บันทึกการประชุมสภาผู้แทนราษฎร ชุดที่ ๒๒ ปีที่ ๑
ครั้งที่ ๖ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ)
วันพุธที่ ๗ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๔๘
ณ ตึกรัฐสภา
--------------------------
เริ่มประชุมเวลา ๑๓.๓๒ นาฬิกา
เนื่องจาก นายโภคิน พลกุล ประธานสภาผู้แทนราษฎร ไปราชการ
ต่างประเทศ เมื่อครบองค์ประชุมแล้ว รองศาสตราจารย์ลลิตา ฤกษ์สำราญ
รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่สอง ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานสภาผู้แทนราษฎรขึ้นบัลลังก์และกล่าวเปิดประชุม
ก่อนที่ที่ประชุมจะพิจารณาระเบียบวาระต่อไป ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานสภาผู้แทนราษฎร
ได้ปรึกษาที่ประชุมเพื่อขอนำระเบียบวาระที่ ๗ เรื่องอื่น ๆ ขึ้นมาพิจารณาก่อน ซึ่งที่ประชุมเห็นชอบ
ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานสภาผู้แทนราษฎรจึงได้เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาระเบียบวาระที่ ๗
เรื่องอื่น ๆ ตามลำดับ คือ
๑. ตั้งซ่อมกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย มหิดล พ.ศ. ....
แทนตำแหน่งที่ว่างลง ๑ ตำแหน่ง (ในระเบียบวาระที่ ๗.๑)
ที่ประชุมได้ลงมติเลือก นายไชยวัฒน์ ติณรัตน์ เป็นกรรมาธิการแทน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประแสง มงคลศิริ
๒. ตั้งซ่อมกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจข้อมูลเครดิต
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... แทนตำแหน่งที่ว่างลง ๑ ตำแหน่ง (ในระเบียบวาระที่ ๗.๒)
ที่ประชุมได้ลงมติเลือก นายสุชาติ ลายน้ำเงิน เป็นกรรมาธิการแทน นายตรีทศ นิโครธางกูร
๓. ตั้งซ่อมกรรมาธิการสามัญประจำสภา ในคณะกรรมาธิการการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
แทนตำแหน่งที่ว่างลง ๒ ตำแหน่ง (ในระเบียบวาระที่ ๗.๓)
ที่ประชุมได้ลงมติเลือก นางสาวธิรดา สนิทวงศ์ชัย เป็นกรรมาธิการแทน นายอรรถพล สนิทวงศ์ชัย
และนายนริศ ขำนุรักษ์ เป็นกรรมาธิการแทน นายประพนธ์ นิลวัชรมณี
๔. ตั้งซ่อมกรรมาธิการสามัญประจำสภา ในคณะกรรมาธิการติดตามการบริหารงบประมาณ
แทนตำแหน่งที่ว่างลง ๑ ตำแหน่ง (ในระเบียบวาระที่ ๗.๖)
ที่ประชุมได้ลงมติเลือก นายประพนธ์ นิลวัชรมณี เป็นกรรมาธิการแทน นายนริศ ขำนุรักษ์
๕. ตั้งซ่อมกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติธนาคาร
เพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... แทนตำแหน่งที่ว่างลง ๑ ตำแหน่ง (ในระเบียบวาระที่ ๗.๗)
ที่ประชุมได้ลงมติเลือก นายบุญจง วงศ์ไตรรัตน์ เป็นกรรมาธิการแทน นายตรีทศ นิโครธางกูร
จากนั้น ได้มีสมาชิกฯ เสนอญัตติขอเปลี่ยนระเบียบวาระการประชุม
โดยขอนำระเบียบวาระตามลำดับดังต่อไปนี้ขึ้นมาพิจารณาก่อน ซึ่งที่ประชุมเห็นชอบ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ พ.ศ. …. ซึ่ง
คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๒)
๒. ร่างพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ ในท้องที่ตำบลในเมือง อำเภอเมืองสุรินทร์
จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๓)
๓. พิจารณากรณีวุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย ขอนแก่น พ.ศ. ….
