1. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในประเทศ
1.1 โครงการรับจำนำข้าวเปลือกนาปี ปี 2547/48
-เป้าหมายรับจำนำ 9 ล้านตันข้าวเปลือก ดำเนินการโดย
- ธ.ก.ส. รับจำนำในยุ้งฉางของเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร เป้าหมาย 4.5 ล้านตันข้าวเปลือก แบ่งออกเป็น ข้าว
หอมมะลิ 3 ล้านตัน ข้าวเปลือกเจ้า 0.5 ล้านตัน และข้าวเปลือกเหนียว 1 ล้านตัน
- อคส. รับจำนำจากเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรที่ไม่มียุ้งฉางของตนเอง โดยออกใบประทวนให้เกษตรกรไปจำนำ ธ.
ก.ส. เป้าหมาย 4.5 ล้านตันข้าวเปลือก แบ่งออกเป็นข้าวหอมมะลิ 2 ล้านตัน และข้าวเปลือกเจ้า 2.5 ล้านตัน
-ราคารับจำนำ กำหนดราคารับจำนำข้าว ณ ระดับความชื้น 15% แยกตามชนิดข้าว
-เริ่มรับจำนำ 1 พย.47- 31 มีค.48 ยกเว้นภาคใต้ให้รับจำนำ 15 มค.-15 พค.48
-ระยะเวลาไถ่ถอน 3 เดือน นับถัดจากเดือนที่จำนำ
-ระยะเวลาโครงการ 1 พย.47 -31 ตค.48
-ผลการดำเนินงาน (ณ วันที่ 31 กค.48)
สรุปผลการดำเนินงานรับจำนำข้าว (ณ.วันที่ 31 สค.48)
รายการ เป้าหมาย การรับจำนำ ไถ่ถอน คงเหลือ
(ล้านตัน) ราย ปริมาณ มูลค่า ร้อยละของ ราย ปริมาณ(ตัน) มูลค่(ล้านบาท) ราย ปริมาณ(ตัน) มูลค่า
(ตัน) (ล้านบาท) เป้าหมาย (ล้านบาท)
จำนำยุ้งฉางธกส. 4.5 59,077 302,967 2,750 6.73 36,205 141,907 1,243 22,872 161,060 1,507
ใบประทวน อคส. 4.5 442,432 4,455,516 36,512 99.01 4,246 174,845 1,499 438,186 4,280,671 35,013
รวมทั้งหมด 9 501,509 4,758,483 39,262 52.87 40,451 316,752 2,742 461,058 4,441,731 36,520
ที่มา : ธ.ก.ส. (กองธุรกิจสินเชื่อนโยบายรัฐ)
1.2 โครงการรับจำนำข้าวเปลือกนาปรัง ปี 2548
-เป้าหมายรับจำนำ 2.5 ล้านตันข้าวเปลือก โดยให้องค์การคลังสินค้า (อคส.) รับฝากและออก
ใบประทวน และธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) รับจำนำใบประทวนที่ อคส. ออกให้แก่เกษตรกรและสถาบันเกษตรกร
-ราคารับจำนำ กำหนดราคารับจำนำ ณ ระดับความชื้นไม่เกิน 15% สูงกว่าราคารับจำนำข้าวเปลือกนาปี ปี 2547/48
ตันละ 100 บาท ดังนี้ ข้าวเปลือกเจ้านาปรัง 100% ตันละ 6,700 บาท บาท ส่วนข้าวเปลือกเจ้าชนิดอื่นๆ ลดหลั่นลงชั้นละ 100 บาท
ข้าวเปลือกปทุมธานี ตันละ 6,700 บาท และข้าวเปลือกหอมสุพรรณบุรี ตันละ 6,600 บาท
-เริ่มรับจำนำ 15 เม.ย. — 15 ส.ค. 2548 ยกเว้นภาคใต้ให้รับจำนำ ก.ค. — ก.ย. 2548
-ระยะเวลาไถ่ถอน 3 เดือน นับถัดจากเดือนที่รับจำนำ
-ระยะเวลาโครงการ 15 เม.ย. — ธ.ค. 2548
-ผลการดำเนินงาน (ณ วันที่ 28 กย.48) อคส. รับจำนำข้าวจำนวน 797,679 ตัน
การซื้อขายข้าวในช่วงสัปดาห์นี้ ผู้ส่งออกยังคงมีความต้องการข้าวอย่างต่อเนื่องในขณะที่ผลผลิตข้าวในตลาดยังคงมีน้อย ส่งผลให้ราคาข้าว
