บันทึกการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ ๒๒ ปีที่ ๑
ครั้งที่ ๑๐ (สมัยสามัญทั่วไป)
วันพุธที่ ๑๘ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๔๘
ณ ตึกรัฐสภา
--------------------------
เริ่มประชุมเวลา ๑๓.๓๐ นาฬิกา
เมื่อครบองค์ประชุมแล้ว นายโภคิน พลกุล ประธานสภาผู้แทนราษฎร
ขึ้นบัลลังก์และกล่าวเปิดประชุม จากนั้นได้แจ้งให้ที่ประชุมรับทราบเรื่องต่าง ๆ ดังนี้
๑. เรื่องนายกรัฐมนตรีได้รับร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินไว้พิจารณาให้คำรับรอง จำนวน ๗ ฉบับ คือ
(๑) ร่างพระราชบัญญัติการขจัดความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. …. ซึ่ง นางนิภา พริ้งศุลกะ กับคณะ เป็นผู้เสนอ
(๒) ร่างพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. …. ซึ่ง นายบุรณัชย์ สมุทรักษ์ กับคณะ เป็นผู้เสนอ
(๓) ร่างพระราชบัญญัติวิชาชีพการสาธารณสุข พ.ศ. …. ซึ่ง นายวัลลภ ไทยเหนือ กับคณะ เป็นผู้เสนอ
(๔) ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ พ.ศ. …. ซึ่ง นายสุวโรช พะลัง กับคณะ เป็นผู้เสนอ
(๕) ร่างพระราชบัญญัติการยางแห่งประเทศไทย พ.ศ. …. ซึ่ง นายอาคม เอ่งฉ้วน กับคณะ เป็นผู้เสนอ
(๖) ร่างพระราชบัญญัติการศึกษานอกโรงเรียน พ.ศ. …. ซึ่ง นางสาวกัญจนา ศิลปอาชา และนายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ เป็นผู้เสนอ
(๗) ร่างพระราชบัญญัติการรับฟังและการมีส่วนร่วมของประชาชน พ.ศ. …. ซึ่ง นายบุรณัชย์ สมุทรักษ์ กับคณะ เป็นผู้เสนอ
๒. ที่ประชุมวุฒิสภา ครั้งที่ ๑๓ (สมัยสามัญทั่วไป) วันจันทร์ที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๔๘
ได้ลงมติเห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติซึ่งสภาผู้แทนราษฎรลงมติเห็นชอบแล้ว จำนวน ๒ ฉบับ คือ
(๑) ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยเหรียญเฉลิมพระเกียรติและเหรียญที่ระลึก พ.ศ. ….
(๒) ร่างพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ ในท้องที่ตำบล ในเมือง อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ พ.ศ. ….
ที่ประชุมรับทราบ
ต่อจากนั้น ประธานสภาผู้แทนราษฎรได้เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาระเบียบวาระเรื่องด่วน คือ
พิจารณาร่างพระราชบัญญัติที่รัฐสภามีมติเห็นชอบให้พิจารณาต่อไป ตามมาตรา ๑๗๘ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ตามลำดับคือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. …. (ค้างการพิจารณาในกรณีวุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติมของสภาผู้แทนราษฎรชุดที่แล้ว)
ที่ประชุมได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และได้ลงมติไม่เห็นชอบด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติมของวุฒิสภา โดยกำหนดจำนวนบุคคลที่จะประกอบเป็น
กรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ จำนวน ๒๔ คน และตั้งคณะกรรมาธิการฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร จำนวน ๑๒ คน ประกอบด้วย
๑. นายรุ่ง แก้วแดง ๒. ศาสตราจารย์สุชาติ อุปถัมภ์
๓. ศาสตราจารย์ลิขิต ธีรเวคิน ๔. รองศาสตราจารย์ชูศักดิ์ ศิรินิล
๕. นายสฤต สันติเมทนีดล ๖. นายพีรพันธุ์ พาลุสุข
๗. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง ๘. นายเอกพร รักความสุข
๙. นายจำลอง ครุฑขุนทด ๑๐. นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ
๑๑. นายเจริญ คันธวงศ์ ๑๒. นายวินัย วิริยกิจจา
๒. ร่างพระราชบัญญัติการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ พ.ศ. ….
(ค้างการพิจารณาในกรณีวุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติมของสภาผู้แทนราษฎรชุดที่แล้ว)
ที่ประชุมได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และได้ลงมติเห็นชอบด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติมของวุฒิสภา
จึงถือว่าร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ ได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาแล้ว ตามมาตรา ๑๗๕ (๓) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
๓. ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความแพ่ง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. (แก้ไขเพิ่มเติมภาค ๑ ลักษณะ ๕ ว่าด้วยพยานหลักฐาน)
ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ค้างพิจารณาในวาระที่ ๑ ของสภาผู้แทนราษฎรชุดที่แล้ว)
โดยที่ประชุมเห็นชอบให้นำร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก ๑ ฉบับ ขึ้นมาพิจารณารวมกันไป
คือ ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
(แก้ไขเพิ่มเติมภาค ๑ ลักษณะ ๕ ว่าด้วยพยานหลักฐาน) ซึ่ง นายจองชัย เที่ยงธรรม
และนายวีระศักดิ์ โควสุรัตน์ เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๖.๒)
เมื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม (นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ) และ
ผู้เสนอได้แถลงหลักการและเหตุผล ตามลำดับ มีสมาชิกฯ อภิปราย ต่อมา
รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่งได้ปฏิบัติหน้าที่แทน และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม (นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ)
ตอบชี้แจงจนได้เวลาพอสมควรแล้ว
ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๒ ฉบับ
พร้อมกันไป และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา
โดยถือเอาร่างพระราชบัญญัติของคณะรัฐมนตรีเป็นหลักในการพิจารณา
คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ ๒. นายประเชิญ ติยะปัญจนิตย์
๓. นายจรัญ ภักดีธนากุล ๔. นายพรเพชร วิชิตชลชัย
๕. นายวรรณชัย บุญบำรุง ๖. นายพงษ์พิสุทธิ์ จินตโสภณ
๗. นายสากล ม่วงศิริ ๘. นายประชา ประสพดี
๙. นายลิขิต หมู่ดี ๑๐. พันเอก อภิวันท์ วิริยะชัย
๑๑. ว่าที่ร้อยตรี ธนู จงเพิ่มดำรงชัย ๑๒. นายกิตติกร โล่ห์สุนทร
๑๓. นายปัญญา จีนาคำ ๑๔. พันตำรวจโท บรรยิน ตั้งภากรณ์
๑๕. นายหัสนัยน์ สอนสิทธิ์ ๑๖. นายเจริญ จรรย์โกมล
๑๗. นายประเสริฐ บุญชัยสุข ๑๘. นายพิษณุ หัตถสงเคราะห์
๑๙. นายฉลาด ขามช่วง ๒๐. นายอุดร ทองประเสริฐ
๒๑. นายชวลิต วิชยสุทธิ์ ๒๒. นายประสิทธิ์ ชัยวิรัตนะ
๒๓. นายวิรัตน์ ตยางคนนท์ ๒๔. นายวิชิต ปลั่งศรีสกุล
๒๕. นายสมชัย ฉัตรพัฒนศิริ ๒๖. ร้อยโท วิรัช พันธุมะผล
๒๗. นายบุญเขตร์ พุ่มทิพย์ ๒๘. นายสาธิต ปิตุเตชะ
๒๙. นายนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ ๓๐. นายพร้อม พรหมพันธุ์
๓๑. นายสัมพันธ์ แป้นพัฒน์ ๓๒. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค
๓๓. นายสู่บุญ วุฒิวงศ์ ๓๔. นายวิทยา บุตรดีวงค์
๓๕. นายเกษม สรศักดิ์เกษม
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๔. ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
(แก้ไขเพิ่มเติมภาค ๑ ลักษณะ ๕ ว่าด้วยพยานหลักฐาน) ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ค้างพิจารณาในวาระที่ ๑
ของสภาผู้แทนราษฎรชุดที่แล้ว) โดยที่ประชุมเห็นชอบให้นำร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก ๑ ฉบับ
ขึ้นมาพิจารณารวมกันไป คือ ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ..)
พ.ศ. …. ซึ่ง นายจองชัย เที่ยงธรรม และนายวีระศักดิ์ โควสุรัตน์ เป็นผู้เสนอ (ซึ่งยังมิได้บรรจุระเบียบวาระ)
เมื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม (นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ) และ
ผู้เสนอได้แถลงหลักการและเหตุผล ตามลำดับ มีสมาชิกฯ อภิปราย โดยมี
ประธานสภาผู้แทนราษฎรและรองประธานสภาผู้แทนราษฎรทั้งสองได้ผลัดเปลี่ยนกันดำเนินการประชุม
และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม (นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ) ตอบชี้แจงจนได้เวลาพอสมควรแล้ว
ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๒ ฉบับพร้อมกันไป
และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา โดยถือเอาร่างพระราชบัญญัติ
ของคณะรัฐมนตรีเป็นหลักในการพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ ๒. นายวิศิษฏ์ วิศิษฏ์สรอรรถ
๓. นายจรัญ ภักดีธนากุล ๔. นายพรเพชร วิชิตชลชัย
๕. นายวรรณชัย บุญบำรุง ๖. นางสาวศิลัมพา เลิศนุวัฒน์
๗. นายสุวัฒน์ ม่วงศิริ ๘. นายอิทธิพล คุณปลื้ม
๙. นายวุฒิพงศ์ ฉายแสง ๑๐. นายจิรพันธ์ ลิ้มสกุลศิริรัตน์
๑๑. นายอัมรินทร์ ตั้งประกอบ ๑๒. นายกิตติกร โล่ห์สุนทร
๑๓. นายปัญญา จีนาคำ ๑๔. พันตำรวจโท บรรยิน ตั้งภากรณ์
