00 บาท ของสัปดาห์ก่อน 4.00 บาท
สำหรับราคา ณ ตลาดกลางกุ้งสมุทรสาคร ขนาดกลาง (60 ตัว/กก.) เฉลี่ยกิโลกรัมละ 2 3 7.00 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 233.00 บาท ของสัปดาห์ก่อน 4.00 บาท
2.4 ปลาทู ปลาทูสดขนาดกลาง ราคาที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 28.85 บาท สูงขึ้นจากกิโลกรัมละ 27.62 บาท ของสัปดาห์ก่อน 1.23 บาท
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉ ลี่ยกิโลกรัมละ 50.00 บาท ทรงตัวเท่ากับสัปดาห์ก่อน
2.5 ปลาหมึก ราคาปลาหมึกกระดองสดที่ชาวประมงขายได้ ไม่มีรายงานราคา
สำหรับราคาประมูลจำหน่ายที่สะพานปลากรุงเทพฯ เฉ ลี่ยกิโลกรัมละ 101.43 บาท ลดลงจ กกิโลกรัมละ 102.50 บาท ของสัปดาห์ก่อน 1.07 บาท
2.6 ปลาเป็ดและปลาป่น ราคาปลาเป็ดที่ชาวประมงขายได้เฉลี่ยกิโลกรัมละ 4.36 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 4.38 บาท ของสัปดาห์ก่อน 0.02 บาท
สำหรับราคาขายส่งปลาป่นชนิดโปรตีนต่ำกว่า 60% (ระหว่างวัน ที่ 14 - 18 มี.ค. 2548 ) เฉลี่ยกิโลกรัมละ 19.80 บาท ลดลงจากกิโลกรัมละ 19.90 บาท ของสัปดาห์ก่อน 0.10 บาท
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 11 ประจำวันที่ 14-20 มีนาคม 2548--
-พห-