ปรับตัวสูงขึ้นจากสัปดาห์ก่อน
การส่งออก
ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม — 26 กันยายน 2548 ไทยส่งออกข้าวทั้งหมด จำนวน 5,361,497 ตัน ลดลง จาก 7,074,556 ตัน ของการส่งออกข้าว
ในช่วงเดียวกันของปีก่อน ร้อยละ 24.21 (ที่มา: ข้อมูลเบื้องต้นจากกรมการค้าต่างประเทศ)
ราคา
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ราคาข้าวเปลือกเจ้าหอมมะลินาปี ที่เกษตรกรขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยเกวียนละ 7,881 บาท ราคา สูงขึ้นจากเกวียนละ 7,878
บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.04
ราคาข้าวเปลือกเจ้านาปี 5% ที่เกษตรกรขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยเกวียนละ 6,939 บาท ราคาสูงขึ้นจากเกวียนละ 6,839 บาท ของ
สัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.46
ราคาข้าวเปลือกเจ้านาปรังความชื้น 14%-15% ที่เกษตรกรขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยเกวียนละ 6,916 บาท ราคาสูงขึ้นจากเกวียนละ
6,825 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.33
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาข้าวสารเจ้า 5% (ใหม่) ขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 11,125 บาท ราคา สูงขึ้นจากเกวียนละ 11,085
บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.36
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาข้าวหอมมะลิ ไทย ชั้น 2 ส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 399 ดอลลาร์สหรัฐ (16,354 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตัน
ละ 401 ดอลลาร์สหรัฐ (16,315 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.50 แต่เพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 39 บาท
ราคาข้าวสารเจ้า 5% (ใหม่) ส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 288 ดอลลาร์สหรัฐ (11,804 บาท/ตัน) ราคาลดลงจาก
ตันละ 290 ดอลลาร์สหรัฐ (11,799 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.69 แต่เพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 5 บาท
ราคาข้าวนึ่ง 5% ส่งออก เอฟ.โอ.บี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 290 ดอลลาร์สหรัฐ (11,886 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 291
ดอลลาร์สหรัฐ (11,840 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.34 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 46 บาท
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในต่างประเทศ
อินโดนิเซียทบทวนแผนการนำเข้าข้าว