ตามมาตรา ๑๗๕ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๔)
๔. ร่างพระราชบัญญัติยกเว้นการนำระยะเวลาและเงื่อนไขตามมาตรา ๖๑
แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาใช้บังคับแก่ผู้สูญหายจากกรณีธรณีพิบัติ พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑๖)
ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานสภาผู้แทนราษฎรจึงได้เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาระเบียบวาระตามที่ที่ประชุมมีมติ ตามลำดับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๒) โดยที่ประชุมเห็นชอบให้นำร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก ๑ ฉบับ ขึ้นมาพิจารณารวมกันไป คือ ร่างพระราชบัญญัติสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ พ.ศ. …. ซึ่ง นายอนุรักษ์ จุรีมาศ และนางสาวจณิสตา ลิ่วเฉลิมวงศ์ เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๕.๙)
เมื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม (นางอุไรวรรณ เทียนทอง) และผู้เสนอได้แถลงหลักการและเหตุผล ตามลำดับ มีสมาชิกฯ อภิปราย และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม (นางอุไรวรรณ เทียนทอง) ตอบชี้แจงจนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๒ ฉบับพร้อมกันไป และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา โดยถือเอาร่างพระราชบัญญัติของคณะรัฐมนตรีเป็นหลักในการพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๐๑. นายกมล สุวุฒโฑ ๒. นางยุพา ประเสริฐยิ่ง
๐๓. นายการุณ สุทธิภูล ๔. นางเรวดี สกุลพาณิชย์
๐ ๐๕. นายสุชัย งามจิตต์เอื้อ ๖. นายมงคล กิมสูนจันทร์
๐๗. นายณัฏฐพล กรรณสูต ๘. นายพงศ์เวช เวชชาชีวะ
๐๙. นายทศพล สังขทรัพย์ ๑๐. ร้อยตรี ปรพล อดิเรกสาร
๑๑. นางสาวเพ็ญชิสา หงษ์อุปถัมภ์ไชย ๑๒. นายสามารถ แก้วมีชัย
๑๓. นายนพคุณ รัฐผไท ๑๔. นางสิรินทร รามสูต
๑๕. นายปัญญา จีนาคำ ๑๖. นางมาลินี อินฉัตร
๑๗. นายชาญชัย ชัยรุ่งเรือง ๑๘. นายกิตติพงษ์ เทียมสุวรรณ
๑๙. นายวรรณรัตน์ ชาญนุกูล ๒๐. นายอมรเทพ สมหมาย
๒๑. นายธีระชัย ศิริขันธ์ ๒๒. นายพีระเพชร ศิริกุล
๒๓. นายสุทิน คลังแสง ๒๔. นายวิรัตน์ ตยางคนนท์
๒๕. รองศาสตราจารย์ชูศักดิ์ ศิรินิล ๒๖. นายไชยวัฒน์ ติณรัตน์
๒๗. นางสาวธิรดา สนิทวงศ์ชัย ๒๘. นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ
๒๙. นายนริศ ขำนุรักษ์ ๓๐. นายประกอบ รัตนพันธ์
๓๑. นายอภิชาต การิกาญจน์ ๓๒. นายวิฑูรย์ นามบุตร
๓๓. นายธงชัย รักปทุม ๓๔. นายอนุรักษ์ จุรีมาศ
๓๕. นายวีระศักดิ์ โควสุรัตน์
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๒. ร่างพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ ในท้องที่ตำบลในเมือง อำเภอเมืองสุรินทร์
จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๓)
เมื่อรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย (นายเสริมศักดิ์ พงษ์พานิช)
ได้แถลงหลักการและเหตุผล มีสมาชิกฯ อภิปราย ต่อมา รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่งได้ปฏิบัติหน้าที่แทน
และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย (นายเสริมศักดิ์ พงษ์พานิช) ตอบชี้แจงจนได้เวลาพอสมควรแล้ว
ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และมีมติให้ส่งร่างพระราชบัญญัติดังกล่าว
ให้คณะกรรมาธิการการปกครองเป็นผู้พิจารณา กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๓. พิจารณากรณีวุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย ขอนแก่น พ.ศ. ….