๑๕. นายหัสนัยน์ สอนสิทธิ์ ๑๖. นายเจริญ จรรย์โกมล
๑๗. นายประเสริฐ บุญชัยสุข ๑๘. นายพิษณุ หัตถสงเคราะห์
๑๙. นายฉลาด ขามช่วง ๒๐. นายอุดร ทองประเสริฐ
๒๑. นายชวลิต วิชยสุทธิ์ ๒๒. นายประสิทธิ์ ชัยวิรัตนะ
๒๓. นายประชุม ทองมี ๒๔. นายวิชิต ปลั่งศรีสกุล
๒๕. นางสาวปาริชาติ ชาลีเครือ ๒๖. นายธนา เบญจาธิกุล
๒๗. นายสุรเชษฐ์ ดวงสอดศรี ๒๘. นายสราวุธ เบญจกุล
๒๙. นางรัชฎาภรณ์ แก้วสนิท ๓๐. นายนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ
๓๑. นายสาธิต ปิตุเตชะ ๓๒. นายถาวร เสนเนียม
๓๓. นายณรงค์ ดูดิง ๓๔. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์
๓๕. นายวีระศักดิ์ โควสุรัตน์
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๕. ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ค้างพิจารณาในวาระที่ ๑ ของสภาผู้แทนราษฎรชุดที่แล้ว) โดยที่ประชุม
เห็นชอบให้นำร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก ๑ ฉบับ ขึ้นมาพิจารณารวมกันไป คือ ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้ง
ศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ
และนายวิทยา บุตรดีวงค์ เป็นผู้เสนอ (ซึ่งยังมิได้บรรจุระเบียบวาระ)
เมื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม (นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ) และ
ผู้เสนอได้แถลงหลักการและเหตุผล ตามลำดับ มีสมาชิกฯ อภิปราย โดยมีประธานสภาผู้แทนราษฎร
และรองประธานสภาผู้แทนราษฎรทั้งสองได้ผลัดเปลี่ยนกันดำเนินการประชุม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
(นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ) ตอบชี้แจงจนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่ง
ร่างพระราชบัญญัติ ทั้ง ๒ ฉบับพร้อมกันไป และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา
โดยถือเอาร่างพระราชบัญญัติของคณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๐๑. ร้อยตรี ประพาส ลิมปะพันธุ์ ๒. นายประชาธิปไตย คำสิงห์นอก
๐๓. นายวิรัตน์ ลัทธิวงศกร ๔. นายชาญณรงค์ ปราณีจิตต์
๐๕. นายวรรณชัย บุญบำรุง ๖. นายสุวิทย์ หาทอง
๐๗. นายบัณฑิตย์ ธนชัยเศรษฐวุฒิ ๘. นายธารา ปิตุเตชะ
๐๙. นายปราโมทย์ วีระพันธ์ ๑๐. นายสุชาติ ลายน้ำเงิน
๑๑. นางพวงเพ็ชร ชุนละเอียด ๑๒. นายสถาพร มณีรัตน์
๑๓. พันจ่าอากาศโท กิตติคุณ นาคะบุตร ๑๔. นายสนั่น สบายเมือง
๑๕. นายอิทธิรัตน์ จันทรสุรินทร์ ๑๖. นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล
๑๗. นางสาวภัทรา วรามิตร ๑๘. นายนิพนธ์ คนขยัน
๑๙. นางจันทร์เพ็ญ แสงเจริญรัตน์ ๒๐. นายสมศักดิ์ โสมกลาง
๒๑. นายเรืองเดช สุพรรณฝ่าย ๒๒. นายศุภชัย โพธิ์สุ
๒๓. นางลดาวัลลิ์ วงศ์ศรีวงศ์ ๒๔. นายไชยวัฒน์ ติณรัตน์
๒๕. นายเอกพร รักความสุข ๒๖. นายไพจิต ศรีวรขาน
๒๗. นายพินิจ จันทร์สมบูรณ์ ๒๘. นายองอาจ คล้ามไพบูลย์
๒๙. นายสุทัศน์ เงินหมื่น ๓๐. นายพงษ์ศักดิ์ เปล่งแสง
๓๑. นายวิฑูรย์ นามบุตร ๓๒. นายเชน เทือกสุบรรณ
๓๓. นาวาตรี สุธรรม ระหงษ์ ๓๔. นายเอกพจน์ ปานแย้ม
๓๕. นายวิชัย โถสุวรรณจินดา
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๖. ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลภาษีอากรและวิธีพิจารณาคดี
ภาษีอากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ
(ค้างพิจารณาในวาระที่ ๑ ของสภาผู้แทนราษฎรชุดที่แล้ว) โดยที่ประชุมเห็นชอบ
ให้นำร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก ๑ ฉบับ ขึ้นมาพิจารณารวมกันไป คือ
ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลภาษีอากรและวิธีพิจารณาคดีภาษีอากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
ซึ่ง นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ และนายวิทยา บุตรดีวงค์ เป็นผู้เสนอ (ซึ่งยังมิได้บรรจุระเบียบวาระ)
เมื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม (นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ) และ
ผู้เสนอได้แถลงหลักการและเหตุผล ตามลำดับ ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑
รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๒ ฉบับพร้อมกันไป และมีมติให้ตั้ง
คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา โดยถือเอาร่างพระราชบัญญัติของ
คณะรัฐมนตรีเป็นหลักในการพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. ร้อยเอก สุชาติ เชาว์วิศิษฐ ๒. นายพรชัย อัศววัฒนาพร
๓. นายวัส ติงสมิตร ๔. นายชาญณรงค์ ปราณีจิตต์
๕. นายวรรณชัย บุญบำรุง ๖. นายเฉลิมชัย จีนะวิจารณะ
๗. นางสาวภูวนิดา คุนผลิน ๘. นายก่อเกียรติ สิริยะเสถียร
๙. นายวรัญญู เทพหัสดิน ณ อยุธยา ๑๐. นายฉัตรชัย ศิลาพร
๑๑. ร้อยตรี กฤษฎา การุญ ๑๒. นายอนุวัธ วงศ์วรรณ
๑๓. นายกิตติกร โล่ห์สุนทร ๑๔. นายนิยม ช่างพินิจ
๑๕. นายธนัสถ์ ทวีเกื้อกูลกิจ ๑๖. นางสาวรสพิมล จิรเมธากร
๑๗. นายฉลาด ขามช่วง ๑๘. นายอุดร ทองประเสริฐ
๑๙. นายอรรถสิทธิ์ (คันคาย) ทรัพยสิทธิ์ ๒๐. นายกิตติ สมทรัพย์