หลังจากที่อินโดนิเซียได้ประกาศเมื่อต้นเดือนกันยายนว่าจะนำเข้าข้าวจำนวน 2.5 แสนตัน เพื่อเสริมสต็อกปลายปีของรัฐบาลให้อยู่ใน
ระดับไม่ต่ำกว่า 1.6 ล้านตัน โดยวางแผนว่าจะนำเข้าตั้งแต่เดือนตุลาคม ปรากฏว่า ได้มีนักวิเคราะห์และเกษตรกรของอินโดนิเซียออกมาคัดค้านการ
นำเข้าข้าวดังกล่าว โดยชี้ว่าขณะนี้อินโดนิเซียมีผลผลิตข้าวและสต็อกคงเหลือเพียงพอไปจนถึงสิ้นปีโดยไม่จำเป็นต้องนำเข้า ส่งผลให้รัฐบาลอินโดนิเซีย
ต้องทบทวน ในเรื่องดังกล่าวโดยการชะลอแผนการนำเข้าข้าว และกำหนดเงื่อนไขให้มีการนำเข้าข้าวได้ก็ต่อเมื่อสต็อกข้าวของรัฐบาลลดลงเหลือต่ำ
กว่า 1 ล้านตัน และราคาข้าวภายในประเทศสูงกว่ากิโลกรัมละ 3,500 รูเปีย (14.92 บาท/กิโลกรัม) ซึ่งขณะนี้สต็อกข้าวของรัฐบาลอยู่ที่ 1.6 ล้าน
ตัน และราคาข้าวสารคุณภาพปานกลางในประเทศอยู่ที่กิโลกรัมละ 2,900-3,000 รูเปีย
ราคา
ราคาส่งออกข้าวของประเทศต่าง ๆ ในสัปดาห์นี้ มีดังนี้
- ไทย
ข้าวหอมมะลิ ราคาตันละ 399 ดอลลาร์สหรัฐฯ (16,354 บาท/ตัน)
ข้าว 5% ราคาตันละ 288 ดอลลาร์สหรัฐฯ (11,804 บาท/ตัน)
ข้าว 25% ราคาตันละ 256 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10,492 บาท/ตัน)
- เวียดนาม
ข้าว 5% ราคาตันละ 255 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10,452 บาท/ตัน)
ข้าว 25% ราคาตันละ 236 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9,673 บาท/ตัน)
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 40.9863 บาท
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 38 ประจำวันที่ 26 ก.ย.—2 ต.ค.2548--
-พห-
1.1 โครงการรับจำนำข้าวเปลือกนาปี ปี 2547/48
-เป้าหมายรับจำนำ 9 ล้านตันข้าวเปลือก ดำเนินการโดย
- ธ.ก.ส. รับจำนำในยุ้งฉางของเกษตรกรและสถาบันเกษตรกร เป้าหมาย 4.5 ล้านตันข้าวเปลือก แบ่งออกเป็น ข้าว
หอมมะลิ 3 ล้านตัน ข้าวเปลือกเจ้า 0.5 ล้านตัน และข้าวเปลือกเหนียว 1 ล้านตัน
- อคส. รับจำนำจากเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรที่ไม่มียุ้งฉางของตนเอง โดยออกใบประทวนให้เกษตรกรไปจำนำ ธ.
ก.ส. เป้าหมาย 4.5 ล้านตันข้าวเปลือก แบ่งออกเป็นข้าวหอมมะลิ 2 ล้านตัน และข้าวเปลือกเจ้า 2.5 ล้านตัน
-ราคารับจำนำ กำหนดราคารับจำนำข้าว ณ ระดับความชื้น 15% แยกตามชนิดข้าว
-เริ่มรับจำนำ 1 พย.47- 31 มีค.48 ยกเว้นภาคใต้ให้รับจำนำ 15 มค.-15 พค.48
-ระยะเวลาไถ่ถอน 3 เดือน นับถัดจากเดือนที่จำนำ
-ระยะเวลาโครงการ 1 พย.47 -31 ตค.48
-ผลการดำเนินงาน (ณ วันที่ 31 กค.48)
สรุปผลการดำเนินงานรับจำนำข้าว (ณ.วันที่ 31 สค.48)
รายการ เป้าหมาย การรับจำนำ ไถ่ถอน คงเหลือ
(ล้านตัน) ราย ปริมาณ มูลค่า ร้อยละของ ราย ปริมาณ(ตัน) มูลค่(ล้านบาท) ราย ปริมาณ(ตัน) มูลค่า
(ตัน) (ล้านบาท) เป้าหมาย (ล้านบาท)