ตามมาตรา ๑๗๕ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๔)
ที่ประชุมได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และได้ลงมติไม่เห็นชอบด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติมของวุฒิสภา
โดยมีมติกำหนดจำนวนบุคคลที่จะประกอบเป็น คณะกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้
จำนวน ๒๔ คน และตั้งคณะกรรมาธิการฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร จำนวน ๑๒ คน ประกอบด้วย
๐๑. นายจำลอง ครุฑขุนทด ๐๒. ศาสตราจารย์ลิขิต ธีรเวคิน
๐๓. รองศาสตราจารย์สุมนต์ สกลชัย ๐๔. นายประจักษ์ แกล้วกล้าหาญ
๐๕. นายพีรพันธุ์ พาลุสุข ๐๖. นายสฤต สันติเมทนีดล
๐๗. นายสุทิน คลังแสง ๐๘. นายสมศักดิ์ คุณเงิน
๐๙. นายเปรมศักดิ์ เพียยุระ ๑๐. นายประกอบ รัตนพันธ์
๑๑. ศาสตราจารย์ชวนชม สกนธวัฒน์ ๑๒. นายอานนท์ เที่ยงตรง
๔. ร่างพระราชบัญญัติยกเว้นการนำระยะเวลาและเงื่อนไขตามมาตรา ๖๑
แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาใช้บังคับแก่ผู้สูญหายจากกรณีธรณีพิบัติ พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ
(ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑๖)
เมื่อรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม (พลตำรวจเอก ชิดชัย วรรณสถิตย์)
ได้แถลงหลักการและเหตุผล มีสมาชิกฯ อภิปราย โดยมีรองประธานสภา ผู้แทนราษฎรทั้งสองได้ผลัดเปลี่ยนกันดำเนินการประชุม
รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงยุติธรรม (พลตำรวจเอก ชิดชัย วรรณสถิตย์) ตอบชี้แจงจนได้เวลา
พอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ
จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๐๑. รองศาสตราจารย์ธงทอง จันทรางศุ ๐๒. นายพรชัย อัศววัฒนาพร
๐๓. นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล ๐๔. นายวัส ติงสมิตร
๐๕. นายรังสรรค์ กระจ่างตา ๐๖. นายวชิระมณฑ์ คุณะเกษมธนาวัฒน์
๐๗. นายกฤษ ศรีฟ้า ๐๘. นางสาวปารีณา ไกรคุปต์
๐๙. นายอนุสรณ์ ไกรวัตนุสสรณ์ ๑๐. นายอัมรินทร์ ตั้งประกอบ
๑๑. นายวรัญญู เทพหัสดิน ณ อยุธยา ๑๒. นายนพคุณ รัฐผไท
๑๓. นายกิตติกร โล่ห์สุนทร ๑๔. นายหัสนัยน์ สอนสิทธิ์
๑๕. นางสิรินทร รามสูต ๑๖. นายอรรถสิทธิ์ (คันคาย) ทรัพยสิทธิ์
๑๗. นายไพจิต ศรีวรขาน ๑๘. นายสุรวิทย์ คนสมบูรณ์
๑๙. นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล ๒๐. นายพงษ์ศักดิ์ บุญศล
๒๑. นายประเสริฐ จันทรรวงทอง ๒๒. นายกริช กงเพชร
๒๓. นายพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน ๒๔. นายประสพ บุษราคัม
๒๕. นายสุรชัย เบ้าจรรยา ๒๖. นายสุขุมพงศ์ โง่นคำ
๒๗. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์ ๒๘. นายพิเชษฐ พันธุ์วิชาติกุล
๒๙. นายสมบูรณ์ อุทัยเวียนกุล ๓๐. นายวิรัช ร่มเย็น
๓๑. นางสาวเฉลิมลักษณ์ เก็บทรัพย์ ๓๒. นางกันตวรรณ ตันเถียร กุลจรรยาวิวัฒน์
๓๓. นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ ๓๔. นายนิกร จำนง
๓๕. นายกูเฮง ยาวอหะซัน
เลิกประชุมเวลา ๑๘.๒๓ นาฬิกา
(นายทวี พวงทะวาย)
รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร รักษาราชการแทน
เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
สำนักรายงานการประชุมและชวเลข
กลุ่มงานรายงานการประชุม
โทร. ๐ ๒๒๔๔ ๒๓๗๒ - ๓
โทรสาร ๐ ๒๒๔๔ ๒๓๗๒
สรุปผลการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ จำนวน ๓ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ พ.ศ. …. (คณะรัฐมนตรีและสมาชิกฯ เสนอรวม ๒ ฉบับ)
๒. ร่างพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ ในท้องที่ตำบลในเมือง อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. ….