๒๑. นายสมศักดิ์ โสมกลาง ๒๒. นายเสรี สาระนันท์
๒๓. นายวิรัตน์ ตยางคนนท์ ๒๔. นายวิชิต ปลั่งศรีสกุล
๒๕. นายวิทยา ภูมิเหล่าแจ้ง ๒๖. นายสาคร ตั้งวรรณวิบูลย์
๒๗. นายไชยรัตน์ ไทยเจียมอารีย์ ๒๘. นายพิชัย นิลทองคำ
๒๙. นายเกียรติ สิทธีอมร ๓๐. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค
๓๑. นายเกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ ๓๒. นายสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล
๓๓. นายอันวาร์ สาและ ๓๔. นายธรรมา ปิ่นสุกาญจนะ
๓๕. นายปิลันธน์ จิตต์ธรรม
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๗. ร่างพระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
(กำหนดหลักเกณฑ์และสิทธิของข้าราชการซึ่งโอนไปเป็นข้าราชการ
ส่วนท้องถิ่นและพนักงานของมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐในการเป็นสมาชิกกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ)
ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ค้างพิจารณาในวาระ ที่ ๑ ของสภาผู้แทนราษฎรชุดที่แล้ว)
โดยที่ประชุมเห็นชอบให้นำร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก ๑ ฉบับ ขึ้นมาพิจารณารวมกันไป คือ ร่างพระราชบัญญัติ
กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง นายอนุรักษ์ จุรีมาศ และนายวินัย วิริยกิจจา เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๕.๓)
เมื่อรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง (นายวราเทพ รัตนากร) และผู้เสนอได้แถลงหลักการและเหตุผล
ตามลำดับ มีสมาชิกฯ อภิปราย และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง (นายวราเทพ รัตนากร)
ตอบชี้แจงจนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๒ ฉบับ
พร้อมกันไป และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา โดยถือเอาร่างพระราชบัญญัติ
ของคณะรัฐมนตรีเป็นหลักในการพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายวราเทพ รัตนากร ๒. นายสมภพ บัณฑรวิพากษ์
๓. นายขจร จิตสุขุมมงคล ๔. นางสาวนัชชา พรตปกรณ์
๕. นายนพดล เภรีฤกษ์ ๖. นางสาวศิลัมพา เลิศนุวัฒน์
๗. นายประจวบ อึ๊งภากรณ์ ๘. นายอนุสรณ์ ไกรวัตนุสสรณ์
๙. นางกนกวรรณ วิลาวัลย์ ศรีจันทร์งาม ๑๐. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์
๑๑. นายนิทัศน์ ศรีนนท์ ๑๒. นายสมบูรณ์ ไพรวัลย์
๑๓. พันตำรวจโท ไวพจน์ อาภรณ์รัตน์ ๑๔. นายชำนาญ สันติพนารักษ์
๑๕. นายสุรสิทธิ์ เจียมวิจักษณ์ ๑๖. นายวิวัฒชัย โหตระไวศยะ
๑๗. นายชัยศรี กีฬา ๑๘. นายประจักษ์ แกล้วกล้าหาญ
๑๙. นางบุญรื่น ศรีธเรศ ๒๐. นายพิทยา บุญเฉลียว
๒๑. นายกิตติ สมทรัพย์ ๒๒. นายชัยยุทธ จรรย์โกมล
๒๓. นายสิทธิรัตน์ รัตนวิจารณ์ ๒๔. พันเอก วินัย สมพงษ์
๒๕. นายสิน กุมภะ ๒๖. นายโกวิทย์ ธรรมานุชิต
๒๗. นายพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน ๒๘. นายอภิชาต การิกาญจน์
๒๙. นายวิทยา แก้วภราดัย ๓๐. นายเจริญ คันธวงศ์
๓๑. นายวัลลภ ไทยเหนือ ๓๒. นายสมเกียรติ ฉันทวานิช
๓๓. นางเจิมมาศ จึงเลิศศิริ ๓๔. นายอนุรักษ์ จุรีมาศ
๓๕. นายอรรณพ เพียรชนะ
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
เลิกประชุมเวลา ๑๙.๐๓ นาฬิกา
(นายพิทูร พุ่มหิรัญ)
เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
สำนักรายงานการประชุมและชวเลข
กลุ่มงานรายงานการประชุม
โทร. ๐ ๒๒๔๔ ๒๓๗๒ - ๓
โทรสาร ๐ ๒๒๔๔ ๒๓๗๒
สรุปผลการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
ตั้งคณะกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติที่รัฐสภามีมติ
เห็นชอบให้พิจารณาต่อไป ตามมาตรา ๑๗๘ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จำนวน ๑ ฉบับ คือ
- ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. ….
เห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติที่วุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติม ตามที่รัฐสภามีมติ
เห็นชอบให้พิจารณาต่อไป ตามมาตรา ๑๗๘ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จำนวน ๑ ฉบับ คือ
- ร่างพระราชบัญญัติการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ พ.ศ. ….
รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติที่รัฐสภามีมติเห็นชอบให้พิจารณาต่อไป
ตามมาตรา ๑๗๘ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จำนวน ๕ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
(แก้ไขเพิ่มเติมภาค ๑ ลักษณะ ๕ ว่าด้วยพยานหลักฐาน) (คณะรัฐมนตรีและสมาชิกฯ เสนอรวม ๒ ฉบับ)
๒. ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
(แก้ไขเพิ่มเติมภาค ๑ ลักษณะ ๕ ว่าด้วยพยานหลักฐาน) (คณะรัฐมนตรีและสมาชิกฯ เสนอรวม ๒ ฉบับ)
๓. ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
(คณะรัฐมนตรีและสมาชิกฯ เสนอรวม ๒ ฉบับ)
๔. ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลภาษีอากรและวิธีพิจารณาคดีภาษีอากร (ฉบับที่ ..)