จำนำยุ้งฉางธกส. 4.5 59,077 302,967 2,750 6.73 36,205 141,907 1,243 22,872 161,060 1,507
ใบประทวน อคส. 4.5 442,432 4,455,516 36,512 99.01 4,246 174,845 1,499 438,186 4,280,671 35,013
รวมทั้งหมด 9 501,509 4,758,483 39,262 52.87 40,451 316,752 2,742 461,058 4,441,731 36,520
ที่มา : ธ.ก.ส. (กองธุรกิจสินเชื่อนโยบายรัฐ)
1.2 โครงการรับจำนำข้าวเปลือกนาปรัง ปี 2548
-เป้าหมายรับจำนำ 2.5 ล้านตันข้าวเปลือก โดยให้องค์การคลังสินค้า (อคส.) รับฝากและออก
ใบประทวน และธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) รับจำนำใบประทวนที่ อคส. ออกให้แก่เกษตรกรและสถาบันเกษตรกร
-ราคารับจำนำ กำหนดราคารับจำนำ ณ ระดับความชื้นไม่เกิน 15% สูงกว่าราคารับจำนำข้าวเปลือกนาปี ปี 2547/48
ตันละ 100 บาท ดังนี้ ข้าวเปลือกเจ้านาปรัง 100% ตันละ 6,700 บาท บาท ส่วนข้าวเปลือกเจ้าชนิดอื่นๆ ลดหลั่นลงชั้นละ 100 บาท
ข้าวเปลือกปทุมธานี ตันละ 6,700 บาท และข้าวเปลือกหอมสุพรรณบุรี ตันละ 6,600 บาท
-เริ่มรับจำนำ 15 เม.ย. — 15 ส.ค. 2548 ยกเว้นภาคใต้ให้รับจำนำ ก.ค. — ก.ย. 2548
-ระยะเวลาไถ่ถอน 3 เดือน นับถัดจากเดือนที่รับจำนำ
-ระยะเวลาโครงการ 15 เม.ย. — ธ.ค. 2548
-ผลการดำเนินงาน (ณ วันที่ 28 กย.48) อคส. รับจำนำข้าวจำนวน 797,679 ตัน
การซื้อขายข้าวในช่วงสัปดาห์นี้ ผู้ส่งออกยังคงมีความต้องการข้าวอย่างต่อเนื่องในขณะที่ผลผลิตข้าวในตลาดยังคงมีน้อย ส่งผลให้ราคาข้าว
ปรับตัวสูงขึ้นจากสัปดาห์ก่อน
การส่งออก
ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม — 26 กันยายน 2548 ไทยส่งออกข้าวทั้งหมด จำนวน 5,361,497 ตัน ลดลง จาก 7,074,556 ตัน ของการส่งออกข้าว
ในช่วงเดียวกันของปีก่อน ร้อยละ 24.21 (ที่มา: ข้อมูลเบื้องต้นจากกรมการค้าต่างประเทศ)
ราคา
ราคาที่เกษตรกรขายได้ทั้งประเทศ
ราคาข้าวเปลือกเจ้าหอมมะลินาปี ที่เกษตรกรขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยเกวียนละ 7,881 บาท ราคา สูงขึ้นจากเกวียนละ 7,878
บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.04
ราคาข้าวเปลือกเจ้านาปี 5% ที่เกษตรกรขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยเกวียนละ 6,939 บาท ราคาสูงขึ้นจากเกวียนละ 6,839 บาท ของ
สัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.46
ราคาข้าวเปลือกเจ้านาปรังความชื้น 14%-15% ที่เกษตรกรขายได้สัปดาห์นี้เฉลี่ยเกวียนละ 6,916 บาท ราคาสูงขึ้นจากเกวียนละ
6,825 บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 1.33
ราคาขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ
ราคาข้าวสารเจ้า 5% (ใหม่) ขายส่งในตลาดกรุงเทพฯ สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 11,125 บาท ราคา สูงขึ้นจากเกวียนละ 11,085