๓. ร่างพระราชบัญญัติยกเว้นการนำระยะเวลาและเงื่อนไขตามมาตรา ๖๑ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาใช้บังคับแก่ผู้สูญหายจากกรณีธรณีพิบัติ พ.ศ. ….
ตั้งกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติที่วุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติม
ตามมาตรา ๑๗๕ (๓) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จำนวน ๑ ฉบับ คือ
- ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. ….
*************************
ครั้งที่ ๖ (สมัยสามัญนิติบัญญัติ)
วันพุธที่ ๗ กันยายน พุทธศักราช ๒๕๔๘
ณ ตึกรัฐสภา
--------------------------
เริ่มประชุมเวลา ๑๓.๓๒ นาฬิกา
เนื่องจาก นายโภคิน พลกุล ประธานสภาผู้แทนราษฎร ไปราชการ
ต่างประเทศ เมื่อครบองค์ประชุมแล้ว รองศาสตราจารย์ลลิตา ฤกษ์สำราญ
รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่สอง ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานสภาผู้แทนราษฎรขึ้นบัลลังก์และกล่าวเปิดประชุม
ก่อนที่ที่ประชุมจะพิจารณาระเบียบวาระต่อไป ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานสภาผู้แทนราษฎร
ได้ปรึกษาที่ประชุมเพื่อขอนำระเบียบวาระที่ ๗ เรื่องอื่น ๆ ขึ้นมาพิจารณาก่อน ซึ่งที่ประชุมเห็นชอบ
ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานสภาผู้แทนราษฎรจึงได้เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาระเบียบวาระที่ ๗
เรื่องอื่น ๆ ตามลำดับ คือ
๑. ตั้งซ่อมกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย มหิดล พ.ศ. ....
แทนตำแหน่งที่ว่างลง ๑ ตำแหน่ง (ในระเบียบวาระที่ ๗.๑)
ที่ประชุมได้ลงมติเลือก นายไชยวัฒน์ ติณรัตน์ เป็นกรรมาธิการแทน
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประแสง มงคลศิริ
๒. ตั้งซ่อมกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติการประกอบธุรกิจข้อมูลเครดิต
(ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... แทนตำแหน่งที่ว่างลง ๑ ตำแหน่ง (ในระเบียบวาระที่ ๗.๒)
ที่ประชุมได้ลงมติเลือก นายสุชาติ ลายน้ำเงิน เป็นกรรมาธิการแทน นายตรีทศ นิโครธางกูร
๓. ตั้งซ่อมกรรมาธิการสามัญประจำสภา ในคณะกรรมาธิการการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
แทนตำแหน่งที่ว่างลง ๒ ตำแหน่ง (ในระเบียบวาระที่ ๗.๓)
ที่ประชุมได้ลงมติเลือก นางสาวธิรดา สนิทวงศ์ชัย เป็นกรรมาธิการแทน นายอรรถพล สนิทวงศ์ชัย
และนายนริศ ขำนุรักษ์ เป็นกรรมาธิการแทน นายประพนธ์ นิลวัชรมณี
๔. ตั้งซ่อมกรรมาธิการสามัญประจำสภา ในคณะกรรมาธิการติดตามการบริหารงบประมาณ
แทนตำแหน่งที่ว่างลง ๑ ตำแหน่ง (ในระเบียบวาระที่ ๗.๖)
ที่ประชุมได้ลงมติเลือก นายประพนธ์ นิลวัชรมณี เป็นกรรมาธิการแทน นายนริศ ขำนุรักษ์
๕. ตั้งซ่อมกรรมาธิการวิสามัญพิจารณาร่างพระราชบัญญัติธนาคาร
เพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ฉบับที่ ..) พ.ศ. .... แทนตำแหน่งที่ว่างลง ๑ ตำแหน่ง (ในระเบียบวาระที่ ๗.๗)
ที่ประชุมได้ลงมติเลือก นายบุญจง วงศ์ไตรรัตน์ เป็นกรรมาธิการแทน นายตรีทศ นิโครธางกูร
จากนั้น ได้มีสมาชิกฯ เสนอญัตติขอเปลี่ยนระเบียบวาระการประชุม
โดยขอนำระเบียบวาระตามลำดับดังต่อไปนี้ขึ้นมาพิจารณาก่อน ซึ่งที่ประชุมเห็นชอบ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ พ.ศ. …. ซึ่ง
คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๒)
๒. ร่างพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ ในท้องที่ตำบลในเมือง อำเภอเมืองสุรินทร์
จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๓)
๓. พิจารณากรณีวุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย ขอนแก่น พ.ศ. ….