พ.ศ. …. (คณะรัฐมนตรีและสมาชิกฯ เสนอรวม ๒ ฉบับ)
๕. ร่างพระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
(กำหนดหลักเกณฑ์และสิทธิของข้าราชการซึ่งโอนไปเป็นข้าราชการส่วนท้องถิ่นและพนักงานของมหาวิทยาลัย
ในกำกับของรัฐในการเป็นสมาชิกกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ) (คณะรัฐมนตรีและสมาชิกฯ เสนอรวม ๒ ฉบับ)
******************************
ครั้งที่ ๑๐ (สมัยสามัญทั่วไป)
วันพุธที่ ๑๘ พฤษภาคม พุทธศักราช ๒๕๔๘
ณ ตึกรัฐสภา
--------------------------
เริ่มประชุมเวลา ๑๓.๓๐ นาฬิกา
เมื่อครบองค์ประชุมแล้ว นายโภคิน พลกุล ประธานสภาผู้แทนราษฎร
ขึ้นบัลลังก์และกล่าวเปิดประชุม จากนั้นได้แจ้งให้ที่ประชุมรับทราบเรื่องต่าง ๆ ดังนี้
๑. เรื่องนายกรัฐมนตรีได้รับร่างพระราชบัญญัติเกี่ยวด้วยการเงินไว้พิจารณาให้คำรับรอง จำนวน ๗ ฉบับ คือ
(๑) ร่างพระราชบัญญัติการขจัดความรุนแรงในครอบครัว พ.ศ. …. ซึ่ง นางนิภา พริ้งศุลกะ กับคณะ เป็นผู้เสนอ
(๒) ร่างพระราชบัญญัติสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. …. ซึ่ง นายบุรณัชย์ สมุทรักษ์ กับคณะ เป็นผู้เสนอ
(๓) ร่างพระราชบัญญัติวิชาชีพการสาธารณสุข พ.ศ. …. ซึ่ง นายวัลลภ ไทยเหนือ กับคณะ เป็นผู้เสนอ
(๔) ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยชุมพรเขตรอุดมศักดิ์ พ.ศ. …. ซึ่ง นายสุวโรช พะลัง กับคณะ เป็นผู้เสนอ
(๕) ร่างพระราชบัญญัติการยางแห่งประเทศไทย พ.ศ. …. ซึ่ง นายอาคม เอ่งฉ้วน กับคณะ เป็นผู้เสนอ
(๖) ร่างพระราชบัญญัติการศึกษานอกโรงเรียน พ.ศ. …. ซึ่ง นางสาวกัญจนา ศิลปอาชา และนายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ เป็นผู้เสนอ
(๗) ร่างพระราชบัญญัติการรับฟังและการมีส่วนร่วมของประชาชน พ.ศ. …. ซึ่ง นายบุรณัชย์ สมุทรักษ์ กับคณะ เป็นผู้เสนอ
๒. ที่ประชุมวุฒิสภา ครั้งที่ ๑๓ (สมัยสามัญทั่วไป) วันจันทร์ที่ ๒ พฤษภาคม ๒๕๔๘
ได้ลงมติเห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติซึ่งสภาผู้แทนราษฎรลงมติเห็นชอบแล้ว จำนวน ๒ ฉบับ คือ
(๑) ร่างพระราชบัญญัติว่าด้วยเหรียญเฉลิมพระเกียรติและเหรียญที่ระลึก พ.ศ. ….
(๒) ร่างพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ ในท้องที่ตำบล ในเมือง อำเภอเมืองเพชรบูรณ์ จังหวัดเพชรบูรณ์ พ.ศ. ….
ที่ประชุมรับทราบ
ต่อจากนั้น ประธานสภาผู้แทนราษฎรได้เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาระเบียบวาระเรื่องด่วน คือ
พิจารณาร่างพระราชบัญญัติที่รัฐสภามีมติเห็นชอบให้พิจารณาต่อไป ตามมาตรา ๑๗๘ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย ตามลำดับคือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. …. (ค้างการพิจารณาในกรณีวุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติมของสภาผู้แทนราษฎรชุดที่แล้ว)
ที่ประชุมได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และได้ลงมติไม่เห็นชอบด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติมของวุฒิสภา โดยกำหนดจำนวนบุคคลที่จะประกอบเป็น
กรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ จำนวน ๒๔ คน และตั้งคณะกรรมาธิการฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร จำนวน ๑๒ คน ประกอบด้วย
๑. นายรุ่ง แก้วแดง ๒. ศาสตราจารย์สุชาติ อุปถัมภ์
๓. ศาสตราจารย์ลิขิต ธีรเวคิน ๔. รองศาสตราจารย์ชูศักดิ์ ศิรินิล
๕. นายสฤต สันติเมทนีดล ๖. นายพีรพันธุ์ พาลุสุข
๗. ร้อยโท กุเทพ ใสกระจ่าง ๘. นายเอกพร รักความสุข
๙. นายจำลอง ครุฑขุนทด ๑๐. นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ
๑๑. นายเจริญ คันธวงศ์ ๑๒. นายวินัย วิริยกิจจา
๒. ร่างพระราชบัญญัติการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ พ.ศ. ….
(ค้างการพิจารณาในกรณีวุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติมของสภาผู้แทนราษฎรชุดที่แล้ว)
ที่ประชุมได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และได้ลงมติเห็นชอบด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติมของวุฒิสภา
จึงถือว่าร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ ได้รับความเห็นชอบจากรัฐสภาแล้ว ตามมาตรา ๑๗๕ (๓) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย
๓. ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณา
ความแพ่ง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. (แก้ไขเพิ่มเติมภาค ๑ ลักษณะ ๕ ว่าด้วยพยานหลักฐาน)
ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ค้างพิจารณาในวาระที่ ๑ ของสภาผู้แทนราษฎรชุดที่แล้ว)
โดยที่ประชุมเห็นชอบให้นำร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก ๑ ฉบับ ขึ้นมาพิจารณารวมกันไป