บาท ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.36
ราคาส่งออก เอฟ.โอ.บี
ราคาข้าวหอมมะลิ ไทย ชั้น 2 ส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 399 ดอลลาร์สหรัฐ (16,354 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตัน
ละ 401 ดอลลาร์สหรัฐ (16,315 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.50 แต่เพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 39 บาท
ราคาข้าวสารเจ้า 5% (ใหม่) ส่งออก เอฟ.โอ.บี. สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 288 ดอลลาร์สหรัฐ (11,804 บาท/ตัน) ราคาลดลงจาก
ตันละ 290 ดอลลาร์สหรัฐ (11,799 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.69 แต่เพิ่มขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 5 บาท
ราคาข้าวนึ่ง 5% ส่งออก เอฟ.โอ.บี สัปดาห์นี้เฉลี่ยตันละ 290 ดอลลาร์สหรัฐ (11,886 บาท/ตัน) ราคาลดลงจากตันละ 291
ดอลลาร์สหรัฐ (11,840 บาท/ตัน) ของสัปดาห์ก่อนร้อยละ 0.34 และสูงขึ้นในรูปเงินบาทตันละ 46 บาท
2. สรุปภาวะการผลิต การตลาด และราคาในต่างประเทศ
อินโดนิเซียทบทวนแผนการนำเข้าข้าว
หลังจากที่อินโดนิเซียได้ประกาศเมื่อต้นเดือนกันยายนว่าจะนำเข้าข้าวจำนวน 2.5 แสนตัน เพื่อเสริมสต็อกปลายปีของรัฐบาลให้อยู่ใน
ระดับไม่ต่ำกว่า 1.6 ล้านตัน โดยวางแผนว่าจะนำเข้าตั้งแต่เดือนตุลาคม ปรากฏว่า ได้มีนักวิเคราะห์และเกษตรกรของอินโดนิเซียออกมาคัดค้านการ
นำเข้าข้าวดังกล่าว โดยชี้ว่าขณะนี้อินโดนิเซียมีผลผลิตข้าวและสต็อกคงเหลือเพียงพอไปจนถึงสิ้นปีโดยไม่จำเป็นต้องนำเข้า ส่งผลให้รัฐบาลอินโดนิเซีย
ต้องทบทวน ในเรื่องดังกล่าวโดยการชะลอแผนการนำเข้าข้าว และกำหนดเงื่อนไขให้มีการนำเข้าข้าวได้ก็ต่อเมื่อสต็อกข้าวของรัฐบาลลดลงเหลือต่ำ
กว่า 1 ล้านตัน และราคาข้าวภายในประเทศสูงกว่ากิโลกรัมละ 3,500 รูเปีย (14.92 บาท/กิโลกรัม) ซึ่งขณะนี้สต็อกข้าวของรัฐบาลอยู่ที่ 1.6 ล้าน
ตัน และราคาข้าวสารคุณภาพปานกลางในประเทศอยู่ที่กิโลกรัมละ 2,900-3,000 รูเปีย
ราคา
ราคาส่งออกข้าวของประเทศต่าง ๆ ในสัปดาห์นี้ มีดังนี้
- ไทย
ข้าวหอมมะลิ ราคาตันละ 399 ดอลลาร์สหรัฐฯ (16,354 บาท/ตัน)
ข้าว 5% ราคาตันละ 288 ดอลลาร์สหรัฐฯ (11,804 บาท/ตัน)
ข้าว 25% ราคาตันละ 256 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10,492 บาท/ตัน)
- เวียดนาม
ข้าว 5% ราคาตันละ 255 ดอลลาร์สหรัฐฯ (10,452 บาท/ตัน)
ข้าว 25% ราคาตันละ 236 ดอลลาร์สหรัฐฯ (9,673 บาท/ตัน)
หมายเหตุ : อัตราแลกเปลี่ยน 1 ดอลลาร์สหรัฐฯ เท่ากับ 40.9863 บาท
--ข่าวการผลิต การตลาด ผลิตผลการเกษตร ฉบับที่ 38 ประจำวันที่ 26 ก.ย.—2 ต.ค.2548--
-พห-