ตามมาตรา ๑๗๕ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๔)
๔. ร่างพระราชบัญญัติยกเว้นการนำระยะเวลาและเงื่อนไขตามมาตรา ๖๑
แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาใช้บังคับแก่ผู้สูญหายจากกรณีธรณีพิบัติ พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑๖)
ผู้ปฏิบัติหน้าที่แทนประธานสภาผู้แทนราษฎรจึงได้เสนอให้ที่ประชุมพิจารณาระเบียบวาระตามที่ที่ประชุมมีมติ ตามลำดับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๒) โดยที่ประชุมเห็นชอบให้นำร่างพระราชบัญญัติทำนองเดียวกันอีก ๑ ฉบับ ขึ้นมาพิจารณารวมกันไป คือ ร่างพระราชบัญญัติสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ พ.ศ. …. ซึ่ง นายอนุรักษ์ จุรีมาศ และนางสาวจณิสตา ลิ่วเฉลิมวงศ์ เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระที่ ๕.๙)
เมื่อรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม (นางอุไรวรรณ เทียนทอง) และผู้เสนอได้แถลงหลักการและเหตุผล ตามลำดับ มีสมาชิกฯ อภิปราย และรัฐมนตรีว่าการกระทรวงวัฒนธรรม (นางอุไรวรรณ เทียนทอง) ตอบชี้แจงจนได้เวลาพอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติทั้ง ๒ ฉบับพร้อมกันไป และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา โดยถือเอาร่างพระราชบัญญัติของคณะรัฐมนตรีเป็นหลักในการพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๐๑. นายกมล สุวุฒโฑ ๒. นางยุพา ประเสริฐยิ่ง
๐๓. นายการุณ สุทธิภูล ๔. นางเรวดี สกุลพาณิชย์
๐ ๐๕. นายสุชัย งามจิตต์เอื้อ ๖. นายมงคล กิมสูนจันทร์
๐๗. นายณัฏฐพล กรรณสูต ๘. นายพงศ์เวช เวชชาชีวะ
๐๙. นายทศพล สังขทรัพย์ ๑๐. ร้อยตรี ปรพล อดิเรกสาร
๑๑. นางสาวเพ็ญชิสา หงษ์อุปถัมภ์ไชย ๑๒. นายสามารถ แก้วมีชัย
๑๓. นายนพคุณ รัฐผไท ๑๔. นางสิรินทร รามสูต
๑๕. นายปัญญา จีนาคำ ๑๖. นางมาลินี อินฉัตร
๑๗. นายชาญชัย ชัยรุ่งเรือง ๑๘. นายกิตติพงษ์ เทียมสุวรรณ
๑๙. นายวรรณรัตน์ ชาญนุกูล ๒๐. นายอมรเทพ สมหมาย
๒๑. นายธีระชัย ศิริขันธ์ ๒๒. นายพีระเพชร ศิริกุล
๒๓. นายสุทิน คลังแสง ๒๔. นายวิรัตน์ ตยางคนนท์
๒๕. รองศาสตราจารย์ชูศักดิ์ ศิรินิล ๒๖. นายไชยวัฒน์ ติณรัตน์
๒๗. นางสาวธิรดา สนิทวงศ์ชัย ๒๘. นายชินวรณ์ บุณยเกียรติ
๒๙. นายนริศ ขำนุรักษ์ ๓๐. นายประกอบ รัตนพันธ์
๓๑. นายอภิชาต การิกาญจน์ ๓๒. นายวิฑูรย์ นามบุตร
๓๓. นายธงชัย รักปทุม ๓๔. นายอนุรักษ์ จุรีมาศ
๓๕. นายวีระศักดิ์ โควสุรัตน์
กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๒. ร่างพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ ในท้องที่ตำบลในเมือง อำเภอเมืองสุรินทร์
จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๓)
เมื่อรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย (นายเสริมศักดิ์ พงษ์พานิช)
ได้แถลงหลักการและเหตุผล มีสมาชิกฯ อภิปราย ต่อมา รองประธานสภาผู้แทนราษฎรคนที่หนึ่งได้ปฏิบัติหน้าที่แทน
และรัฐมนตรีช่วยว่าการกระทรวงมหาดไทย (นายเสริมศักดิ์ พงษ์พานิช) ตอบชี้แจงจนได้เวลาพอสมควรแล้ว
ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และมีมติให้ส่งร่างพระราชบัญญัติดังกล่าว
ให้คณะกรรมาธิการการปกครองเป็นผู้พิจารณา กำหนดการแปรญัตติภายใน ๗ วัน
๓. พิจารณากรณีวุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติมร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัย ขอนแก่น พ.ศ. ….
ตามมาตรา ๑๗๕ ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย (ในระเบียบวาระเรื่องที่มีมติให้เลื่อนขึ้นมาพิจารณาก่อนลำดับที่ ๔)
ที่ประชุมได้พิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และได้ลงมติไม่เห็นชอบด้วยกับการแก้ไขเพิ่มเติมของวุฒิสภา
โดยมีมติกำหนดจำนวนบุคคลที่จะประกอบเป็น คณะกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้
จำนวน ๒๔ คน และตั้งคณะกรรมาธิการฝ่ายสภาผู้แทนราษฎร จำนวน ๑๒ คน ประกอบด้วย
๐๑. นายจำลอง ครุฑขุนทด ๐๒. ศาสตราจารย์ลิขิต ธีรเวคิน
๐๓. รองศาสตราจารย์สุมนต์ สกลชัย ๐๔. นายประจักษ์ แกล้วกล้าหาญ
๐๕. นายพีรพันธุ์ พาลุสุข ๐๖. นายสฤต สันติเมทนีดล
๐๗. นายสุทิน คลังแสง ๐๘. นายสมศักดิ์ คุณเงิน
๐๙. นายเปรมศักดิ์ เพียยุระ ๑๐. นายประกอบ รัตนพันธ์
๑๑. ศาสตราจารย์ชวนชม สกนธวัฒน์ ๑๒. นายอานนท์ เที่ยงตรง
๔. ร่างพระราชบัญญัติยกเว้นการนำระยะเวลาและเงื่อนไขตามมาตรา ๖๑
แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาใช้บังคับแก่ผู้สูญหายจากกรณีธรณีพิบัติ พ.ศ. …. ซึ่ง คณะรัฐมนตรี เป็นผู้เสนอ
(ในระเบียบวาระเรื่องด่วนที่ ๑๖)
เมื่อรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงยุติธรรม (พลตำรวจเอก ชิดชัย วรรณสถิตย์)
ได้แถลงหลักการและเหตุผล มีสมาชิกฯ อภิปราย โดยมีรองประธานสภา ผู้แทนราษฎรทั้งสองได้ผลัดเปลี่ยนกันดำเนินการประชุม
รองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรี ว่าการกระทรวงยุติธรรม (พลตำรวจเอก ชิดชัย วรรณสถิตย์) ตอบชี้แจงจนได้เวลา