คือ ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
(แก้ไขเพิ่มเติมภาค ๑ ลักษณะ ๕ ว่าด้วยพยานหลักฐาน) ซึ่ง นายจองชัย เที่ยงธรรม
และนายวีระศักดิ์ โควสุรัตน์ เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๖.๒)
เมื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม (นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ) และ
ผู้เสนอได้แถลงหลักการและเหตุผล ตามลำดับ มีสมาชิกฯ อภิปราย ต่อมา
รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่งได้ปฏิบัติหน้าที่แทน และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม (นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ)
ตอบชี้แจงจนได้เวลาพอสมควรแล้ว
ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๒ ฉบับ
พร้อมกันไป และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา
โดยถือเอาร่างพระราชบัญญัติของคณะรัฐมนตรีเป็นหลักในการพิจารณา
คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ ๒. นายประเชิญ ติยะปัญจนิตย์
๓. นายจรัญ ภักดีธนากุล ๔. นายพรเพชร วิชิตชลชัย
๕. นายวรรณชัย บุญบำรุง ๖. นายพงษ์พิสุทธิ์ จินตโสภณ
๗. นายสากล ม่วงศิริ ๘. นายประชา ประสพดี
๙. นายลิขิต หมู่ดี ๑๐. พันเอก อภิวันท์ วิริยะชัย
๑๑. ว่าที่ร้อยตรี ธนู จงเพิ่มดำรงชัย ๑๒. นายกิตติกร โล่ห์สุนทร
๑๓. นายปัญญา จีนาคำ ๑๔. พันตำรวจโท บรรยิน ตั้งภากรณ์
๑๕. นายหัสนัยน์ สอนสิทธิ์ ๑๖. นายเจริญ จรรย์โกมล
๑๗. นายประเสริฐ บุญชัยสุข ๑๘. นายพิษณุ หัตถสงเคราะห์
๑๙. นายฉลาด ขามช่วง ๒๐. นายอุดร ทองประเสริฐ
๒๑. นายชวลิต วิชยสุทธิ์ ๒๒. นายประสิทธิ์ ชัยวิรัตนะ
๒๓. นายวิรัตน์ ตยางคนนท์ ๒๔. นายวิชิต ปลั่งศรีสกุล
๒๕. นายสมชัย ฉัตรพัฒนศิริ ๒๖. ร้อยโท วิรัช พันธุมะผล
๒๗. นายบุญเขตร์ พุ่มทิพย์ ๒๘. นายสาธิต ปิตุเตชะ
๒๙. นายนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ ๓๐. นายพร้อม พรหมพันธุ์
๓๑. นายสัมพันธ์ แป้นพัฒน์ ๓๒. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค
๓๓. นายสู่บุญ วุฒิวงศ์ ๓๔. นายวิทยา บุตรดีวงค์
๓๕. นายเกษม สรศักดิ์เกษม
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๔. ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
(แก้ไขเพิ่มเติมภาค ๑ ลักษณะ ๕ ว่าด้วยพยานหลักฐาน) ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ค้างพิจารณาในวาระที่ ๑
ของสภาผู้แทนราษฎรชุดที่แล้ว) โดยที่ประชุมเห็นชอบให้นำร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก ๑ ฉบับ
ขึ้นมาพิจารณารวมกันไป คือ ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ..)
พ.ศ. …. ซึ่ง นายจองชัย เที่ยงธรรม และนายวีระศักดิ์ โควสุรัตน์ เป็นผู้เสนอ (ซึ่งยังมิได้บรรจุระเบียบวาระ)
เมื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม (นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ) และ
ผู้เสนอได้แถลงหลักการและเหตุผล ตามลำดับ มีสมาชิกฯ อภิปราย โดยมี
ประธานสภาผู้แทนราษฎรและรองประธานสภาผู้แทนราษฎรทั้งสองได้ผลัดเปลี่ยนกันดำเนินการประชุม
และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม (นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ) ตอบชี้แจงจนได้เวลาพอสมควรแล้ว
ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๒ ฉบับพร้อมกันไป
และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา โดยถือเอาร่างพระราชบัญญัติ
ของคณะรัฐมนตรีเป็นหลักในการพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ ๒. นายวิศิษฏ์ วิศิษฏ์สรอรรถ
๓. นายจรัญ ภักดีธนากุล ๔. นายพรเพชร วิชิตชลชัย
๕. นายวรรณชัย บุญบำรุง ๖. นางสาวศิลัมพา เลิศนุวัฒน์
๗. นายสุวัฒน์ ม่วงศิริ ๘. นายอิทธิพล คุณปลื้ม
๙. นายวุฒิพงศ์ ฉายแสง ๑๐. นายจิรพันธ์ ลิ้มสกุลศิริรัตน์
๑๑. นายอัมรินทร์ ตั้งประกอบ ๑๒. นายกิตติกร โล่ห์สุนทร
๑๓. นายปัญญา จีนาคำ ๑๔. พันตำรวจโท บรรยิน ตั้งภากรณ์
๑๕. นายหัสนัยน์ สอนสิทธิ์ ๑๖. นายเจริญ จรรย์โกมล
๑๗. นายประเสริฐ บุญชัยสุข ๑๘. นายพิษณุ หัตถสงเคราะห์
๑๙. นายฉลาด ขามช่วง ๒๐. นายอุดร ทองประเสริฐ
๒๑. นายชวลิต วิชยสุทธิ์ ๒๒. นายประสิทธิ์ ชัยวิรัตนะ
๒๓. นายประชุม ทองมี ๒๔. นายวิชิต ปลั่งศรีสกุล
๒๕. นางสาวปาริชาติ ชาลีเครือ ๒๖. นายธนา เบญจาธิกุล
๒๗. นายสุรเชษฐ์ ดวงสอดศรี ๒๘. นายสราวุธ เบญจกุล
๒๙. นางรัชฎาภรณ์ แก้วสนิท ๓๐. นายนิพิฏฐ์ อินทรสมบัติ
๓๑. นายสาธิต ปิตุเตชะ ๓๒. นายถาวร เสนเนียม
๓๓. นายณรงค์ ดูดิง ๓๔. พลตำรวจโท วิโรจน์ เปาอินทร์
๓๕. นายวีระศักดิ์ โควสุรัตน์
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๕. ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ค้างพิจารณาในวาระที่ ๑ ของสภาผู้แทนราษฎรชุดที่แล้ว) โดยที่ประชุม
เห็นชอบให้นำร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก ๑ ฉบับ ขึ้นมาพิจารณารวมกันไป คือ ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้ง
ศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ
และนายวิทยา บุตรดีวงค์ เป็นผู้เสนอ (ซึ่งยังมิได้บรรจุระเบียบวาระ)
เมื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม (นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ) และ
ผู้เสนอได้แถลงหลักการและเหตุผล ตามลำดับ มีสมาชิกฯ อภิปราย โดยมีประธานสภาผู้แทนราษฎร
และรองประธานสภาผู้แทนราษฎรทั้งสองได้ผลัดเปลี่ยนกันดำเนินการประชุม และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม
(นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ) ตอบชี้แจงจนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่ง
ร่างพระราชบัญญัติ ทั้ง ๒ ฉบับพร้อมกันไป และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา
โดยถือเอาร่างพระราชบัญญัติของคณะรัฐมนตรี เป็นหลักในการพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๐๑. ร้อยตรี ประพาส ลิมปะพันธุ์ ๒. นายประชาธิปไตย คำสิงห์นอก
๐๓. นายวิรัตน์ ลัทธิวงศกร ๔. นายชาญณรงค์ ปราณีจิตต์
๐๕. นายวรรณชัย บุญบำรุง ๖. นายสุวิทย์ หาทอง
๐๗. นายบัณฑิตย์ ธนชัยเศรษฐวุฒิ ๘. นายธารา ปิตุเตชะ
๐๙. นายปราโมทย์ วีระพันธ์ ๑๐. นายสุชาติ ลายน้ำเงิน
๑๑. นางพวงเพ็ชร ชุนละเอียด ๑๒. นายสถาพร มณีรัตน์
๑๓. พันจ่าอากาศโท กิตติคุณ นาคะบุตร ๑๔. นายสนั่น สบายเมือง
๑๕. นายอิทธิรัตน์ จันทรสุรินทร์ ๑๖. นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล
๑๗. นางสาวภัทรา วรามิตร ๑๘. นายนิพนธ์ คนขยัน
๑๙. นางจันทร์เพ็ญ แสงเจริญรัตน์ ๒๐. นายสมศักดิ์ โสมกลาง
๒๑. นายเรืองเดช สุพรรณฝ่าย ๒๒. นายศุภชัย โพธิ์สุ
๒๓. นางลดาวัลลิ์ วงศ์ศรีวงศ์ ๒๔. นายไชยวัฒน์ ติณรัตน์
๒๕. นายเอกพร รักความสุข ๒๖. นายไพจิต ศรีวรขาน
๒๗. นายพินิจ จันทร์สมบูรณ์ ๒๘. นายองอาจ คล้ามไพบูลย์
๒๙. นายสุทัศน์ เงินหมื่น ๓๐. นายพงษ์ศักดิ์ เปล่งแสง
๓๑. นายวิฑูรย์ นามบุตร ๓๒. นายเชน เทือกสุบรรณ
๓๓. นาวาตรี สุธรรม ระหงษ์ ๓๔. นายเอกพจน์ ปานแย้ม
๓๕. นายวิชัย โถสุวรรณจินดา
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๖. ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลภาษีอากรและวิธีพิจารณาคดี
ภาษีอากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ
(ค้างพิจารณาในวาระที่ ๑ ของสภาผู้แทนราษฎรชุดที่แล้ว) โดยที่ประชุมเห็นชอบ
ให้นำร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก ๑ ฉบับ ขึ้นมาพิจารณารวมกันไป คือ
ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลภาษีอากรและวิธีพิจารณาคดีภาษีอากร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
ซึ่ง นายณัฐวุฒิ ประเสริฐสุวรรณ และนายวิทยา บุตรดีวงค์ เป็นผู้เสนอ (ซึ่งยังมิได้บรรจุระเบียบวาระ)
เมื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม (นายสุวัจน์ ลิปตพัลลภ) และ
ผู้เสนอได้แถลงหลักการและเหตุผล ตามลำดับ ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑
รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๒ ฉบับพร้อมกันไป และมีมติให้ตั้ง
คณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา โดยถือเอาร่างพระราชบัญญัติของ
คณะรัฐมนตรีเป็นหลักในการพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. ร้อยเอก สุชาติ เชาว์วิศิษฐ ๒. นายพรชัย อัศววัฒนาพร
๓. นายวัส ติงสมิตร ๔. นายชาญณรงค์ ปราณีจิตต์
๕. นายวรรณชัย บุญบำรุง ๖. นายเฉลิมชัย จีนะวิจารณะ
๗. นางสาวภูวนิดา คุนผลิน ๘. นายก่อเกียรติ สิริยะเสถียร
๙. นายวรัญญู เทพหัสดิน ณ อยุธยา ๑๐. นายฉัตรชัย ศิลาพร
๑๑. ร้อยตรี กฤษฎา การุญ ๑๒. นายอนุวัธ วงศ์วรรณ
๑๓. นายกิตติกร โล่ห์สุนทร ๑๔. นายนิยม ช่างพินิจ
๑๕. นายธนัสถ์ ทวีเกื้อกูลกิจ ๑๖. นางสาวรสพิมล จิรเมธากร
๑๗. นายฉลาด ขามช่วง ๑๘. นายอุดร ทองประเสริฐ
๑๙. นายอรรถสิทธิ์ (คันคาย) ทรัพยสิทธิ์ ๒๐. นายกิตติ สมทรัพย์
๒๑. นายสมศักดิ์ โสมกลาง ๒๒. นายเสรี สาระนันท์
๒๓. นายวิรัตน์ ตยางคนนท์ ๒๔. นายวิชิต ปลั่งศรีสกุล
๒๕. นายวิทยา ภูมิเหล่าแจ้ง ๒๖. นายสาคร ตั้งวรรณวิบูลย์
๒๗. นายไชยรัตน์ ไทยเจียมอารีย์ ๒๘. นายพิชัย นิลทองคำ
๒๙. นายเกียรติ สิทธีอมร ๓๐. นายพีระพันธุ์ สาลีรัฐวิภาค
๓๑. นายเกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์ ๓๒. นายสุรพงษ์ โตวิจักษณ์ชัยกุล
๓๓. นายอันวาร์ สาและ ๓๔. นายธรรมา ปิ่นสุกาญจนะ
๓๕. นายปิลันธน์ จิตต์ธรรม
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๗. ร่างพระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