พอสมควรแล้ว ที่ประชุมได้ลงมติในวาระที่ ๑ รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติฉบับนี้ และมีมติให้ตั้งคณะกรรมาธิการวิสามัญ
จำนวน ๓๕ คน เพื่อพิจารณา คณะกรรมาธิการฯ ประกอบด้วย
๐๑. รองศาสตราจารย์ธงทอง จันทรางศุ ๐๒. นายพรชัย อัศววัฒนาพร
๐๓. นางสาวรื่นวดี สุวรรณมงคล ๐๔. นายวัส ติงสมิตร
๐๕. นายรังสรรค์ กระจ่างตา ๐๖. นายวชิระมณฑ์ คุณะเกษมธนาวัฒน์
๐๗. นายกฤษ ศรีฟ้า ๐๘. นางสาวปารีณา ไกรคุปต์
๐๙. นายอนุสรณ์ ไกรวัตนุสสรณ์ ๑๐. นายอัมรินทร์ ตั้งประกอบ
๑๑. นายวรัญญู เทพหัสดิน ณ อยุธยา ๑๒. นายนพคุณ รัฐผไท
๑๓. นายกิตติกร โล่ห์สุนทร ๑๔. นายหัสนัยน์ สอนสิทธิ์
๑๕. นางสิรินทร รามสูต ๑๖. นายอรรถสิทธิ์ (คันคาย) ทรัพยสิทธิ์
๑๗. นายไพจิต ศรีวรขาน ๑๘. นายสุรวิทย์ คนสมบูรณ์
๑๙. นายวิชัย ชัยจิตวณิชกุล ๒๐. นายพงษ์ศักดิ์ บุญศล
๒๑. นายประเสริฐ จันทรรวงทอง ๒๒. นายกริช กงเพชร
๒๓. นายพิเชษฐ์ เชื้อเมืองพาน ๒๔. นายประสพ บุษราคัม
๒๕. นายสุรชัย เบ้าจรรยา ๒๖. นายสุขุมพงศ์ โง่นคำ
๒๗. นายสุรสิทธิ์ นิติวุฒิวรรักษ์ ๒๘. นายพิเชษฐ พันธุ์วิชาติกุล
๒๙. นายสมบูรณ์ อุทัยเวียนกุล ๓๐. นายวิรัช ร่มเย็น
๓๑. นางสาวเฉลิมลักษณ์ เก็บทรัพย์ ๓๒. นางกันตวรรณ ตันเถียร กุลจรรยาวิวัฒน์
๓๓. นายจุรินทร์ ลักษณวิศิษฏ์ ๓๔. นายนิกร จำนง
๓๕. นายกูเฮง ยาวอหะซัน
เลิกประชุมเวลา ๑๘.๒๓ นาฬิกา
(นายทวี พวงทะวาย)
รองเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร รักษาราชการแทน
เลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร
สำนักรายงานการประชุมและชวเลข
กลุ่มงานรายงานการประชุม
โทร. ๐ ๒๒๔๔ ๒๓๗๒ - ๓
โทรสาร ๐ ๒๒๔๔ ๒๓๗๒
สรุปผลการพิจารณาร่างพระราชบัญญัติ
รับหลักการแห่งร่างพระราชบัญญัติ จำนวน ๓ ฉบับ คือ
๑. ร่างพระราชบัญญัติสถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ พ.ศ. …. (คณะรัฐมนตรีและสมาชิกฯ เสนอรวม ๒ ฉบับ)
๒. ร่างพระราชบัญญัติเวนคืนอสังหาริมทรัพย์ ในท้องที่ตำบลในเมือง อำเภอเมืองสุรินทร์ จังหวัดสุรินทร์ พ.ศ. ….
๓. ร่างพระราชบัญญัติยกเว้นการนำระยะเวลาและเงื่อนไขตามมาตรา ๖๑ แห่งประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์มาใช้บังคับแก่ผู้สูญหายจากกรณีธรณีพิบัติ พ.ศ. ….
ตั้งกรรมาธิการร่วมกันเพื่อพิจารณาร่างพระราชบัญญัติที่วุฒิสภาแก้ไขเพิ่มเติม
ตามมาตรา ๑๗๕ (๓) ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทย จำนวน ๑ ฉบับ คือ
- ร่างพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. ….
*************************