(กำหนดหลักเกณฑ์และสิทธิของข้าราชการซึ่งโอนไปเป็นข้าราชการ
ส่วนท้องถิ่นและพนักงานของมหาวิทยาลัยในกำกับของรัฐในการเป็นสมาชิกกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ)
ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ค้างพิจารณาในวาระ ที่ ๑ ของสภาผู้แทนราษฎรชุดที่แล้ว)
โดยที่ประชุมเห็นชอบให้นำร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก ๑ ฉบับ ขึ้นมาพิจารณารวมกันไป คือ ร่างพระราชบัญญัติ
กองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. …. ซึ่ง นายอนุรักษ์ จุรีมาศ และนายวินัย วิริยกิจจา เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๕.๓)
เมื่อรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง (นายวราเทพ รัตนากร) และผู้เสนอได้แถลงหลักการและเหตุผล
ตามลำดับ มีสมาชิกฯ อภิปราย และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงการคลัง (นายวราเทพ รัตนากร)
ตอบชี้แจงจนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๒ ฉบับ
พร้อมกันไป และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา โดยถือเอาร่างพระราชบัญญัติ
ของคณะรัฐมนตรีเป็นหลักในการพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๑. นายวราเทพ รัตนากร ๒. นายสมภพ บัณฑรวิพากษ์
๓. นายขจร จิตสุขุมมงคล ๔. นางสาวนัชชา พรตปกรณ์
๕. นายนพดล เภรีฤกษ์ ๖. นางสาวศิลัมพา เลิศนุวัฒน์
๗. นายประจวบ อึ๊งภากรณ์ ๘. นายอนุสรณ์ ไกรวัตนุสสรณ์
๙. นางกนกวรรณ วิลาวัลย์ ศรีจันทร์งาม ๑๐. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์
๑๑. นายนิทัศน์ ศรีนนท์ ๑๒. นายสมบูรณ์ ไพรวัลย์
๑๓. พันตำรวจโท ไวพจน์ อาภรณ์รัตน์ ๑๔. นายชำนาญ สันติพนารักษ์
๑๕. นายสุรสิทธิ์ เจียมวิจักษณ์ ๑๖. นายวิวัฒชัย โหตระไวศยะ
๑๗. นายชัยศรี กีฬา ๑๘. นายประจักษ์ แกล้วกล้าหาญ
๑๙. นางบุญรื่น ศรีธเรศ ๒๐. นายพิทยา บุญเฉลียว
๒๑. นายกิตติ สมทรัพย์ ๒๒. นายชัยยุทธ จรรย์โกมล
๒๓. นายสิทธิรัตน์ รัตนวิจารณ์ ๒๔. พันเอก วินัย สมพงษ์
๒๕. นายสิน กุมภะ ๒๖. นายโกวิทย์ ธรรมานุชิต
๒๗. นายพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน ๒๘. นายอภิชาต การิกาญจน์
๒๙. นายวิทยา แก้วภราดัย ๓๐. นายเจริญ คันธวงศ์
๓๑. นายวัลลภ ไทยเหนือ ๓๒. นายสมเกียรติ ฉันทวานิช
๓๓. นางเจิมมาศ จึงเลิศศิริ ๓๔. นายอนุรักษ์ จุรีมาศ
๓๕. นายอรรณพ เพียรชนะ
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
เลิกประชุมเวลา ๑๙.๐๓ นาฬิกา
(นายพิทูร พุ่มหิรัญ)
เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
สำนักรายงานการประชุมและชวเลข
กลุ่มงานรายงานการประชุม
โทร. ๐ ๒๒๔๔ ๒๓๗๒ - ๓
โทรสาร ๐ ๒๒๔๔ ๒๓๗๒
สรุปผลการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
ตั้งคณะกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติที่รัฐสภามีมติ
เห็นชอบให้พิจารณาต่อไป ตามมาตรา ๑๗๘ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จำนวน ๑ ฉบับ คือ
- ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยบูรพา พ.ศ. ….
เห็นชอบด้วยกับร่างพระราชบัญญัติที่วุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติม ตามที่รัฐสภามีมติ
เห็นชอบให้พิจารณาต่อไป ตามมาตรา ๑๗๘ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จำนวน ๑ ฉบับ คือ
- ร่างพระราชบัญญัติการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบ พ.ศ. ….
รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติที่รัฐสภามีมติเห็นชอบให้พิจารณาต่อไป
ตามมาตรา ๑๗๘ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จำนวน ๕ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
(แก้ไขเพิ่มเติมภาค ๑ ลักษณะ ๕ ว่าด้วยพยานหลักฐาน) (คณะรัฐมนตรีและสมาชิกฯ เสนอรวม ๒ ฉบับ)
๒. ร่างพระราชบัญญัติแก้ไขเพิ่มเติมประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
(แก้ไขเพิ่มเติมภาค ๑ ลักษณะ ๕ ว่าด้วยพยานหลักฐาน) (คณะรัฐมนตรีและสมาชิกฯ เสนอรวม ๒ ฉบับ)
๓. ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลแรงงานและวิธีพิจารณาคดีแรงงาน (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
(คณะรัฐมนตรีและสมาชิกฯ เสนอรวม ๒ ฉบับ)
๔. ร่างพระราชบัญญัติจัดตั้งศาลภาษีอากรและวิธีพิจารณาคดีภาษีอากร (ฉบับที่ ..)
พ.ศ. …. (คณะรัฐมนตรีและสมาชิกฯ เสนอรวม ๒ ฉบับ)
๕. ร่างพระราชบัญญัติกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ (ฉบับที่ ..) พ.ศ. ….
(กำหนดหลักเกณฑ์และสิทธิของข้าราชการซึ่งโอนไปเป็นข้าราชการส่วนท้องถิ่นและพนักงานของมหาวิทยาลัย
ในกำกับของรัฐในการเป็นสมาชิกกองทุนบำเหน็จบำนาญข้าราชการ) (คณะรัฐมนตรีและสมาชิกฯ เสนอรวม ๒ ฉบับ)
******************************